เอกสารบรรยาย - สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏ

Download Report

Transcript เอกสารบรรยาย - สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏ

การจัดทา
มคอ.๓ รายละเอียดของรายวิชา
Course Specification
วันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ณ ห้องประชุมสรอยสุ
วรรณา
มหาวิทยาลัยราช
้
ภัฏสกลนคร
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
(course specification)
หมวดที่ 1
หมวดที่ 2
หมวดที่ 3
หมวดที่ 4
หมวดที่ 5
หมวดที่ 6
หมวดที่ 7
ข้อมูลทัวไป
่
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
ลักษณะและการดาเนินการ
การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต
แผนการสอนและการประเมินผล
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
2
หมวดที่ 1 ข้อมูลทว่ ั ไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
2. จานวนหน่ วยกิต
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
• หลักสูตร ........................ (ถ้าเป็ นรายวิชาศึกษาทัวไป
่ ใช้ว่า “หลาย
หลักสูตร”)
• หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา (บังคับ/เลือก)...............
4. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผสู้ อน
• ระบุใครเป็ นผูร้ บั ผิดชอบ/ผูป้ ระสานงาน/ผูส้ อน
• ใครสอนกลุ่มไหน หมู่ไหน
3
หมวดที่ 1 ข้อมูลทว่ ั ไป (ต่อ)
5. ภาคการศึกษา/ชัน้ ปี ที่เรียน
• ระบุตามแผนการศึกษาของหลักสูตร ที่เขียนไว้ใน
มคอ. 2 หมวดที่ 3 ข้อ 3.1.4 แสดงแผนการศึกษาตลอดหลักสูตร
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี)
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)
8. สถานที่เรียน
• ระบุสถานที่ทุกแห่ง ทัง้ ในและนอกที่ตงั ้ หลักของคณะ /วิทยาลัย
9. วันที่จดั ทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครัง้ ล่าสุด
(มติของ มรสน. ใช้วนั ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมตั ิ หลักสูตร มคอ.๒ หมวดที่ ๑ ข้อ ๖)
• ระบุตามแผนการศึกษาของหลักสูตร ที่เขียนไว้ใน
มคอ. 2 หมวดที่ 3 ข้อ 3.1.4 แสดงแผนการศึกษาตลอดหลักสูตร
3.1.4
แสดงแผนการศึกษาตลอดหลักสู ตร
ชั้นปี ที่ 1
ภาคเรียนที่ 1/2555
รหัสวิชา ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
32551201 ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์
32551202 ปรัชญาการเมือง
Xxxxxxxx วิชาเลือก...................................(1).......
Xxxxxxxx วิชาเลือก...................................(2).......
Xxxxxxxx วิชาศึกษาทัว่ ไปบังคับ................(1).......
Xxxxxxxx วิชาศึกษาทัว่ ไปบังคับ................(2).......
รวม
น(ท-ป-อ)
3(3-0-6)
3(3-0-6)
3(3-0-6)
3(3-0-6)
3(3-0-6)
3(3-0-6)
18 หน่วยกิต
หมวดที 2. จุดมุง
่ หมาย และว ัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
• เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องอะไรบ้าง
• มีทกั ษะ ความสามารถที่จะทาอะไรได้บา้ ง
(หากสอนหลายคนให้ใช้ มคอ.๓ ชุดเดียวกัน จุดมุ่งหมายเหมือนกัน)
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
• มีการเปลี่ยนแปลง มีความจาเป็ น อะไรที่ทาให้ต้องมีการพัฒนา/
ปรับปรุงรายวิชานี้
• มีการพัฒนา/ปรับปรุงใหม่ในเรื่องอะไรบ้าง
• หากพัฒนา/ปรับปรุงแล้วจะส่งผลต่อนักศึกษาอย่างไร
• ในการพัฒนา/ปรับปรุง มีสิ่งที่จะทา อะไรบ้าง เพื่อจะให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงนี้
6
หมวดที่ 3. ล ักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ลอกตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร (มคอ.๒)
2. จานวนชัวโมงที
่
่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย
กี่ชวโมง
ั่
สอนเสริม
ไม่มี / มี
ตามความต้องการ
ของนักศึกษา
เฉพาะราย
การฝึ กปฏิบตั ิ /งาน
การศึกษา
ภาคสนาม/การ
ด้วยตนเอง
ฝึ กงาน
ไม่มี / มี
กี่ชวโมง
ั่
7
หมวดที่ 3. ล ักษณะและการดาเนินการ (ต่อ)
3. จานวนชัวโมงต่
่
อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนา
ทางวิชาการแก่นิสิตเป็ นรายบุคคล
• กี่ชวโมงต่
ั่
อสัปดาห์
• ใช้วิธีการใดในการติดต่อสื่อสาร เช่น
– ประกาศเวลาให้คาปรึกษาที่หน้ าห้องทางาน
– แจ้งในเว็บไซต์
– โทรนัดหมายล่วงหน้ า
– เป็ นต้น
8
หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูข
้ อง
ึ ษา
น ักศก
• เขียนผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
• ให้สอดคล้องกับ Curriculum Mapping และ ธรรมชาติ
รายวิชา (ให้แนบ Curriculum Mapping ด้วย)
• และสอดคล้องกับ มคอ. 3 หมวดที่ 2 ข้อ 1 จุดมุ่งหมาย
ของรายวิชา
(ข้อแนะนา คัดลอกมาจาก มคอ.๒ หมวดที่ ๔ ข้อ ๒ การพัฒนาผลการ
เรียนรู้แต่ละด้าน ข้อ ๒.๒ หมวดวิชาเฉพาะ)
9
ผลการเรียนรู ้
(Learning Outcomes) คืออะไร?
 ผลการเรียนรู ้ หมายถึง สงิ่ ทีพ
่ ัฒนาขึน
้ ใน
ึ ษา ทัง้ จากการเรียนในห ้องเรียน
ตัวนักศก
ั พันธ์
กิจกรรมในและนอกหลักสูตร ปฎิสม
ึ ษาอืน
กับนักศก
่ กับอาจารย์
ประสบการณ์ทเี่ กิดขึน
้ ในชว่ งเวลาที่
ึ ษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัย
ศก
ผลการเรียนรู ้
(Learning Outcomes)
 ผลการเรียนรู ้ ต ้องวัดได ้ และครอบคลุมถึง
 สาระความรู ้ ความเข ้าใจในเนือ
้ หาวิชา
 ทักษะหรือความสามารถในการนาความรู ้ไปใช ้
ื่ อุปนิสย
ั
 พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชอ
 สกอ.กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรู ้อย่างน ้อย 5 ด ้าน
(เอกสารแนบท ้ายประกาศ สกอ. เรือ
่ งแนวทางการปฏิบต
ั ิ
ึ ษาแห่งชาติ
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศก
พ.ศ.2552)
การเรียนรู ้ 5 ด้าน
(5 Domains of Learning)
1. คุณธรรม จริยธรรม (คิดดี ทาดี รับผิดชอบการ
กระทา)
2. ความรู ้ (รู ้ เข ้าใจ)
3. ทักษะทางปั ญญา (ความสามารถในการปฏิบต
ั ิ
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมิน)
ั พันธ์ระหว่างบุคคลและความ
4. ทักษะความสม
ั พันธ์ ความรับผิดชอบการ
รับผิดชอบ (มนุษยสม
ทางาน/การพัฒนาตนเอง)
ื่ สาร และการ
5. ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสอ
้
ใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ (สนับสนุนการเรียนรู ้
ี )
ด ้านอืน
่ ๆ และการประกอบอาชพ
หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์
การสอนและการประเมินผล (ต่อ)
3. แผนทีแ
่ สดงการกระจายความ
รับผิดชอบต่อผลการเรียนรู ้ จาก
หลักสูตรสูร่ ายวิชา (Curriculum
mapping, Curriculum alignment)
(มคอ. 2) ต ัวอย่าง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum Mapping)
• ความรับผิดชอบหลัก
o ความรับผิดชอบรอง
14
ิ (ต่อ)
หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูข
้ องนิสต
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.2 วิธีการสอน
1.3 วิธีการประเมินผล
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รบั
2.2 วิธีการสอน
2.3 วิธีการประเมินผล
15
ิ (ต่อ)
หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูข
้ องนิสต
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
3.2 วิธีการสอน
3.3 วิธีการประเมินผล
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่
ต้องพัฒนา
4.2 วิธีการสอน
4.3 วิธีการประเมินผล
16
ิ (ต่อ)
หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูข
้ องนิสต
5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้
เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา
5.2 วิธีการสอน
5.3 วิธีการประเมินผล
17
หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
• เขียนให้สอดคล้องกับ Curriculum Mapping และธรรมชาติรายของวิชา (ดู
คาอธิบายรายวิชา ประกอบ)
• และสอดคล้องกับ มคอ. 3 หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
แต่ละด้าน
ั
สปดาห์
ที่
ห ัวข้อ/
รายละเอียด
จานวน
(ชม.)
กิจกรรมการ
เรียน
ื่
การสอนและสอ
ทีใ่ ช ้
ื่ ทีใ่ ชให
้ ้
วิธส
ี อน/สอ
เหมาะกับเนือ
้ หา
ผู ้สอนออกแบบ
เอง
ผูส
้ อน
18
หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ)
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
• ให้สอดคล้องกับ Curriculum Mapping และธรรมชาติรายวิชา
และสอดคล้องกับ มคอ. 3 หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
กิจกรรมที่
วิ ธีการประเมิ น
ผลการเรียนรู้
สัปดาห์ที่
ประเมิ น
สัดส่วนของการ
ประเมิ นผล
๑
ระบุกิจกรรมการ
ประเมิ นที่สนองผล
การเรียนรู้ที่ระบุไว้
(ดูหมวดที่ ๔)
ระบุผลการเรียนรู้
ข้อใดบ้าง (จะตอบ
โจทย์หมวดที่ ๔)
จะประเมิ นด้วยกิ จกรรมนี้ ในสัปดาห์
ที่เท่าไรบ้าง
หรือ ประเมิ นตลอดภาคการศึกษา
กิ จกรรมการประเมิ นนี้
คิ ดเป็ นกี่เปอร์เซ็นต์
๒
ระบุกิจกรรมการ
ประเมิ นที่สนองผล
การเรียนรู้ที่ระบุไว้
(ดูหมวดที่ ๔)
ระบุผลการเรียนรู้
ข้อใดบ้าง (จะตอบ
โจทย์หมวดที่ ๔)
จะประเมิ นด้วยกิ จกรรมนี้ ในสัปดาห์
ที่เท่าไรบ้าง
หรือ ประเมิ นตลอดภาคการศึกษา
กิ จกรรมการประเมิ นนี้
คิ ดเป็ นกี่เปอร์เซ็นต์
19
หมวดที่ 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
• ให้สอดคล้องกับ มคอ. 3 หมวดที่ 5 ข้อ 1 แผนการสอน ด้วย
1. ตาราและเอกสารหลัก
• เขียนแบบบรรณานุกรม
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
• ระบุมีอะไรบ้าง เช่น
– หนังสือ วารสาร รายงาน
– สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
– กฎระเบียบต่าง ๆ
– แหล่งศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
20
หมวดที่6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน (ต่อ)
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
• ระบุมีอะไรบ้าง เช่น
– หนังสือ วารสาร รายงาน
– สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
– กฎระเบียบต่าง ๆ
– แหล่งศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
21
หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดาเนินการของรายวิชา
• นาข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 8 ข้อ 1. การประเมินประสิทธิผลของการ
สอน มาดูประกอบ
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
• จะมีวิธีการอย่างไร เช่น
– การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษา
– การสะท้อนคิด (reflective journal) ของนักศึกษา
– แบบประเมินอาจารย์ และแบบประเมินรายวิชา
– การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
– ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์จดั ทา ไว้สื่อสารกับ
นักศึกษา
22
มคอ. 2 หมวดที่ 8 ข้ อ 1.
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการของหลักสู ตร
1.
การประเมินประสิ ทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธ์ การสอน
กระบวนการทีจ่ ะใช้ ในการประเมินปรับปรุ งยุทธศาสตร์ ทวี่ างแผนไว้ เพือ่
พัฒนาการเรียนการสอนนั้น พิจารณาจากตัวผู้เรียนโดยอาจารย์ ผ้ สู อนจะต้ องประเมิน
ผู้เรียนในทุกๆ หัวข้ อว่ ามีความเข้ าใจหรือไม่ โดยอาจประเมินจากการทดสอบย่ อย การ
สั งเกตพฤติกรรมของนักศึกษา การอภิปรายโต้ ตอบจากนักศึกษา การตอบคาถามจาก
นักศึกษาในชั้นเรียน ซึ่งเมือ่ รวบรวมข้ อมูลจากทีก่ ล่ าวข้ างต้ นแล้ ว ก็ควรจะสามารถประเมิน
เบือ้ งต้ นได้ ว่าผู้เรียนมีความเข้ าใจหรือไม่ หากวิธีการทีใ่ ช้ ไม่ สามารถทาให้ ผ้ เู รียนเข้ าใจได้ ก็
จะต้ องมีการปรับเปลีย่ นวิธีสอน
การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียนจะสามารถชี้ได้ ว่าผู้เรียนมีความ
เข้ าใจหรือไม่ หากพบว่ ามีปัญหาก็จะต้ องมีการดาเนินการวิจัยเพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน
ในโอกาสต่ อไป
หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดาเนินการของรายวิชา (ต่อ)
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
• จะมีวิธีการอย่างไร เช่น
– การสังเกตการสอนของผูร้ ว่ มทีมการสอน
– ผลการสอบ/การเรียนรู้
– การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
– การประเมินโดยคณะกรรมการ ประเมินข้อสอบและ
วิธีการประเมิน
24
หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดาเนินการของรายวิชา (ต่อ)
3. การปรับปรุงการสอน
• จะมีวิธีการอย่างไร เช่น
– สัมมนา ประชุมปฏิบตั ิ การการจัดการเรียนการสอน
– การวิจยั ในชัน้ เรียน
– การวิจยั อื่น ๆ
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ ิ ของนักศึกษาในรายวิชา
• นาข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 5 ข้อ 2.1 การทวนสอบ
ระดับรายวิชา ขณะนักศึกษายังไม่สาเร็จการศึกษา มาดูประกอบ
25
มคอ. 2 หมวดที่ 5 ข้ อ 2.1
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสั มฤทธิ์ของนักศึกษา
อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบหลักสู ตรทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ของนักศึกษาดดย
2.1 สุ่ มประเมินรายละเอียดรายวิชาว่ าครอบคลุมผลการเรียนรู้ ที่กาหนด
สอดคล้ องกับความรับผิดชอบในหลักสู ตร
2.2 สุ่ มประเมินข้อสอบของรายวิชาว่าครอบคลุมผลการเรี ยนรู ้ตามทีก่ าหนด
ในรายละเอียดวิชา
2.3 การเปรี ยบเทียบวิเคราะห์คะแนน
2.4 การใช้ขอ้ สอบกลาง หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปแล้วเปรี ยบเทียบคะแนนเฉลี่ย
2.5 แต่งตั้งคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ พิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบ
2.6 ให้นกั ศึกษามีการประเมินผลการสอนของอาจารย์
หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดาเนินการของรายวิชา (ต่อ)
• จะทาอย่างไร เช่น
– มีคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมิน
การเรียนรู้ของนักศึกษา (คะแนน/เกรด) โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน
โครงการ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมของ
นักศึกษา
– การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงาน
ของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผูท้ รงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจา
หลักสูตร และต้องมีความรู้ในวิชานี้
หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดาเนินการของรายวิชา (ต่อ)
5. การดาเนินการทบทวน และการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผล
ของรายวิชา
• จะนาข้อมูลจากข้อ 1 – 4 มาวางแผนดาเนินการอย่างไร เช่น
– ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการสัมมนาการจัดการ
เรียน การสอน
– ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี ตามข้อเสนอแนะและผลจาก
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ ิ ในข้อ 4
– เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผสู้ อน
28
ปัญหา
 มคอ.3 ทาทุกรายวิชาหรือไม่ /ต้องสอดคล้องกับ มคอ.2
 ในการเขียนวิธีการสอน/วิธีการประเมินต้องคานึ งความ
เป็ นไปได้
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
(Course Report)
หมายถึง รายงานผลการจัดการเรี ยนการสอนของอาจารย์ ผู้สอน
แต่ ละรายวิชาเมื่อสิ้นภาคเรียน
ในรายงานจะเกี่ยวกับภาพรวมของการจัดการเรี ยนการสอนใน
วิชานั้นๆ ว่าได้ดาเนินการสอนเป็ นไปตามแผนที่วางไว้หรื อไม่
มีปัญหาหรื อข้อขัดข้องใดที่ทาให้มิได้สอนตามแผน พร้อมกับ
ข้อเสนอแนะสาหรับการแก้ไขในการดาเนินการสอนครั้งต่อไป
ในรายงานจะครอบคลุมถึงผลการเรี ยนของนักศึกษา จานวน
นักศึกษา การประเมินรายวิชาดดยนักศึกษา รวมทั้งการสารวจความ
คิดเห็นของผูใ้ ช้บณ
ั ฑิต
31
ความเชื่อมโยง
มคอ. ๕ จะเชื่อมโยงกับ มคอ. ๓ในประเด็น…
 ผลการเรียนรู้  วิธสี อน  วิธก
ี ารประเมิน
 แผนการสอน  ประสิทธิภาพของกลยุทธ์การเรียน
การสอนทีท่ าให้เกิดผลการเรียนรู้
 การประเมิน  โดยนักศึกษา
 โดยวิธอ
ี ่นื
 ผลกระทบจากทรัพยากรการบริหาร
32
รายงานผลรายวิชาเป็ นรายงานที่ต้องทาหลังจากเสร็จสิ้ นการ
ประเมินการสอนแต่ ละรายวิชาแล้ ว โดยต้ องนาข้ อมูลจาก
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา มาใช้ เป็ นหลักในการจัดทา
รายงาน
2. ใช้ ข้อมูลจากการประเมินผลการเรียนรู้ตลอดภาค
การศึกษาได้ ปฏิบัติจริง รวมทั้งการประเมินกิจกรรม
ต่ างๆ ที่ได้ จัดในระหว่ างภาคการศึกษามาประกอบ
33
3. ข้ อมูลจากการประเมินผลการสอน/อาจารย์ โดย
นักศึกษา
4.
ผลการทวนสอบจากคณาจารย์ อนื่ ภายในสาขาวิชา
5.
ผลการประเมินหรือความเห็นจากผู้เกีย่ วข้ องอืน่ ที่อาจ
เป็ นบุคคลภายนอก
34
ส่ วนประกอบของรายงาน
ประกอบด้ วย 6 หมวด ดังนี้
หมวดที่ 1
หมวดที่ 2
หมวดที่ 3
หมวดที่ 4
หมวดที่ 5
หมวดที่ 6
ข้อมูลทัวไป
่
การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับ
แผนการสอน
สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ
การประเมินรายวิชา
แผนการปรับปรุง
35
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
ชือ
่ สถาบันอุดมศึ กษา
วิทยาลัย.............................................
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
คณะ.......................สาขาวิชา.....................
36
หมวดที่ 1 ล ักษณะและข้อมูลโดยทว่ ั ไปของรายวิชา
1. รหัสและชื่อรายวิชา
02500105 สังคมไทยกับดลกาภิวตั น์
2.
รายวิชาที่ตอ้ งเรี ยนก่อนรายวิชานี้ (ถ้ามี)
3. อาจารย์ผรู ้ ับผิดชอบและกลุ่มเรี ยน (section)
อาจารย์..............................................
4. ภาคการศึกษา/ปี การศึกษาที่เปิ ดสอนรายวิชา
ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2555
5. สถานที่เรี ยน
สาขาวิชา.................. คณะ…………………..
37
หมวดที่ 2 การจ ัดการเรียนการสอนทีเ่ ปรียบเทียบก ับแผนการสอน
(นาข ้อมูลจาก มคอ.๓ หมวด ๕ ข้อ ๕.๑ มาใชโ้ ดยเปรียบเทียบก ับข้อมูลจากการ
ปฏิบ ัติจริง)
1. รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทียบกับแผนการสอน
หัวข้อ
จานวน จานวนชัว่ ดมง
Hint (นามาจาก มคอ.๓ หมวด ๕ ข้ อ ๕.๑) ชัว่ ดมงตาม ที่ได้สอนจริ ง
แผนการ
สอน
ระบุสาเหตุที่การสอนจริ งต่าง
จากแผนการสอนหากมีความ
แตกต่างเกิน 25%
1. บทนา: บทบาทหน้าที่และความ
รับผิดชอบของผดุงครรภ์, ความรู ้
พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด
4
6
การอภิปรายกลุ่มใช้เวลานาน
กว่ากาหนดเนื่องจากนักศึกษามี
พื้นฐานทางกายวิภาคและ
สรี รวิทยาน้อยกว่าที่คาดการณ์
2. การประเมินสภาวะทารกในครรภ์
4
4
-
3. การพยาบาลสตรี-ทารกในระยะ
ตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเสี่ ยงและ
ภาวะแทรกซ้ อน
16
16
(หาผลต่าง ช่อง ๒ และ ๓ นามาคิด %
ความแตกต่าง...ดดยเอาผลต่างที่
หาได้คูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยช่อง
ที่ ๒ ดดยคิดทีละหัวข้อ) 38
รายงานให้ครบทุกชัว่ ดมงสอน
2. การสอนทีไ่ ม่ ครอบคลุมตามแผน
ให้ระบุหวั ข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผนและพิจารณานัยสาคัญของหัวข้อต่อการเรี ยนรู ้ของรายวิชาและหลักสูตร
ในกรณี ที่มีนยั สาคัญให้เสนอแนวทางชดเชย
หัวข้อที่ทาการสอนไม่ครอบคลุม
ทั้งหมดหรื อไม่ได้สอน (ถ้ามี)
ผลต่อผลการเรี ยนรู ้ของรายวิชา
นี้
วิธีแก้ไข
1. จริ ยธรรมในการทาวิจยั ด้านชีวภาพ
และธุรกิจ
(ลด 1 ชัว่ ดมง)
การเพิ่ม/ลดชัว่ ดมงในแต่ละ
ได้ประชุมหารื อกับอาจารย์ผสู ้ อนทั้ง
หัวข้อไม่มีผลต่อเนื้อหา
หมดแล้ว มีความเห็นว่า การ
เนื่องจากเป็ นการสอนของ
ปรับชัว่ ดมงทาให้เนื้อหา
ผูส้ อนคนเดียวกัน
กระชับมากขึ้น รวมทั้งได้เพิ่ม
2. กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกาหนดใน
สามารถที่จะย้ายบางหัวข้อ
เนื้อหาในบางบริ บทให้
ด้านการใช้ประดยชน์จากพืช
มาเพิม่ ให้เหมาะสมกับ
นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น
(ลด 1 ชัว่ ดมง)
หัวข้อที่เพิม่ ขึ้น ดดยให้
จากการประเมินผลการเรี ยนรู้
เนื้อความต่อเนื่องกันดีข้ ึน
นักศึกษามีผลการเรี ยนดีข้ ึน
รวมทั้งง่ายต่อการเข้าใจ
เมื่อเปรี ยบเทียบกับรุ่ นก่อน
ของนักศึกษา
39
3. ประสิ ทธิผลของกลยุทธ์การเรี ยนการสอนที่ทาให้เกิดผลการเรี ยนรู ้ตามที่ระบุในรายละเอียดของรายวิชา
(ระบุวา่ วิธีสอนเพื่อให้บรรลุผลการเรี ยนรู้แต่ละด้านตามที่ระบุในรายละเอียดรายวิชามีประสิ ทธิผลหรื อไม่มี และ
ปัญหาของวิธีสอนที่ใช้(ถ้ามี) พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข) ดู มคอ. ๓ หมวด ๔ ที่ระบุวธิ ีสอนไว้ในผลการ
เรี ยนรู้แต่ละด้าน ประกอบการเขียน
ผลการเรี ยนรู ้
กลยุทธ์การสอนที่ระบุในรายละเอียด
รายวิชา
ประสิ ทธิ ผ
ล
มี
คุณธรรม จริ ยธรรม
1. สอนดดยใช้วิธีการสอนแบบ
กรณี ศึกษาที่มีการสอดแทรกประเด็น
จริ ยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และการ
เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ของความ
เป็ นมนุษย์ ตลอดจนการพิทกั ษ์สิทธิ
สตรี -ทารก
/
ปั ญหาของวิธีการสอน (ถ้ามี) พร้อม
ข้อเสนอแนะในการแก้ไข
ไม่มี
ใช้เวลานานในการวิเคราะห์กรณี ศึกษา
ข้อเสนอแนะ
ควรเลือกกรณี ศึกษาที่ครอบคลุม
ประเด็นไม่ซบั ซ้อน
2. …………………………….
3. …………………………….
40
ความรู ้
1. บรรยายร่ วมกับอภิปราย
/
-
2. การทางานกลุ่ม
/
-
3. การวิเคราะห์กรณี ศึกษา
/
ใช้เวลานานกว่าที่กาหนด
ข้อเสนอแนะ เช่นเดียวกับผลการเรี ยนรู ้ดา้ น
คุณธรรมจริ ยธรรม
4. มอบหมายให้อ่านและสรุ ป
บทความวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
/
ใช้เวลานานในการตรวจสอบผลการเรี ยนรู ้
ของนักศึกษา ควบคุมเวลาได้ยาก นักศึกษาไม่
สามารถทางานได้ทนั ตามกาหนดเวลา
ข้อเสนอแนะ นศ.ส่ งบทความให้อาจารย์
พิจารณาความเหมาะสมในสัปดาห์แรกของ
ภาคการศึกษา
รายงานให้ครบผลการเรี ยนรู ้ท้ งั 5 ด้าน
41
4. ข้ อเสนอแนะเพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพการเรียนการสอน การปรั บปรุ ง
กลยุทธ์ การสอน ซึ่งมีผลต่ อการประเมินตามตารางในหัวข้ อ 3
หมวดที่ 2 (มคอ.๕)
(ระบุขอ้ เสนอเพื่อการปรับปรุ งวิธีสอน ซึ่งได้จากปัญหาที่พบในข้อ 3)
ใช้วธิ ีการสอนแบบเดิมแต่ปรับปรุ งคุณภาพในการจัดการกระบวนการ
เรี ยนรู้ของนักศึกษา ปรับเนื้อหาของกรณี ตวั อย่าง ปรับสถานการณ์
จาลองให้เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลาและในการแสดงบทบาท
สมมุติ
42
สามารถเพิม่ เติม
 ภารกิจอืน่ ๆทีน่ ามาบูรณาการเข้ ากับการเรียนการสอน
 งานวิจยั
 งานบริการวิชาการ
 งานทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
หมวดที่ 3 สรุ ปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
1.
จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยน 100 คน
2.
จานวนนักศึกษาที่คงอยูเ่ มื่อสิ้ นสุ ดภาคการศึกษา 100 คน
3.
จานวนนักศึกษาที่ถอน (W) – คน
4.
การกระจายของลาดับคะแนน (เกรด)
44
การกระจายของลาดับคะแนน (เกรด)
ระดับคะแนน
จานวน
คิดเป็ นร้ อยละ
A
5
5
B+
18
18
B
20
20
C+
32
32
C
22
22
D+
2
2
D
1
1
F
-
-
ไม่สมบูรณ์ (I)
-
45
ั
ึ ษา
7. การทวนสอบผลสมฤทธิ
ข
์ องน ักศก
วิธก
ี ารทวนสอบ
(คัดลอกมาจาก มคอ. ๓ หมวด
๗ ข ้อ ๗.๔)
สรุปผล
ผลการทวนสอบตามทีร่ ะบุไว ้
47
หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ
4.1 ประเด็นด้านทร ัพยากรประกอบการเรียนและสงิ่
อานวยความสะดวก
้
1. ปั ญหาในการใชแหล่
ง
1. ผลกระทบ
ทรัพยากรประกอบการเรียน
้
(ถ ้ามี)
ไม่มเี ครือ
่ งคอมพิวเตอร์ใชในการ
ไม่มเี ครือ
่ งคอมพิวเตอร์ประจา
สอนหากนัดสอนนอกตาราง
้
ห ้องเรียน ต ้องขอยืมและเบิกใช ้
เรียน การใชงานต
้องติดตัง้
ี เวลา
ทุกครัง้
ใหม่ทก
ุ ครัง้ ทาให ้เสย
เรียนในบางชวั่ โมง
อาจจะไม่มก
ี ็ได้
48
4.2 ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร
(1) ปั ญหาด ้านการบริหาร
(1) ผลกระทบต่อผลการ
(ถ ้ามี)
เรียนรู ้ของนศ.
ิ วิทยากรจาก
การเชญ
วิทยากรเตรียมบทเรียนไม่
หน่วยงานภายนอกใช ้
สอดคล ้องกับผลการ
เวลานาน ได ้รับคาตอบรับ
เรียนรู ้ทีก
่ าหนด
ั ้ ชด
ิ ทาให ้มีเวลา
กระชน
ประสานงานกับวิทยากรน ้อย
(2) ปั ญหาด ้านองค์กร (ถ ้ามี) 2. ผลกระทบต่อผลการ
เรียนรู ้ของนศ.
49
หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา
ึ ษา (แนบเอกสาร)
1. ผลการประเมินรายวิชาโดยน ักศก
ึ ษา
1.1 ข ้อวิพากษ์ ทส
ี่ าคัญจากผลการประเมินโดยนักศก
้
ึ ษามีประโยชน์ในการฝึ กคิดวิเคราะห์
การวิเคราะห์โดยใชกรณี
ศก
ื่ มโยงและค ้นคว ้าความรู ้ได ้อย่างกว ้างขวาง แต่ต ้องใชเวลานานใน
้
เชอ
แต่ละครัง้
้
ึ ษา ไม่ควรใชในทุ
้
การสอนโดยใชการวิ
เคราะห์กรณีศก
กเนือ
้ หาที่
สอนเพราะเกินเวลาทีก
่ าหนด
ึ ษาบางคนมีสว่ นร่วมน ้อย
การทางานกลุม
่ มีนักศก
ควรมีเอกสารอ ้างอิงในห ้องสมุดเพิม
่ มากขึน
้ โดยเฉพาะวารสารทีจ
่ ะ
ค ้นคว ้าบทความวิจัย
1.2 ความเห็นของอาจารย์ผู ้สอนต่อผลการประเมินตามข ้อ 1.1
ึ ษาตรงกับการประเมินของอาจารย์ผู ้สอน
ผลการประเมินโดยนักศก
50
ึ ษาถัดไป
ซงึ่ จะได ้นาไปปรับปรุงการสอนในปี การศก
2. ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธอ
ี น
ื่
มีการประเมินรายวิชาโดยการสงั เกตการสอนของผู ้ร่วมทีม
สอน
2.1 ข ้อวิพากษ์ ทส
ี่ าคัญจากผลการประเมินโดยวิธอ
ี น
ื่
ึ ษารายกลุม
ึ ษามีสว่ น
การสอนโดยการวิเคราะห์กรณีศก
่ นักศก
ึ ษาบางคนมีสว่ นร่วม
ร่วมในการอภิปรายกลุม
่ แตกต่างกัน นักศก
น ้อยและกลุม
่ ไม่สามารถดึงให ้เข ้าร่วมการอภิปรายได ้เท่าทีค
่ วร
้
การใชเวลาท
างานกลุม
่ และการนาเสนอผลงาน นานเกินเวลาที่
วางแผนไว ้
2.2 ความเห็นของอาจารย์ผู ้สอนต่อผลการประเมินตามข ้อ
2.1
ผลการประเมินสอดคล ้องกับการประเมินของอาจารย์ผู ้สอน ซงึ่
ึ ษาถัดไป
จะได ้นาไปปรับปรุงการสอนในปี การศก

51
หมวดที่ 6 แผนการปร ับปรุง
ให้ สอดคล้องกับ มคอ.๓ หมวด ๒ ข้ อ ๒.๒, หมวด ๗ ข้ อ ๗.๓ ตลอดถึง มคอ. ๕ ทีผ่ ่านมา
1. ความก้าวหน้าของการปร ับปรุงการเรียนการสอนตามที่
เสนอในรายงาน/รายวิชาทีผ
่ า่ นมา
แผนการปรับปรุงของภาคเรียน/ปี ผลการดาเนินการ
(ระบุกจิ กรรมตามแผนทีไ่ ด ้ดาเนินการว่า
ึ ษาทีผ
การศก
่ า่ นมา
สง่ ผลอย่างไร และถ ้าไม่ได ้ดาเนินการ
1.การเตรียมการสอนอย่างเป็ น
หรือไม่เสร็จสมบูรณ์ ให ้ระบุเหตุผล
ระบบโดยพิจารณาทัง้ รายวิชา
ประกอบ)
เพือ
่ ให ้บรรลุผลการเรียนรู ้ในทุก ๆ 1. ดาเนินการได ้ตามแผน มี
ด ้าน มีการกาหนดวิธก
ี ารสอนที่
การใชวิ้ ธก
ี ารสอนที่
ื่ การสอน หลากหลาย และมีการใชส้ อ
หลากหลาย มีการใชส้ อ
ื่
ิ ธิภาพ
ทีเ่ หมาะสม มีประสท
การสอนทีเ่ หมาะสม
52
2. การดาเนินการอืน
่ ๆ ในการปร ับปรุง
รายวิชา
ประชุมอาจารย์ผู ้สอนเพือ
่ รับทราบรายละเอียด
ึ ษาทีผ
ของรายวิชาและผลประเมินในปี การศก
่ า่ น
มา ตลอดจนแผนการดาเนินการปรับปรุงรายวิชา
ึ ษานี้
ในปี การศก
53
ึ ษาต่อไป
3. แผนการปร ับปรุงรายวิชาสาหร ับภาคเรียน/ปี การศก
กิจกรรมทีต
่ อ
้ งการ
ิ้ สุดกิจกรรม
ว ันสน
1. การจัดเตรียม
ึ ษาที่
กรณีศก
เหมาะสมกับเนือ
้ หา
ในแต่ละสว่ นของ
รายวิชา
2. การจัดเตรียม
สถานการณ์จาลอง
3. การจัดเตรียมวารสาร
ทีเ่ กีย
่ วข ้อง(กับวิชา
นัน
้ ๆ) ไว ้อย่าง
เพียงพอในห ้องสมุด
ของคณะ
ก่อนเปิ ดภาค
ึ ษา 2 สป
ั ดาห์
การศก
ผูร้ ับผิดชอบ
รศ.ดร. ...........................
54
4. ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผร
ู ้ ับผิดชอบรายวิชา
เสนอต่ออาจารย์ผร
ู ้ ับผิดชอบหล ักสูตร
ื้
ควรมีการจัดสรรงบประมาณเพือ
่ จัดซอ
ื่ การ
วารสารทางการเมืองและกฎหมาย สอ
สอนทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการเมืองและกฎหมาย
ทีท
่ ันสมัย และฐานข ้อมูลทางการเมือง
และกฎหมาย
56
จบการนาเสนอ
ขอบคุณครับ