“แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ” ( Indus Civilization ) อาจแบ่งยุคสมัยทาง

Download Report

Transcript “แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ” ( Indus Civilization ) อาจแบ่งยุคสมัยทาง

อารยธรรมอินเดียโบราณ
• อินเดีย เป็ นต้ นสายธารทางวัฒนธรรมของชาติตะวันออก
( ชนชาติในทวีปเอเชีย ) หลายชาติ เป็ นแหล่ งอารยธรรมที่
เก่ าแก่ แห่ งหนึ่งของโลก บางทีเรียกว่ า “แหล่ งอารยธรรม
ลุ่มแม่ นา้ สิ นธุ” ( Indus Civilization )
อาจแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ ของอินเดียได้ ดงั นี้
แบ่ งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ ของอินเดียได้ ดงั นี้
• 1. สมัยก่ อนประวัตศิ าสตร์
• 2. สมัยประวัตศิ าสตร์
• สมัยก่ อนประวัตศิ าสตร์ ยุคโลหะของอินเดียเริ่มเมื่อผู้คน
รู้จักใช้ ทองแดงและสาริด เมื่อประมาณ2,500 ปี ก่ อน
คริสต์ ศักราช และรู้จักใช้ เหล็กในเวลาต่ อมา พบหลักฐาน
เป็ นซากเมืองโบราณ 2 แห่ ง ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่ นา้
สินธุ คือ
(1) เมืองโมเฮนโจ ดาโร ( Mohenjo Daro ) ทาง
ตอนใต้ ของประเทศปากีสถาน
(2) เมืองฮารับปา ( Harappa ) ในแคว้ นปั น
จาป ประเทศปากีสถานในปั จจุบัน
• 2. สมัยประวัตศิ าสตร์ อินเดียเข้ าสู่ “สมัย
ประวัตศิ าสตร์ ” เมื่อมีการประดิษฐ์ ตัวอักษรขึน้ ใช้
ประมาณ 700ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช โดยชนเผ่ าอินโด
– อารยัน ( Indo – Aryan ) ซึ่งตัง้ ถิ่นฐานใน
บริเวณลุ่มแม่ นา้ คงคา
สมัยประวัตศิ าสตร์ ของอินเดียแบ่ งเป็ น 3 ยุค ดังนี ้
• (1) ประวัตศิ าสตร์ สมัยโบราณ เริ่มตัง้ แต่ การถือกาเนิดตัวอักษร
อินเดียโบราณ ที่เรียกว่ า “บรามิ ลิปิ” ( Brahmi lipi ) เมื่อ
ประมาณ 700 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช และสิน้ สุดในราว
คริสต์ ศตวรรษที่ 6 ซึ่งตรงกับสมัยราชวงศ์ คุปตะ ( Gupta )
เป็ นยุคสมัยที่ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู และพระพุทธศาสนาได้ ถือ
กาเนิดขึน้ แล้ ว
• (2) ประวัตศิ าสตร์ สมัยกลาง เริ่มตัง้ แต่ เมื่อราชวงศ์ คุปะสิน้ สุดลง
ประมาณคริสต์ ศตวรรษที่ 6 จนถึงต้ นคริสต์ ศตวรรษที่ 16 เมื่อ
กษัตริย์มุสลิมสถาปนาราชวงศ์ โมกุล ( Mughul ) และเข้ า
ปกครองอินเดีย
(3) ประวัตศิ าสตร์ สมัยใหม่ เริ่มตัง้ แต่ ต้นราชวงศ์ โมกุล ในราว
คริสต์ ศตวรรษที่ 16 จนถึงการได้ รับเอกราชจากอังกฤษ ในปี
ค.ศ. 1947
สมัยในอารยธรรมอินเดียโบราณ
• 1. สมัยอารยธรรมลุ่มแม่ นา้ สินธุ ( ประมาณ 2,500-1,500 ปี ก่ อน
คริสต์ ศักราช ) ถือว่ าเป็ นสมัยอารยธรรม “กึ่งก่ อนประวัตศิ าสตร์ ” เพราะมี
การค้ นพบหลักฐานจารึกเป็ นตัวอักษรโบราณแล้ วแต่ ยังไม่ มีผ้ ูใดอ่ านออก
และไม่ แน่ ใจว่ าเป็ นตัวอักษรหรื อภาษาเขียนจริงหรื อไม่ ศูนย์ กลางความ
เจริญอยู่ท่ เี มืองโมเฮนโจ – ดาโร และเมืองฮารั ปปา ริมฝั่ งแม่ นา้ สินธุ
ประเทศปากีสถานในปั จจุบัน สันนิษฐานว่ าเป็ นอารยธรรมของชนพืน้ เมือง
เดิม ที่เรี ยกว่ า “ทราวิฑ” หรื อพวกดราวิเดียน ( Dravidian )
• 2. สมัยพระเวท ( ประมาณ 1,500-600 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช
) เป็ นอารยธรรมของชนเผ่ าอินโด-อารยัน (IndoAryan ) ซึ่ง อพยพมาจากเอเชียกลาง เข้ ามาตัง้ ถิ่นฐาน
ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่ นา้ สินธุและคงคาโดยขับไล่ ชนพืน้
เมืองทราวิฑให้ ถอยร่ นลงไปทางตอนใต้ ของอินเดีย
สมัยพระเวทแสดงถึงความเจริญรุ่ งเรืองของศาสนา
พราหมณ์ หลักฐานที่ทาให้ ทราบเรื่องราวของยุคสมัยนี ้
คือ “คัมภีร์พระเวท” นอกจากนีย้ ังมีบทประพันธ์ มหา
กาพย์ ท่ ยี ่ งิ ใหญ่ อีก 2 เรื่อง คือ มหากาพย์ รามายณะและ
มหาภารตะ บางทีจงึ เรียกว่ าเป็ นยุคมหากาพย์
• 3. สมัยพุทธกาล หรือสมัยก่ อนราชวงศ์ เมารยะ ( Maurya ) ประมาณ 600-300 ปี
ก่ อนคริสต์ ศักราช ) เป็ นช่ วงที่อนิ เดียถือกาเนิดศาสนาที่สาคัญ 2 ศาสนา คือ ศาสนา
พุทธและศาสนาเชน
• 4. สมัยจักรวรรดิเมารยะ ( Maurya ) ประมาณ 321-184 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช พระ
เจ้ าจันทรคุปต์ ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ เมารยะได้ รวบรวมแว่ นแคว้ นในดินแดนชมพู ทวีป
ให้ เป็ นปึ กแผ่ นภายใต้ จักรวรรดิท่ ยี ่ งิ ใหญ่ เป็ นครัง้ แรกของอินเดีย
สมัยราชวงศ์ เมารยะ พระพุทธศาสนาได้ รับการอุปถัมภ์ ให้ เจริญรุ่ งเรือง โดยเฉพาะใน
สมัยพระเจ้ าอโศกมหาราช (Asoka ) ได้ เผยแพร่ พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนทัง้
ใกล้ และไกล รวมทัง้ ดินแดนในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเผยแพร่ เข้ าสู่
แผ่ นดินไทยในยุคสมัยที่ยังเป็ นอาณาจักรทวารวดี
• 5. สมัยราชวงศ์ กุษาณะ ( ประมาณ 200 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช – ค.ศ.320 )
พวกกุษาณะ (Kushana )เป็ น ชนต่ างชาติท่ ีเข้ ามารุ กรานและตัง้
อาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ กษัตริย์ท่ ีย่งิ ใหญ่ คือ พระเจ้ า
กนิษกะ รั ชสมัยของพระองค์ อนิ เดียมีความเจริญรุ่ งเรื องทางด้ านศิลป
วิทยาการแขนงต่ าง ๆ โดยเฉพาะด้ านการแพทย์
นอก จากนัน้ ยังทรงอุปถัมภ์ พระพุทธศาสนา ( นิกายมหายาน ) ให้
เจริญรุ่ งเรื อง โดยจัดส่ งสมณทูตไปเผยแพร่ พระศาสนายังจีนและทิเบต มี
การสร้ างพระพุทธรู ปที่มีศลิ ปะงดงาม และสร้ างเจดีย์ใหญ่ ท่ ีเมืองเปชะวาร์
• 6. สมัยจักรวรรดิคุปตะ ( Gupta ) ประมาณ ค.ศ.320-550 พระ
เจ้ าจันทรคุปต์ ท่ ี 1 ต้ นราชวงศ์ คุปตะได้ ทรงรวบรวมอินเดียให้ เป็ น
จักรวรรดิอีกครัง้ หนึ่ง ได้ ช่ ือว่ าเป็ นยุคทองของอินเดีย มีความ
เจริญรุ่ งเรืองในทุก ๆ ด้ าน ทัง้ ด้ านศิลปวัฒนธรรม การเมือง การ
ปกครอง ปรัชญาและศาสนา ตลอดจนการค้ าขายกับต่ างประเทศ
• 7. สมัยหลังราชวงศ์ คุปตะ หรือยุคกลางของอินเดีย (
ค.ศ.550 – 1206 ) เป็ นยุคที่จักรวรรดิแตกแยกเป็ นแคว้ น
หรืออาณาจักรจานวนมาก ต่ างมีราชวงศ์ แยกปกครอง
กันเอง
• 8. สมัยสุลต่ านแห่ งเดลฮี หรืออาณาจักรเดลฮี ( ค.ศ.
1206-1526 ) เป็ นยุคที่พวกมุสลิมเข้ ามาปกครองอินเดีย มี
สุลต่ านเป็ นผู้ปกครองที่เมืองเดลฮี
• 9. สมัยจักรวรรดิโมกุล ( Mughul ) ประมาณ ค.ศ. 1526 – 1858 พระ
เจ้ าบาบูร์ ผู้ก่อตัง้ ราชวงศ์ โมกุลได้ รวบรวมอินเดียให้ เป็ นปึ กแผ่ นอีกครั ง้
หนึ่ง ได้ ช่ ือว่ าเป็ นจักรวรรดิอสิ ลามและเป็ นราชวงศ์ สุดท้ ายของอินเดีย โดย
อินเดียตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษในปี ค.ศ. 1858กษัตริย์ราชวงศ์ โมกุล
ที่ย่งิ ใหญ่ คือ พระเจ้ าอักบาร์ มหาราช ( Akbar ) ทรงทะนุบารุ งอินเดียให้
มีความเจริญรุ่ งเรื องในทุก ๆ ด้ าน และในสมัยของชาห์ เจฮัน ( Shah
Jahan ) ทรงสร้ าง “ทัชมาฮัล” ( Taj Mahal ) ซึ่งเป็ นอนุสรณ์ แห่ ง
ความรั ก เป็ นงานสถาปั ตยกรรมที่ผสมผสานศิลปะอินเดียและเปอร์ เซียที่มี
ความงดงามยิ่ง
วัฒนธรรมอินเดีย
• 1. ระบบวรรณะ
ตัง้ แต่ สมัยโบราณวรรณะที่สาคัญมี 4 วรรณะ คือ
1) วรรณะพราหมณ์ ได้ แก่ นักบวช ปั จจุบันอาจตีความไปถึงนักวิชาการ
นักวิทยาศาสตร์ และนักการเมือง
2) วรรณะกษัตริย์ ได้ แก่ นักรบ ซึ่งอาจรวมไปถึงข้ าราชการ
3) วรรณะแพศย์ ได้ แก่ พ่ อค้ า นักธุรกิจ
4) วรรณะ ศูทร ได้ แก่ ผู้ใช้ แรงงาน ชาวนา กรรมกร และคนยากจน ซึ่งสามวรรณะแรก
เป็ นชนชัน้ ผู้ปกครอง วรรณะสุดท้ ายเป็ นผู้ถูกปกครองแม้ ว่าวรรณะเหล่ านีเ้ ป็ นที่เข้ าใจ
ทั่วไปใน อินเดีย แต่ ยังมีการแบ่ งวรรณะต่าสุดในในสังคมฮินดู เรี ยกกันว่ าเป็ นกลุ่มคน
อันมิพงึ แตะต้ อง คือ จัณฑาล หรือเรียกชื่อใหม่ ว่า ดาลิต
2. ปรัชญาและลัทธิศาสนาของสั งคมอินเดีย
• หมายถึงปรั ชญาทุกสานักหรื อทุกระบบที่เกิดขึน้ ใน
อินเดีย หรื อที่คิดสร้ างสรรค์ ขนึ ้ ไว้ โดยศาสดาและนัก
คิดที่เคยมีชีวติ อยู่หรื อกาลังมีชีวติ อยู่ในอินเดียเช่ น
พุทธปรั ชญา ปรั ชญาเชน เป็ นต้ น
3. เทพเจ้ าของอินเดีย
• จากหลักฐานโบราณที่เป็ นจารึกบนแผ่ นดินเหนียวอายุราว 1,400 ปี ก่ อน
คริสตกาล เรี ยกว่ าแผ่ นจารึก โบกาซ คุย หรื อจารึก เทเรี ย ซึ่งขุดพบที่
ตาบลดังกล่ าว ของดินแดนแคปปาโดเซีย ในตุรกี จารึกนี ้ ได้ ออกนามเทพ
เจ้ าเป็ นพยานถึง 4 องค์ นั่นก็คือ พระอินทร์ (lndra) เทพเจ้ าแห่ งพลัง
มิทระ (Mitra) พระวรุ ณ (Varuna)และ นาสัตย์ (Nasatya) คือ พระ
นาสัตย์ อัศวิน (Asvins)
4. การแต่ งกาย
• ชาวอินเดียโบราณ จะแต่ งตัวคล้ ายของไทยสมัย
เชียงแสน ต่ อมาสตรี นิยมสวมเสือ้ แขนยาว แบบชาว
จีน แต่ ตัวสัน้ เห็นหน้ าท้ อง นุ่งกางเกงขาลีบช้ างใน
ใช้ ผ้าบาง ๆ เช่ น ฝ้ายลินิน มัสลิน อย่ างดีห่มอีกชิน้
ถ้ าเป็ นชาวพืน้ เมืองจะนุ่งสาหรี่ หรื อกระโปรงจีบ
ดอกสีแดง หรื อนุ่งกางเกงขาว ขายาว ส่ วนชายนุ่ง
ผ้ าขาวใส่ เสือ้ แขนยาว ไว้ หนวดเครา โพกผ้ า
การแต่ งกาย
5. สถาปัตยกรรม
• สถาปั ตยกรรม อินเดียได้ รับอิทธิพลมาจากเปอร์ เซีย
(ลานด้ านใน ประตูโค้ ง) ที่เมืองหลวงใหม่ ของพระ
เจ้ าอัคบาร์ คือ ฟาเตห์ ปูร์สิครี ใกล้ เมืองอัครา แสดง
สถาปั ตยกรรมแบบโมกุลแท้ ในการสร้ างราชวัง
สุเหร่ า เช่ นเดียวกับหลุมศพของพระเจ้ าอัคบาร์ ท่ สี ี
กันดารา และ วัดโก-แมนดาล ที่โอไดปูร์
• งานที่เด่ นที่สุด คือ ทัชมาฮัล ประดับด้ วยหินมีค่า
บนยอดเป็ นหินสีขาว เส้ นทุกเส้ นเข้ ากันได้ อย่ าง
งดงามกับสวน และนา้ พุ นับเป็ นสถาปั ตยกรรมที่
งดงามที่สุดแห่ งหนึ่งในโลก นอกจากนัน้ มีสุเหร่ ามุก
ของเมืองอัครา เกิดนิกายขึน้ หลายนิกายในหมุ่คน
ฮินดู เช่ น ตันตริก ซิก มาดวา ฯลฯ
• นอกจากนีย้ ังมีซากเมืองฮารั บปาและโมเฮนโจดาโร
ทาให้ เห็นว่ ามีการวางผังเมืองอย่ างดี มีสาธาร- ณู
ประโภคอานวยความสะดวกหลายอย่ าง เช่ น ถนน
บ่ อนา้ ประปา ซึ่งเน้ นประโยชน์ ใช้ สอยมากกว่ า
ความสวยงาม ซาก พระราชวังที่เมืองปาฏลีบุตรและ
ตักศิลา สถูปและเสาแปดเหลี่ยม ที่สาคัญคือ สถูป
เมืองสาญจี (สมัยราชวงศ์ โมริยะ) และสุสานทัชมา
ฮาล สร้ างด้ วยหินอ่ อน เป็ นการผสมระหว่ างศิลปะ
อินเดียและเปอร์ เชีย
สุ สานทัชมาฮาล
สถูปเมืองสาญจี (สมัยราชวงศ์ โมริยะ)
6. ประติมากรรม
• เกี่ยวข้ องกับศาสนา ได้ แก่ พระพุทธรู ปแบบคันธา
ระ พระพุทธรู ปแบบมถุรา พระพุทธรู ปแบบอมราวดี
ภาพสลักนูนที่มหาพลิปุลัม ได้ รับการยกย่ องว่ า
มหัศจรรย์
7. นาฎศิลป์ และสังคีตศิลป์
• เกี่ยวกับการฟ้อนราเป็ นส่ วนหนึ่งของพิธีกรรมเพื่อบูชาเทพเจ้ า
ตามคัมภีร์พระเวท ส่ วนบทสวดสรรเสริญเทพเจ้ าทัง้ หลาย ถือ
เป็ นแบบแผนการร้ องที่เก่ าแก่ ท่ สี ุดในสังคีตศิลป์ของอินเดีย
แบ่ งเป็ นดนตรีศาสนา ดนตรีในราชสานักและดนตรีท้องถิ่น
เครื่องดนตรีสาคัญ คือ วีณา หรือพิณ ใช้ สาหรับดีด เวณุหรือขลุ่ย
และกลอง
8. วรรณกรรม
• อินเดียที่มีอิทธิพล ได้ แก่ รามายณะ มหาภารตะ
คัมภีร์ปุราณะและเรื่ องอื่นๆ ที่เกี่ยวกับธรรมเนียม
กษัตริย์ การสืบราชวงศ์ ตามแบบธรรมเนียมโบราณ
ของราชวงศ์ ในลุ่มแม่ นา้ คงคา
รามาวตาร หรือ รามจันทราวตาร
หรือพระรามจากมหากาพย์
รามายณะ ชาวไทยรู้ จักกันในชื่อ
เรื่องรามเกียรติ์
ทศกัณฐ์ หรืออสู รราพณ์
ศัตรู ของพระราม
สมาชิกกลุ่ม
•
•
•
•
•
•
•
•
1. นายบัณฑิต ทิใจ
2. นายฉัตรมงคล ครุฑแสง
3. น.ส. นิสา ถนอมสุข
4. น.ส. สาธิดา ปั ญจะ
5. น.ส. กาญจนาพร ผึง่ ดี
6. น.ส. อารยา อินสุวรรณ
7. น.ส. ณัฐสุดา วงษ์ ใหญ่
8. น.ส. กุลธิดา ฟั กไพโรจน์
เลขที่ 11
เลขที่ 26
เลขที่ 32
เลขที่ 35
เลขที่ 37
เลขที่ 42
เลขที่ 44
เลขที่ 45