Transcript 3 ทวารวดี
พระพุทธศาสนาแห่ งทวารวดี (พศต. 11-15)
1
1.
2.
3.
4.
อาณาจักรนี้ เจริ ญอย่างรวดเร็ ว เพราะเคยเป็ นศูนย์กลางความเจริ ญรุ่ งเรื องแห่งแคว้น
สุ วรรณภูมิมาก่อน
บทบาทแห่งการเมือง ได้ปรากฎขึ้นมาราวพศต. 11-15 ส่ วนศิลปะและวัฒนธรรมมี
อิทธิพลต่อมาถึงอาณาจักรรุ่ นหลังด้วย
ตามจดหมายเหตุของสมณะเฮี้ยนจัง เรี ยกว่า อาณาจักรตุยล้ อกัวตี่ ตรงกับคาจารึ ก
เรี ยกว่า ทวารกะเดย ( ชื่อเมืองหนึ่งในกัมพูชา )
เชื่อกันว่าชนชาติแห่งอาณาจักรทวารวดีคงเป็ นมอญ หรื อกลุ่มชนที่มีลกั ษณะ
วัฒนธรรมคล้ายมอญโบราณ
2
5. การจัดการปกครองแห่งอาณาจักรนี้น่าจะประกอบด้วยรัฐเล็ก ๆ หลายรัฐรวมกัน และ
อาจมีศูนย์การปกครองอยูท่ ี่เมืองอู่ทอง นครปฐม สุ พรรณบุรีหรื ออยุธยา
6. ได้แผ่อิทธิพลไปยังเมืองครหิ (อ.ไชยา) เมืองละโว้ และเมืองหริ ภุญชัย (ลาพูน)
7. อาณาจักรทวารวดีเสื่ อมลง (พศต. 15-18) เพราะ
- อาณาจักรศรี วิชยั
- อาณาจักรละโว้
- กองทัพของพม่าสมัยอโนรธามังช่อ ซึ่ งมีผลกระทบมาถึงภาคกลางของลุ่มแม่น้ า
เจ้าพระยา
ความเป็ นไปแห่ งพระพุทธศาสนา
3
1.
2.
3.
4.
พระพุทธศาสนายุคทวารวดีมีท้ งั นิกายเถรวาทและมหายาน แต่เถรวาทน่าจะมีอทิ ธิพล
และบทบาทมากกว่ามหายาน
ทวารวดีรักษาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท “แบบพระเจ้าอโศกมหาราช” ไว้อย่าง
เคร่ งครัด ( โดยสื บมาจากพระมหากัสสปะที่ทาการสังคายนาครั้งที่ 1 )
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในยุคนี้ได้แผ่อิทธิพลไปดินแดนอื่นๆ ได้ไกลกว่ายุค
ใกล้เคียงกัน โดยเฉพาะภาคเหนือ อีสาน และภาคกลางของประเทศไทยในปั จจุบนั
ได้พบพุทธศิลป์ ในยุคนี้มากมายทั้งภาคเหนือ ใต้ และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ส่ วน
ใหญ่ได้แบบมาจากศิลปะคุปตะของอินเดีย
4
**พุทธศิลป์ แบบคุปตะ : พุทธรู ปนั้นจะมีลกั ษณะคือ จีวรไม่นิยมทาเป็ นริ้ วแต่ทาเป็ นแนบ
พระวรกายเพื่อแสดงถึงความรู ้สึกถึงอารมณ์
5. หลักฐาน
1. พระพิมพ์ พบอยูบ่ ริ เวณเมืองอู่ทองเก่า นครปฐม นครชัยศรี ราชบุรี
2. พระพุทธรู ปเสมาธรรมจักรทาด้วยศิลาในเมืองกนกนคร ส่ วนใบเสมาหินพบทาง
ภาคอีสานทัว่ ๆ ไป
3. สถูปที่วดั กู่กดู ณ เมืองลาพูน
4. ซากสถูปที่วดั พระเมรุ (อยุธยา)
5
5. พุทธรู ปศิลาห้อยพระบาทขนาดใหญ่กว่าคนมี 4 องค์
อยูท่ ี่นครปฐม
1 องค์
อยูท่ ี่อยุธยา
3 องค์
พุทธรู ปปางพระวรมุทระ อยูท่ ี่พิพิภณั ฑ์สถานแห่งชาติ
6. ศิลาจารึ กคาถา “ เย ธมฺ มา ” ที่ถ้ าเขางู (ราชบุรี) ซึ่งเป็ นภาษาบาลีอกั ษรคฤนถ์
7. ในพศต. 12 พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทได้เผยแผ่ไปทางภาคเหนือของไทย โดยการนาของพระ
นางจามเทวี ผูซ้ ่ ึงเป็ นราชธิดาแห่งละโว้
8. เชื่อว่าพระเครื่ องสกุลลาพูนที่เรี ยกว่า พระรอด ก็เกิดในยุคนี้
6
สรุ ป
1. พระพุทธศาสนาในยุคนี้ ได้กลายเป็ นรากฐานอันมัน่ คงของรัฐพุทธ ได้ผสมผสาน
กลายเป็ นส่ วนหนึ่งของวิถีชีวิตความเป็ นอยูข่ องคนในยุคนี้
2. พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ไปทั้งระดับรัฐและประชาชน
3. เกิดประเพณี ต่าง ๆ ต่อเนื่องกันถึงปั จจุบนั เช่น การบวช การเผาศพ ฯลฯ
ศิลปะทวารวดีแบ่ งออกเป็ น 3 ยุค
7
1. ทวารวดีตอนต้น ส่ วนใหญ่สร้างด้วยหิ นที่มีขนาดใหญ่ มีลกั ษณะคล้ายพระพุทธรู ป
แบบคุปตะอยูม่ าก จีวรเรี ยบบางแนบติดกับองค์พระ พระอังสากว้าง พระพักตร์
ค่อนข้างยาว และกลมกว่ารุ่ นหลัง พระศกทาเป็ นเม็ดขนาดใหญ่ พระเกตุมาลาเป็ นต่อม
ลักษณะนูน และสั้นพระนลาฏแคบไม่เรี ยบเสมอกัน พระเนตรเหลือบต่าลง หลังพระ
เนตรอูม จนได้ระดับกับพระนลาฏ พระขนงโก่งยาวและจรดกันที่สนั กลางพระนาสิ กที่
เรี ยกว่า คิ้วต่อ พระนาสิ กก้านใหญ่ ริ มฝี พระโอษฐ์หนา ลักษณะทัว่ ไปกระด้าง ไม่สู้ได้
สัดส่ วนเท่าใดนัก มักทาพระหัตถ์และพระบาทใหญ่ ไม่สมกับองค์พระ ในส่ วนพระ
เศียรเท่านั้นที่ยงั รักษาศิลปะของคุปตะไว้
8
2. ทวารวดีตอนกลาง ฝี มือช่างประณี ตขึ้นกว่ารุ่ นแรก แสดงออกถึงอิทธิพลของชาวมอญ
ห่างไกลจากฝี มือแบบคุปตะมากขึ้น เช่น พระพักตร์ลกั ษณะแบนกว้างและสั้น พระโอษฐ์
กว้างและแบะ เห็นได้ชดั พระเนตรโปน ดูท่าเคร่ งเครี ยด มีท้ งั ที่สร้างด้วยหิ นแข็งมีขนาด
ใหญ่โต ทั้งแบบลอยองค์และจาหลักนูน ส่ วนที่เป็ นสาริ ดจะมีขนาดเล็กประมาณครึ่ งฟุต
ทั้งปางสมาธิ ปางมารวิชยั และพระสาริ ดยืน
3. ทวารวดีตอนปลาย เป็ นลักษณะผสมศิลปะศรี วิชยั และศิลปะอูท่ อง ไม่ค่อยปรากฏพบ
พระพุทธรู ปสมัยทวารวดีรุ่นนี้มากนัก นอกจากทางภาคเหนือที่ลาพูน และเชียงใหม่
9
ศิลปะแบบทวารวดี
ทาเป็ นพระพุทธรู ปปางมารวิชยั มีรูปพระอินทร์เป่ าสังข์ พระพรหมกั้นฉัตร (เป็ น
ลักษณะแรกที่คน้ พบ โดยอาจจะหมายถึงตอนพระพุทธเจ้าเสด็จลงจากดาวดึงส์
ภายหลังเสด็จขึ้นไปโปรดพระพุทธมารดาที่ดาวดึงส์กไ็ ด้ )
ศิลปะแบบทวารวดี
10