การวิจัยอนาคต (Future Research)

Download Report

Transcript การวิจัยอนาคต (Future Research)

พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้องเรี ยนวัดโสธรวราราม
วิชา 407203 ระเบียบวิธีวิจยั ทางรัฐประศาสนศาสตร์
บรรยาย โดย
รองศาสตราจารย์ ดร.สมาน งามสนิท Fulbright Scholar
ผูอ้ านวยการโครงการเปิ ดสอนหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ห้องเรี ยนวัดโสธรวราราม ฉะเชิงเทรา
กระบวนการให้คาปรึ กษาวิทยานิพนธ์
๑. แต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึ กษา อาจารย์ ๑ ท่าน เป็ นประธานกรรมการที่ปรึ กษาได้
ไม่เกิน 15 คน
๒. การบริ หารการให้คาปรึ กษา ( วางแผน ดาเนินงาน ติดตาม ประเมิน)
๓. ติดตาม กากับการทาวิจยั อาจารย์ นิสิต พบปรึ กษากันบ่อยขึ้น
๔. ประเมินผลการทาวิจยั เป็ นระยะๆ
คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ตามข้อกาหนด
ของ สกอ.และหลักอุดมศึกษา
๑. คุณสมบัติทวั่ ไป
วิทยานิพนธ์
ที่ปรึ กษา
ปริ ญญาโท
ปริ ญญาเอก/รศ. ปริ ญญาเอก/รศ.
หรื อเทียบเท่า
กรรมการสอบ
ปริ ญญาเอก
หรื อเทียบเท่า
ปริ ญญาเอก/รศ.
หรื อเทียบเท่า
ปริ ญญาเอก/รศ.
หรื อเทียบเท่า
๒. คุณสมบัติเฉพาะ - ความรู้
๑. ความรู ้ทางวิชาการที่ทนั สมัย
๒. ความรู ้ความสามารถในการทาวิจยั
๓. ความรู ้ทางสังคมที่ทนั ความเปลี่ยนแปลงและความต้องการ
ของสังคม
๔. ความรู ้เรื่ องการถ่ายทอดความรู ้
๕. ความรู ้ในการฝึ กนิสิต
๓. บทบาทของอาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์
๑. ในฐานะนักวิชาการ นักวิจยั
๒. ในฐานะครู
๓. ในฐานะต้นแบบ
๔. ในฐานะที่ปรึ กษา
๕. ในฐานะผูม้ ีความพร้อม (เวลา วิชาการ จิตใจ) ในการให้
คาปรึ กษา
๖. ในฐานะผูร้ อบรู ้สาระ แหล่งข้อมูล
๗.ในฐานะผูบ้ ริ หาร จัดการ
๘. ในฐานะผูป้ ระเมิน
๙. ในฐานะผูร้ ่ วมกัน
๑๐. ในฐานะผูพ้ ฒั นาศักยภาพ ผูแ้ ก้ปัญหา ผูส้ นับสนุนวิชาการและวิชาชีพ
ผูเ้ ป็ นกัลยาณมิตร
แนวปฏิบตั ิในการให้คาปรึ กษาวิทยานิพนธ์
๑. การสอน เน้นให้นิสิตสนใจเฉพาะเรื่ อง
๒. แนะนาให้นิสิตพัฒนา concept paper เขียนภาพรวมของเรื่ องที่
ตนเองสนใจ
๓. แนะนาให้นิสิตพัฒนา ข้อเสนอ proposal
๔. การเสนอและขออนุมตั ิ proposal
๕. การกากับการวิจยั ของนิสิต
๖. การประเมินคุณภาพ การสอบปากเปล่า
๗. การแนะนาให้นิสิตเผยแพร่ ผลการวิจยั
การพัฒนา concept paper
๑. แนะให้นิสิตค้นคว้า ศึกาบทความวิจยั ใหม่ๆจากวารสารวิชาการเพิ่มเติมจาก
วิชาที่เรี ยน
๒. กาหนด หัวข้อเรื่ อง outline ร่ วมกับอาจารย์ที่ปรึ กษา และเขียนร่ าง concept
paper (ชื่อเรื่ อง วัตถุประสงค์ สาระ วิธีการศึกษา กรอบแนวคิดฯลฯ)
๓. ส่ ง concept paper สอบหัวข้อและโครงร่ างวิทยานิพนธ์
การพัฒนา proposal
๑. แนะนาให้นิสิตค้นคว้าและศึกษางานวิจยั ใหม่ๆ เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการ
วิจยั ของตน
๒. กาหนด outline ร่ วมกับอาจารย์ที่ปรึ กษา เขียนร่ าง proposal ตามหัวข้อที่
บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด (ศึกษาคู่มือการทาวิทยานิพนธ์ประกอบ)
๓. แนะนาให้เตรี ยมการนาเสนอ proposal เตรี ยมทา power points หรื อ
สื่ ออย่างอื่น วิธีการนาเสนอ แนวทางการนาเสนอ การตอบคาถามจาก
คณะกรรมการสอบ
การเสนอและขออนุมตั ิ proposal
๑. ตรวจสอบความถูกต้องของ proposal
๒. แนะนาและเตรี ยมความพร้อมของนิสิตในการนาเสนอ proposal
แนะนาให้เข้าฟังการนาเสนอ proposal ของนิสิตคนอื่น แนะนาเรื่ องการ
แต่งกายให้สุภาพเหมาะสม
๓. ดูแลเรื่ องการดาเนินงานตามระเบียบการลงทะเบียนและระเบียบอื่นๆ
เตือนในเรื่ องที่จาเป็ น
๔. ให้วนั เวลา สาหรับการประชุม การรับรองความถูกต้องของ proposal
ปัญหาในการให้คาปรึ กษาวิทยานิพนธ์
๑. ปัญหาระดับมหาวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา
๑.๑ ความไม่พร้อมของอาจารย์ที่ปรึ กษา
๑.๒ งบประมาณไม่เพียงพอ
๑.๓ การย่อหย่อนในการปฏิบตั ิตามระเบียบ
๒. ปัญหาด้านนิสิต นักศึกษา
๒.๑ ความไม่พร้อมทางปัญญาและวิชาการ
๒.๒ บุคลิกภาพและแรงจูงใจในการเรี ยน
๒.๓ ปัญหาทางครอบครัว ทางการเงิน
๒.๔ ปัญหาด้านกระบวนการให้คาปรึ กษา
๒.๕ ปัญหาด้านความขัดแย้งกับอาจารย์ที่ปรึ กษา
๒.๖ ความไม่เข้าใจในบทบาทของตน
ความหมายของคาว่ าวิจัย
คาว่าวิจยั (Research) รากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส ว่า recherche หมายถึง
การแสวงหาความจริ ง ภาษาอังกฤษว่า Research มาจากสองคา คือ Re
แปลว่า ทาซ้ า ทาอีก และ search แปลว่า แสวงหา ค้นคว้าหา เมื่อรวมกันจึง
ได้คาว่า Research แปลว่า ค้นหา แสวงหาซ้ า ทาซ้ า เพื่อให้ได้ความจริ ง
ส่ วน คาว่า วิจยั มาจากภาษาบาลี ว่า วิจย แปล เลือกเฟ้ น เช่น วิจยทานัง
สุ คตัปปสัตถัง การเลือกให้ทาน พระสุ คตสรรเสริ ญ
กระบวนการวิจยั ประกอบด้วยคาหลักต่างๆที่ผวู ้ ิจยั ต้องทาความเข้าใจ ได้แก่
แนวคิดแม่แบบ (Conceptual Model/ Paradigm ระเบียบวิธีการวิจยั
(Research Methodology) วิธีการหรื อเทคนิคการวิจยั (Research Method)
กระบวนการวิจยั (Research process) ชื่อเรื่ องวิจยั (Research topic) คาถามวิจยั
(Research questions) ปัญหาวิจยั (Research problems) วัตถุประสงค์การวิจยั
(Research objectives) สมมติฐานการวิจยั ( Research hypothesis) ขอบเขตการ
วิจยั (Scope of research) ข้อจากัดในการวิจยั (Research limitation) ตัวแปรใน
การวิจยั (Variables)
การวิจยั ที่นิยมใช้กนั ปัจจุบนั นี้ มี ๓ ประเภท คือ ๑. การวิจยั ปริ มาณ ๒. การวิจยั
คุณภาพ และ ๓. การวิจยั แบบผสม การวิจยั แต่ละประเภทจะมีระเบียบวิธีเฉพาะ
ทางเป็ นของตนเอง
๑. การวิจยั ปริ มาณ (Quantitative Research) เป็ นการหาคาตอบให้กบั ปัญหา
โดยการใช้ตวั เลข สถิติยนื ยันความถูกต้องและอธิบายปรากฏการณ์
๒. การวิจยั คุณภาพ (Qualitative Research) เป็ นการศึกษาปรากฏการณ์
พฤติกรรมมนุษย์ในสิ่ งแวดล้อมที่เป็ นจริ งโดยภาพรวม(Holistic)ด้วยการ
พรรณนาด้วยภาษาพูดหรื อภาษาเขียน
เมื่อเริ่ มทาวิจยั กิจกรรมแรกที่ผวู ้ ิจยั ต้องทาคือ กาหนดคาถามวิจยั หรื อปัญหา
เพื่อการวิจยั แล้วกาหนดชื่อเรื่ อง
๑. ชื่อเรื่ องสาหรับการวิจยั ชื่อเรื่ องนิยมตั้งชื่อให้ส้ นั กระชับ ตรงประเด็น
ให้ผอุ ่านเข้าใจได้ทนั ทีวา่ เป็ นงานวิจยั ประเภทใดและวิจยั เรื่ องอะไร ที่นิยม
กันคือหลักของ SOSE Model ได้แก่
S= Subject คาที่เป็ นประธาน อาจเป็ นชื่อตัวแปรต้นหรื อตัวแปรตามในเรื่ อง
วิจยั
O= Object คาที่เป็ นกรรมที่ถูกกระทา อาจเป็ นผลของการวิจยั หรื อตัวแปร
ตามในเรื่ องของการวิจยั
S= Setting คือบริ บท หรื อสิ่ งแวดล้อม สถานที่ทางานวิจยั
E= Effects คือผลกระทบหรื อผลที่ได้จากการวิจยั
SOSE Model สามารถใช้ต้ งั ชื่อวิทยานิพนธ์หรื องานวิจยั ได้กบั ทั้งงานวิจยั
ปริ มาณและวิจยั คุณภาพ
ตัวอย่างการวิจยั ปริ มาณ
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการซื้อสินค้ าออนไลน์ ของผ้ บู ริ โภค
S=Subject คาที่เป็ นประธานในประโยคคือ ปัจจัย O=Object คาทีเ่ ป็ น
กรรมคือถูกกระทาคือ สิ นค้ า S=Setting บริบท สถานที่ คือ ออนไลน์ ที่
โฆษณาทางอินเทอรเนต E= Effect ผลกระทบ คือการซื้อของผู้บริโภค
ผลกระทบบางทีกไ็ ม่ เขียนไว้ ชัดเจน แต่ กเ็ ข้ าใจได้ ว่ามีอยู่ในชื่อเรื่องนั้นๆ
การเปรี ยบเทียบผลของการเข้ าวัดและความพึงพอใจในการเข้ าวัด
ระหว่ างพุทธศาสนิกชนหญิงและชาย
คาที่เป็ นประธาน คือตัวแปรตาม คือ การเข้าวัดและความพึงพอใจ คาที่เป็ น
กรรม คือตัวแปรเพศ คือพุทธศาสนิกชนหญิงและชาย ผลที่ได้คือ ได้ทราบปัจจัย
ที่ทาให้ท้ งั สองเพศเข้าวัดและความพึงพอใจ บริ บทหรื อพื้นที่ที่ศึกษาคือวัดใด
วัดหนึ่งที่ผวู ้ ิจยั กาหนดขึ้น
ส่ วนการตั้งชื่อสาหรับการวิจยั คุณภาพ สามารถใช้หลักของ SOSE ได้เช่นกัน
แต่เนื่องจากการวิจยั คุณภาพมีหลายระเบียบวิธี เช่นการวิจยั ประวัติศาสตร์
บอกเล่า การวิจยั แบบมีส่วนร่ วม การวิจยั แบบสังเกต การวิจยั อนาคต แต่การ
ตั้งชื่อยังต้องมี คาหลัก คารอง คาที่บอกบริ บทและผลของการวิจยั เช่นตัวอย่าง
การวิจยั ประวัติศาสตร์บอกเล่า ประวัติบุคคลสาคัญ ชื่อเรื่ องน่าจะให้ดึงดูดใจ
ผูอ้ ่าน เช่น จากครรภ์ มารดาสู่ เทวสถานอันยิง่ ใหญ่ เป็ นการวิจยั ประวัติบุคคล
สาคัญ ที่มีอนุสาวรี ย ์ เป็ นต้น
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ปัญหาวิจัย Research problems
ข้ อความหรื อคาถามที่ผ้ วู ิจัยกาหนดขึน้ เพื่อหาคาตอบมาแก้ ไข
ภาพรวมของการวิจยั คือการแสวงหาคาตอบให้กบั ปัญหาที่ผวู ้ ิจยั ต้องหารหา
คาตอบ ข้อนี้ส่วนใหญ่นิยมใส่ ไว้ในบทที่ ๑ การเขียนบทนี้ เริ่ มด้วยการนาเข้า
สู่ปัญหาวิจยั ภูมิหลังของปัญหาวิจยั สภาพที่เป็ นปัญหา ความเดือดร้อน
ปัญหาวิจยั ความสาคัญของปัญหาวิจยั
การนาเข้าสู่ปัญหาวิจยั เริ่ มเรื่ องที่ใกล้ตวั ปัญหา ไม่ควรเริ่ มจากเรื่ องที่ไกลตัว
ปัญหา ปัญหาหลักและปัญหาย่อย สอดคล้องกัน
การตอบปัญหาจะนาไปสร้างกฎเกณฑ์ที่จะใช้ประโยชน์ได้
ใช้ศพั ท์ง่าย จัดเจน ไม่กากวม ตรงกับความหมายที่ตอ้ งการสื่ อความ
คาถามวิจัย Research questions
ได้แก่คาถามที่นกั วิจยั กาหนดขึ้นเพื่อหาคาตอบที่จะนาสู่ แนวทางการแก้ไข ดดย
ที่การตอบคาถามวิจยั นาไปสู่วิธีการแก้ปัญหาวิจยั ดังนั้น การเขียนคาถามวิจยั
และปัญหาวิจยั จึงต้องสอดคล้องกัน
Kerlinger and Lee(1999) กล่าวว่า ปัญหาวิจยั ที่ดี ต้องเขียนในรู ปคาถามว่า
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร หรื อ
ปรากฏการณ์ต้ งั แต่สองปรากฏการณ์ข้ ึนไปมีความสัมพันธ์กนั ในลักษณะอย่างไร
ประเภทของการวิจยั Objectives of research
๑. การวิจยั เพื่อสร้างองค์ความรู ้ใหม่ New body of knowledge
๒. การวิจยั เพื่อทดสอบทฤษฎีเก่า to validate the old theory
๓. การวิจยั เพื่อพยากรณ์ To predict
๔. การวิจยั เพื่อป้ องกัน to prevent
๕. การวิจยั เพื่อพัฒนา research and development
วัตถุประสงค์ของการวิจยั objectives of research
๑. เพื่อบรรยาย (describe)
๒. เพื่อศึกษาสารวจ (explore)
๓. เพื่อเปรี ยบเทียบ (compare)
๔. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องเชื่อมโยง (associate)
๕. เพื่อวิเคราะห์ (analyze)
๖. เพื่ออธิบาย (explain)
๗. เพื่อประเมิน (evaluate)
๘. เพื่อวิจยั และพัฒนา (research and development)
๙. เพื่อทดสอบทฤษฎี ( validate)
การวิจยั สังคมศาสตร์ นิยมใช้ทฤษฎี ต่อไปนี้
Functionalism looks at functions of social institution
Behaviorism defines all behavior in term of ‘stimulus’ and ‘response’
Symbolic interactionism focuses on how we attach meanings to
interpersonal relations
หลักความจริ ง ทฤษฎี และสมมติฐาน ไม่มีผดิ หรื อ ถูก เพียงแต่มีประโยชน์
มากหรื อน้อยเท่านั้น Theories, methodologies cannot be true or false, only
more or less useful. (Silverman, Interpreting qualitative Data p.2)
Sman Ngamsnit
การวิจยั คุณภาพ (Qualitative Research)
คือการศึกษาปรากฏการณ์ พฤติกรรมมนุษย์ในสังคมในสิ่ งแวดล้อมที่
เป็ นจริ งโดยภาพรวม (Holistic) แล้วพรรณนาความรู้ที่ได้ดว้ ยภาษา
พูดหรื อภาษาเขียน มีลกั ษณะสาคัญดังนี้
1. เป็ นการค้นหาความจริ งในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติของสิ่ งที่
ศึกษา จึงเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า การวิจยั ตามธรรมชาติ (naturalistic
research)
Sman Ngamsnit
2. การวิจัยประเภทนีผ้ ู้วจิ ัยเป็ นนักพรรณนา ศึกษาหาความจริงโดยใช้
เหตุการณ์ หนึ่งขึน้ มาวิเคราะห์ หาความสั มพันธ์ กบั เหตุการณ์อนื่ ๆโดยการ
สั มภาษณ์ สั งเกต สอบถามและจดบันทึกเร่ องราวเอง แล้วพรรณนาความตาม
แนวที่นักชาติพนั ธุ์วรรณาใช้ จึงเรียกอีกอย่ างหนึ่งว่ า Ethnographic research
3. ส่ วนใหญ่ เป็ นการวิจัยข้ อมูลทางสั งคม วัฒนธรรม อัตชีวประวัติ โลกทัศน์
ความคาดหวัง อุดมคติ ข้ อมูลทีเ่ ป็ นนามธรรม ทีไ่ ม่ สามารถวิจัยในรู ปปริมาณได้
เหมาะสม
4. การวิเคราะห์ ข้อมูลโดยความสามารถของผู้วจิ ัย เนื่องจากผู้วจิ ัยลงพืน้ ที่
อยู่ในสนามเอง ไม่ จาเป็ นต้ องใช้ สถิติช้ันสู ง แต่ ใช้ หลักตรรกวิทยาแบบอุปนัย
เป็ นสาคัญ
Sman Ngamsnit
ประเภทของการวิจยั คุณภาพทีน่ ิยมใช้
1. การวิจัยประวัติศาสตร์ บอกเล่า
เป็ นการศึกษา
คาบอกเล่าของบุคคลทีเ่ กีย่ วข้ องกับเหตุการณ์ ทศี่ ึกษาโดยตรง หรือรู้
เห็นเหตุการณ์ ผู้วจิ ัยเป็ นผู้สัมภาษณ์ เจาะลึกบุคคลเหล่ านั้นด้ วยตนเอง
วิธีวจิ ัยประวัติศาสตร์ บอกเล่า
1. เลือกกลุ่มเป้าหมาย 2. สั มภาษณ์ เจาะลึก 3. รวบรวมข้ อมูลเป็ น
ระบบ 4. วิเคราะห์ ข้อมูล
Sman Ngamsnit
2. การวิจยั แบบมีส่วนร่ วม(Participatory Action Research) มักนิยม
เรี ยกว่า PAR เป็ นการวิจยั เน้นบุคคลเป็ นสาคัญ เพื่อสร้างพลังอานาจ
ให้แก่ประชาชนด้วยกระบวนการพัฒนาอย่างมีส่วนร่ วมผ่านการวิจยั
เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า Action Research. ผูเ้ กี่ยวข้องกับการวิจยั
ประกอบด้วย นักวิชาการ นักวิจยั แกนนาชุมชน ร่ วมกันประเมินปัญหา
ร่ วมกันระบุปัญหา แสดงความต้องการของชุมชน หาแนวทางแก้ปัญหา
ร่ วมกันโดยใช้ทรัพยากรทั้งจากภายในและภายนอกชุมชน
Sman Ngamsnit
วัตถุประสงค์ ของการวิจัยแบบมีส่วนร่ วม Action Research
๑. เพือ่ ปลุกจิตสานึกให้ ชุมชนรู้จักบทบาทหน้ าทีข่ องตนในการมีส่วนร่ วมใน
การแก้ปัญหา
๒. เพือ่ ร่ วมกับชุ มชนในการศึกษาพัฒนา เศรษฐกิจ สั งคมและการเมือง
๓. เพือ่ ส่ งเสริมการรวมกลุ่มและทางานร่ วมกันระหว่ างนักพัฒนาและชุ มชน
Sman Ngamsnit
คุณสมบัติของนักวิจัยแบบมีส่วนร่ วม
1. Empathy มีความรู้สึกร่ วมในการพัฒนา
2. Credible น่ าเชื่อถือ
3. Friendly เป็ นมิตร จริงใจ
4. Positive ness เชื่อในการทาดี มองโลกในแง่ ดี
5. Cooperative/Helpful ให้ ความร่ วมมือช่ วยเหลือผู้อนื่
6. Good listener/Open minded เป็ นผู้ฟังทีด่ ี ใจกว้ าง
7. Respectful เคารพผู้อนื่
S.Ngamsnit
การวิจัยกรณีศึกษา (Case Study Research)
มุ่งทีบ่ รรยายเรื่องราวทีส่ นใจ เน้ นการสื บสวนและวิเคราะห์ เจาะลึกปรากฏการณ์
สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ (Broomley 1990)
วิธีการและเครื่องมือในการวิจัยกรณีศึกษา
มีวธิ ีการวิจัยและเก็บข้ อมูลหลากหลาย ทีน่ ิยมกันมี ๕ วิธี ได้ แก่
๑. การวิจัยเอกสารหรือการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ แหล่งข้ อมูลเช่ น
รายงานการประชุ ม จดหมายเหตุ วัตถุ พยานหลักฐาน ของจริง
๒. สั มภาษณ์ เดี่ยวหรือสั มภาษณ์ กลุ่ม แบบมีโครงสร้ างหรือไม่ มี
โครงสร้ าง
S.Ngamsnit
๓. สั งเกต มีการสั งเกตโดยตรง และสั งเกตแบบมีส่วนร่ วม
๔. การสารวจ มุ่งหาข้ อมูลเบือ้ งต้ น สภาพแวดล้อม เหตุการณ์
โดยใช้ แบบสารวจ แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือวิจัย
๕. การทดลอง โดยการสร้ างสถานการณ์ หรือเงื่อนไขต่ างๆขึน้ มา
ทดลอง
สมาน งามสนิท
การวิจัยอนาคต (Future Research)
เป็ นวิธีวจิ ัยที่ใช้ ในการศึกษาอนาคต( future studies) เพือ่ เป็ นเครื่องมือ
ทานาย คาดการ บ่ งชี้แนวโน้ มสิ่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต ได้ รับการ
พัฒนาขึน้ โดย Olaf Helmer และ Norman Dalkey แห่ งบริษัทแรนด์
(Rand Corporation) เมื่อ พ.ศ. 2505 ลักษณะสาคัญของอนาคตศึกษา
ประกอบด้ วย ๑. เวลา มีการระบุช่วงเวลา เช่ น ๕ ปี ๑๐ ปี ๒๕ ปี เป็ นต้ น
๒. ปัญหา ไม่ ใช่ ปัญหาในความรับผิดชอบของใครคนใดคนหนึ่ง
๓. ทฤษฎี เป็ นความพยายามที่จะใช้ และสร้ างทฤษฎีในการศึกษา
๔. เทคนิคการวิเคราะห์ ผสมผสานระหว่ างวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และ
เชิงพรรณนา
๕. การนาผลที่ได้ ไปใช้ เพือ่ ประกอบการวางแผนและการตัดสิ นใจ
เกีย่ วกับอนาคต
สมาน งามสนิท
วิธีการวิจัยอนาคต
การวิจัยอนาคตมีหลายวิธี ที่นิยมกัน มี
1. Delphi Technique เทคนิคเดลไฟ
2. Ethnographic Future Research, EFR แบบชาติพนั ธุ์วรรณา
3.
Ethnographic Delphi Future Research, EDFR ชาติพนั ธุ์วรรณาแบบเดลไฟ
4. Focus Group Technique เทคนิคโฟกัสกรุ๊ป
สมาน งามสนิท
Ethnographic Future Research, EFR การวิจัยอนาคตแบบชาติพนั ธุ์วรรณา
Dr.Robert B. Textor ศาสตราจารย์ ด้านมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยสแตน
ฝอร์ ด สหรัฐ ได้ พฒ
ั นาขึน้ มีข้นั ตอนดังนี้
๑. กาหนดเรื่องทีจ่ ะศึกษาและกาหนดกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทีจ่ ะสั มภาษณ์ อาจจะเป็ น
กลุ่มทีเ่ จาะจงหรือตามหลักสถิติ
๒. สั มภาษณ์ แบบเปิ ด ไม่ ชี้นา เป็ นแบบกึง่ โครงสร้ าง เตรียมคาถามล่วงหน้ า
๓. สั มภาษณ์ ให้ ภาพอนาคตทีเ่ ป็ นทางเลือก ๓ ภาพ คือภาพที่ดี ภาพที่ไม่ ดีและ
ภาพทีน่ ่ าจะเป็ นได้ มากทีส่ ุ ด ซึ่งมีแนวโน้ มทีผ่ ู้ให้ สัมภาษณ์ คาดว่ าจะเกิดได้ มาก
ทีส่ ุ ด
๔. ประมวลสรุปความคิดเห็นให้ ผ้ใู ห้ สัมภาษณ์ ฟังทั้งหมด เพือ่ ให้ ยนื ยันหรือ
เปลีย่ นแปลงเพิม่ เติมได้
Sman Ngamsnit
๕. วิเคราะห์ สั งเคราะห์ หาฉันทามติของแนวโน้ มแต่ ละประเด็น
๖. นาแนวโน้ มนั้นมาเขียนอนาคตภาพ(Scenario)
Ethnographic Delphi Future Research, EDFR การวิจัยอนาคตแบบชาติ
พันธุ์วรรณาด้ วยวิธีเดลไฟ
เป็ นวิธีการผนวกการวิจัยอนาคตแบบชาติพนั ธ์ วรรณากับเทคนิคเดลไฟเข้ า
ด้ วยกัน โดยนาจุดเด่ นของทั้งสองวิธีเข้ าด้ วยกัน เพือ่ ความเหมาะสมและ
ยืดหยุ่นมากขึน้
Focus Group Technique เทคนิคโฟกัสกรุ๊ป
เป็ นการใช้ ปฏิสัมพันธ์ กลุ่มเพือ่ ให้ ได้ ข้อมูลเจาะลึกซึ่งทาได้ ยากหาก
ไม่ มีปฏิสัมพันธ์ กลุ่ม Focus group discussion
Sman Ngamsnit
วิธีการเก็บข้ อมูลทางการวิจยั คุณภาพ
๑. การสั มภาษณ์ เจาะลึก (In-depth-interview)
เป็ นวิธีการเก็บข้ อมูลทางการวิจัยคุณภาพ มีลกั ษณะการสั มภาษณ์ เชิงลึก
ดังนี้
๑. ใช้ จานวนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญขนาดเล็ก ประมาณ ๑๗ คน (Smaller
samples) (Thomas T. MacMillan)
๒. ผู้ตอบให้ คาตอบทีช่ ี้ชัดในแต่ ละประเด็น (specific answer)
๓.สั มภาษณ์ เป็ นรายบุคคล (personal interview)
๔. อาจกลับไปสั มภาษณ์ เพิม่ เติมอีกได้ แต่ ควรให้ เสร็จในครั้ งเดียว
Sman Ngamsnit
ขั้นตอนการสั มภาษณ์ เจาะลึก
๑. ขั้นตอนก่อนสั มภาษณ์ (pre-interview)
๑.๑ เลือกกลุ่มตัวอย่ างทีจ่ ะสั มภาษณ์ นัดหมาย ให้ ประเด็นคาถาม
๑.๒ เตรียมอุปกรณ์ บันทึกข้ อมูล เครื่องบันทึกเสี ยง กล้ องถ่ ายรูป
อุปกรณ์ การจดบันทึก
๑.๓ แต่ งกายให้ สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ
๒. ขั้นตอนการสั มภาษณ์ (Interview)
๒.๑ แนะนาตนเอง ให้ ความสาคัญแก่ผู้ให้ สัมภาษณ์ อ่อนน้ อม ถ่อมตน
๒.๒ บอกวัตถุประสงค์ ในการสั มภาษณ์ ให้ ชัดเจน บอกประโยชน์ ที่จะ
ได้ รับจากการให้ สัมภาษณ์
สมาน งามสนิท
๒.๓ สร้ างบรรยากาศเป็ นกันเอง ให้ ความมั่นใจว่ าข้ อมูลจะเก็บเป็ นความลับ ใช้
ในการศึกษาเท่ านั้น
๒.๔ ถ้ ามีการบันทึกเสี ยงหรือถ่ ายภาพ ถ่ านวีดิโอ ต้ องแจ้ งให้ ผู้ให้ สัมภาษณ์
รับทราบและต้ องได้ รับอนุญาตก่อน
๓. ขั้นปิ ดการสั มภาษณ์ (post interview)
๓.๑ ตรวจสอบคาถามว่ าครบถ้ วนหรือไม่ ตรวจสอบเครื่อง
บันทึกเสี ยงว่ าทางานหรือไม่
๓.๒ กล่าวขอบคุณ แสดงมารยาททีร่ ู้สึกซาบซึ้งในความร่ วมมือของ
ผู้ให้ สัมภาษณ์
๓.๓ มอบของทีร่ ะลึกหรือค่ าตอบแทนทีเ่ หมาะสม
สมาน งามสนิท
การสนทนากลุ่ม การเลือกกลุ่มตัวอย่ าง Focus group discussion
๑. เลือกกลุ่มตัวอย่ างโดยไม่ ใช้ ทฤษฎีความน่ าจะเป็ น เป็ นการเลือกแบบ
เจาะจง (purposive sampling) เช่ นกาหนดสมาชิกในกลุ่ม ๑๐ คน ก็แบ่ งเป็ น
ชาย ๕ คน เป็ นหญิง ๕ คน หรือ ผู้นิยมพรรคพลังประชาชน ๔ คน พรรค
ประชาธิปัตย์ ๔ คน ไม่ สังกัดพรรคอีก ๒ คน หรืออาจจะเลือกจาก การศึกษา
รายได้ อาชีพ ขึน้ อยู่กบั หัวข้ อทีศ่ ึกษา ไม่ ควรเลือกซ้ากับกลุ่มทีเ่ คยเลือกแล้ว
Snowball sampling เป็ นการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ที่หาได้ยาก เพียงจานวน
น้อย เมื่อสัมภาษณ์คนที่หนึ่งเสร็ จแล้ว ขอให้ท่านแนะนาต่อว่า เรื่ องนี้ ควร
จะถามใครต่อดี แล้วตามไปถามคนที่หนึ่งแนะนาในเรื่ องเดียวกัน และทา
อย่างนี้ไปจนกว่าคาตอบจะนิ่งหรื อเป็ นแนวเดียวกัน (Earl Babbie 2001:180)
สมาน งามสนิท
๒. Conduct the session ดาเนินการสนทนากลุ่ม ให้ มีผู้ดาเนินการสนทนา
นาการสนทนา ควบคุมไม่ ให้ สมาชิกคนใดคนหนึ่งพูดมากกว่ าคนอืน่ ให้ ทุก
คนแสดงความคิดเห็นเท่ าๆกัน ถ้ ามีการบันทึกเสี ยง ต้ องบอกกลุ่มเพือ่ ขอ
อนุญาต
๓. Analyze the data and prepare a summary วิเคราะห์ ข้อมูลและ
รายงานสรุป
การเตรียมการสนทนากลุ่ม
เตรียม ค่ าตอบแทน เตรียมสถานที่ เตรียมอาหาร ที่พกั สาหรับกลุ่ม
สมาน งามสนิท
การวิเคราะห์ ข้อมูลการวิจัยคุณภาพ
เมื่อได้ ข้อมูลมาแล้ว ให้ ตรวจสอบข้ อมูล เพือ่ ลดปริมาณ ถ้ าจาเป็ น จากนั้น
จัดทาเรื่องที่ศึกษาให้ เป็ นระบบ(systemize) จัดทาระบบให้ เป็ น Data และ
จัดทาดาต้ าให้ เป็ นปริมาณ Quantity เพือ่ การอภิปรายเชิงปริมาณประกอบ
ความน่ าเชื่อถือและความเที่ยงตรงของการวิจัย(Reliability and Validity)
1.Reliability ความน่ าเชื่อถือ ครอบคลุม ความคงที่ ความเหมือนเดิม
และความแม่ นยา
2. Validity ความเทีย่ งตรง ครอบคลุม ความเทีย่ งตรงของข้ อมูล
ความเทีย่ งตรงของความหมาย ความเทีย่ งตรงตามการสุ่ ม ความ
เทีย่ งตรงตามวิธีการ และความเที่ยงตรงตามทฤษฎี
สมาน งามสนิท
Triangulation การตรวจสอบสามด้ าน
ได้ แก่การตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูลจาก ๓ แหล่ง ได้ แก่ การสั งเกต
ศึกษาเอกสาร และสั มภาษณ์ (David Silverman,p.156)
Functionalism looks at functions of social institution
Behaviorism defines all behavior in term of ‘stimulus’ and ‘response’
Symbolic interactionism focuses on how we attach symbolic meanings
to interpersonal relations
Sman Ngamsnit
แหล่งข้อมูลในการมองปัญหา
ปรโตโฆสะ External
source
โยนิโสมนสิ การ internal
source
Bird eye view
Sman Ngamsnit
ระดับต่างๆของการอธิบายความจริ ง
4. ปัญญา Wisdom
3. ความรู้
Knowledge
2. สารสนเทศ Information
1. ข้อมูล
Data (Datum)
ระดับขององค์ความรู้
Body of Knowledge
4. ความคิดแม่แบบ/กระบวนทัศน์/ภูมิปัญญารู้แจ้ง
Paradigm*/Wisdom
3. 3.
ทฤษฎี
ทฤษฎี
Theory
2.แบบจาลอง/กรอบความคิด Model/Construct
1. สมมติฐาน Hypothesis
*Paradigm is a clear and typical example of
something, an example or model for something
which explains it or shows how it can be produced.
1. สมมติฐาน คือคาอธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างสองสิ่ งหรื อหลายสิ่ ง โดยมีเงื่อนไข
เรื่ องเวลา สถานที่เข้ามาเกี่ยวข้อง (time and space bound) คือการคาดเดาที่เป็ นระบบ
(systematic guess)
2.แบบจาลอง กรอบความคิด ข้ อสั นนิษฐาน ได้แก่สมมติฐานที่ผา่ นการตรวจสอบและ
พิสูจน์มาหลายครั้ง ในหลายเวลาและสถานที่ จนสามารถกล่าวได้วา่ ความสัมพันธ์ของ
สองสิ่ งที่ศึกษานั้นเป็ นความจริ งในทุกเงื่อนไข เช่นพระจันทร์ ไม่วา่ จะอยูใ่ นที่ใดๆ มี
ข้างขึ้นข้างแรม มีความสัมพันธ์กบั น้ าทะเลขึ้น-ลง
3. ทฤษฎี คือคาอธิ บายที่สูงขึ้นกว่าแบบจาลอง แบบจาลองอธิ บายได้ในระดับอะไร
สัมพันธ์กบั อะไร ระดับ What ส่ วนทฤษฎีอธิ บายได้ในระดับสาเหตุ Why และ
ความสัมพันธ์จะดาเนินไปได้อย่างไร How
4. ภูมปิ ัญญารู้ แจ้ ง เป็ นองค์ความรู ้ระดับสู งที่เกิดจากทฤษฎี ได้ผา่ นการเวลาพิสูจน์มา
นานจนกลายเป็ นแม่บททางความคิด ความรู ้ยอ่ ยอื่นๆแตกตัวออกจากความรู ้แม่บทนี้
เช่นเรื่ องระบบโลกของเซอร์ ไอแซก นิวตัน หรื อ เรื่ องปฏิจจสมุปปบาท ที่กล่าวถึง
สรรพสิ่ งสัมพันธ์กนั ของพระพุทธเจ้า
องค์ประกอบของการวิจยั ที่นกั วิจยั ต้องมี
1. ต้องมีแนวคิดแม่แบบ Conceptual Model /paradigm
2.ต้องมีหลักหรื อระเบียบการศึกษา (methodology) จะใช้
วิธีการใดให้ได้ความจริ ง
3. ต้องมีวิธีหรื อเทคนิคศึกษา (method) ทา อย่างไรให้ได้ความจริ ง
4. ต้องมีเครื่ องมือในการศึกษา (artifacts) ต้องมีประเด็น
ปัญหา วัตถุดิบและมีเครื่ องมือในการเก็บรวบรวมความจริ ง
อ้างอิง: Earl Babbie, The Practice of Social Research, 9th Edition
David Silverman, Doing Qualitative Research
John W. Creswell, Research Design: Qualitative & Quantitative Approach
Etc.