สภาพอากาศและปรากฏการณ์ปิดบัง

Download Report

Transcript สภาพอากาศและปรากฏการณ์ปิดบัง

สภาพอากาศและปรากฏการณ์ปิดบัง
( ที่ตรวจพบบ่อยๆ )
สภาพอากาศและปรากฏการณ์ปิดบัง
การประเมินค่าน้าฟ้ า
การรายงานน้าฟ้ าเมื่อเกิดขึน้ ณ จุดตรวจอากาศ
ถ้าน้าฟ้ าไม่เกิดขึน้ ที่จดุ ตรวจ แต่เกิดในระยะ 10 ไมล์
ของจุดตรวจ(>0ไมล์หรือ>0เมตร ถึง10ไมล์16
กิโลเมตร)
จะเข้ารหัสใน COL 5 เป็ นฝนที่เกิดบริเวณใกล้เคียง [ VCSH ]
คุณลักษณะของน้าฟ้ า
กรณี ที่เกิดต่อเนื่ อง
โดยปกติมกั จะเกิดร่วมกับเมฆนิมโบสเตรตัส
และออลโตสเตรตัส
แต่อาจเกิดจากเมฆสเตรโตรคิวมูลสั ในกรณี
ฝนซู่ มักเกิดรวมกับเมฆก้อน
การตกๆหยุดๆ เมื่อน้าฟ้ าหยุดและเริ่มตกอย่างน้ อย 1 ครัง้
ภายใน 1 ชัวโมง
่
ให้พิจารณาเป็ นการตกๆหยุดๆ
ชนิดของฝน
1.ฝนละออง (DRIZZLE = DZ) เป็ นรูปแบบของน้าฟ้ าชนิดหนึ่ ง ซึ่งหยดน้า
ของ น้าฟ้ าชนิดนี้ มีขนาดเล็ก ลักษณะการเกิดฝนละอองจะเกิดเป็ นหยดใกล้
กันเป็ ระเบียบ
เมื่อถูกกระแสลมพัดจะลอยไปตามกระแสลม ซึ่งแตกต่างจากหมอกตรงที่ฝน
ละอองจะตกลงสู่พืน้ ดินมักจะตกจากเมฆสเตรตัส (ST) และเมฆสเตรโต
คิวมูลสั
( SC ) ที่มีฐานตา่ ๆ และมักจะร่วมกันกับการเกิดหมอกทาให้
ทัศนวิสยั ตา่
2.ฝนธรรมดา (RAIN = RA) อนุภาคของน้าฟ้ าที่เป็ นของเหลวในรูปของหยด
น้าที่มีขนาดใหญ่กว่า ๐.๐๒ นิ้ว (๐.๕ มิลลิเมตร) หรืออาจมีขนาดเล็กกว่านี้
3.ฝนโปรย ( SHOWER : SHRA ) เป็ นฝนผ่านที่ตกในระยะเวลาอันสัน้
และเป็ นบริเวณแคบ มักเกิดจากเมฆ TCU หรือ CB ที่ลอยเดี่ยว
ความแรงของฝนระหว่างเวลาที่เริ่มตกและหยุดเป็ นเพียงชัวขณะเดี
่
ยว
4.ฝนระยะไกล ( VCSH ) ฝนที่เกิดในระยะ >0-10 ไมล์
หมอก ( FOG ) มีด้วยกัน 3 ชนิดคือ
1.ฟ้ าหลัวหรือหมอกแดด ( HAZE : HZ ) เกิดจากอานุภาคของฝุ่ น
เกลือ หรือควันในการเผาไหม้ ซึ่งเล็กมาก แขวนลอยอยู่ในอากาศ
ท้องฟ้ าที่มีฟ้าหลัวคลุม จะมีลกั ษณะ คล้ายควัน หรือเยื่อบางสีขาว
ลอยนิ่งอยู่ในอากาศ ทาให้มองเห็นไม่ชดั คล้ายหมอก
ลักษณะที่จะเป็ นฟ้ าหลัวนี้ ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่าน้ อยกว่า 75 %
2.ฟ้ าหลัวชื้น หรือหมอกบาง ( MIST OR LIGHT FOG : BR )
ฟ้ าหลัวชนิดนี้ เกิดจากเม็ดน้าขนาดเล็ก แขวนลอยอยู่ในอากาศ
ทัศวิสยั ในทางระดับดีกว่าหมอก เพราะว่าเม็ดน้ามีขนาดเล็กกว่า
และกระจายบางกว่า ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่าตัง้ แต่ 75 % - 96 %
3.หมอก ( FOG : FG ) เกิดจากเม็ดน้าขนาดเล็ก
แขวนลอยอยู่ในอากาศ ปิดบังมากกว่าครึง่ หนึ่ ง
ของท้องฟ้ า ทาให้ลกั ษณะอากาศเป็ นฝ้ าขาว
หนาทึบ ทัศนวิสยั ในทางระดับที่เกิดขึน้ ต้องตา่
กว่า 1,000 เมตร
ความชื้นสัมพัทธ์ จะมีค่ามากกว่า 96 %
ลูกเห็บ ( HAIL )
ลูกเห็บขนาดใหญ่ ใช้รหัส (GR)
มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๒ นิ้ว (๕ มิลลิเมตร)
หรือมากกว่า การเข้ารหัส และรายงานเมื่อ
เส้นผ่าศูนย์กลาง ที่วดั ได้ ๑/๔ นิ้วหรือมากกว่า
ลูกเห็บขนาดเล็ก ใช้รหัส(GS)
มีเส้นผ่าศูนย์กลางน้ อยกว่า ๐.๒ นิ้ว
(๕มิลลิเมตร)
พายุฟ้าคะนอง (THUNDERSTORM : TS )
การบันทึกสภาพอากาศและปรากฏการณ์ ปิดบัง
- สภาพอากาศปัจจุบัน (รู ปแบบรหัสคือ W’W’)
- รายงานได้ 3 กลุ่ม อย่ างน้ อย 2 อักขระ และ สู งสุ ด
ไม่ เกิน 9 อักขระ เช่ น +TSRAGRDZ
TSRASN BR FU
เมฆ
แบ่ งตามความสู งแบ่ งออกได้ 3 ประเภท คือ
- ชั้นต่า สู ง 50 – 6,500 ฟุต
เช่ น SC , CU , CB , ST , TCU
- ชั้นกลาง สู ง 6,500 – 25,000 ฟุต
เช่ น AS , AC
- ชั้นสู ง สู ง 20,000 – 60,000 ฟุต
เช่ น CI , CS , CC
เมฆชัน้ ตา่ ( LOW CLOUDS )
1.เมฆสเตรตัส ( STRATUS : ST )
มีลกั ษณะเป็ นแผ่นหนาสีเทาลอยอยู่ในระดับตา่ เป็ นพืด
ต่อเนื่ องกัน
ในท้องฟ้ า เมฆ สเตรตัสมักเกิดเนื่ องจากการระเหย
หรือการลอยตัวขึน้ ของหมอก ถ้ามีลมแรง เมฆสเตรตัส
จะกระจัดกระจายและขาดวิ่นออกเป็ นริ้ว ๆ
ในบางโอกาสจะทาให้เกิดฝนละออง หรือหิมะได้
2.เมฆสเตรโตรคิวมูลสั ( STRATOCUMULUS : SC )
มีลกั ษณะเป็ นก้อนกลมๆ หรือเป็ นลอน ๆที่เชื่อมติดกัเป็ น
แนวยาวมีสีเทาหรือบางส่วนเป็ นสีดา โดยมักเกิดขึน้ เป็ น
บริเวณกว้าง โดยปกติเมฆชนิดนี้ เกิดขึน้ ในขณะที่ท้องฟ้ า
แจ่มใส
แต่บางครัง้ จะทาให้เกิดฝน หรือหิมะได้
3.เมฆคิวมูลสั ( CUMULUS : CU ) เป็ นเมฆก้อนสีขาว
คล้ายปุยฝ้ าย ยอดเมฆมีลกั ษณะคล้ายรูปโดม
หรือดอกกระหลา่ กระจัดกระจายไม่ต่อเนื่ องจะแสดงถึง
อากาศดีท้องฟ้ าแจ่มใส แต่ถ้าก้อนมีขนาดใหญ่ขึน้
อาจจะทาให้เกิดฝนตกได้
4.เมฆคิวมูโลนิมบัส ( CUMULONIMBUS : CB )
เป็ นเมฆที่ก่อตัวในทางตัง้ เกิดจากการแผ่ความร้อนจากผิว
พืน้
และอากาศไม่ทรงตัว มีรปู ร่างก้อนคล้ายภูเขา ส่วนบนเป็ น
รูปทัง่
เป็ นเมฆที่ก่อให้เกิดพายุฝนฟ้ าคะนอง และมีลมกระโชกพัด
แรง
เมฆชัน้ กลาง (MIDDLE CLOUDS )
เป็ นเมฆที่เกิดขึน้ ที่ความสูง 6,500 – 25,000 ฟุต
1. เมฆอัลโตสเตรตัส ( ALTOSTRATUS : AS )
เป็ นเมฆแผ่นที่หนาทึบมากจะแผ่ปกคลุมทัวท้
่ องฟ้ า
เมฆชนิดนี้ จะปรากฏแสดงว่าอากาศไม่ดี
อากาศครึม้ ฟ้ าครึม้ ฝน มักทาให้เกิดฝนตกต่อเนื่ อง
เป็ นบริเวณกว้าง
2. เมฆอัลโตคิวมูลสั ( ALTOCUMULUS : AC )
เป็ นเมฆก้อนเล็ก ๆ มีลกั ษณะเรียงใกล้ชิดกันเป็ นแผ่นมี
สีขาว และสีเทาปนกัน เมื่อเกิดเมฆชนิดนี้ แสดงถึงลักษณะ
อากาศดีมีรปู ร่างคล้ายขนนก หรือขนแกะ
บางครัง้ มีรปู ร่างคล้ายเลนส์นูน
เมฆชัน้ สูง ( HIGHT CLOUDS )
เป็ นเมฆที่อยู่ในระดับความสูง 20,000 – 60,000ฟุต
1. เมฆเซอรัส ( CIRRUS : CI ) เป็ นเมฆสีขาวมีลกั ษณะ
เป็ นเส้น ๆ ต่อเนื่ อง ค่อนข้างโปร่งแสง มีรปู ร่างคล้าย
แส้ หางม้า ถ้ามีเมฆชนิดนี้ เกิดขึน้ กระจัดกระจาย
แสดงว่าอากาศแจ่มใส แต่ถ้าเกิดขึน้ หนาทึบมากขึน้
ในไม่ช้าจะเกิดพายุ
2. เมฆเซอโรสเตรตัส ( CIRROSTRATUS : CS )
มีลกั ษณะเป็ นเมฆแผ่นสีขาวบางมาก เหมือนกับเป็ นฝ่ าบาง
ราบเรียบเสมอกัน ในบางครัง้ แผ่ปกคลุมเต็มท้องฟ้ า
และมักจะทาให้เกิดปรากฏการณ์ วงแสง ( HALO )
รอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ ได้เสมอ
3. เมฆเซอโรคิวมูลสั ( CIRROCUMULUS : CC )
มีลกั ษณะเป็ นก้อนกลม ๆ เล็ก ๆ เรียงติดต่อกัน
เป็ นพืด เหมือนเกล็ดน้าแข็ง แสดงถึงลักษณะ
อากาศดี มักจะเกิดในฤดูหนาว
ความรุนแรงของฝน
ฝนเบา ตกกระจาย ในระหว่ างการพิจารณาสภาพพืน้
ยังเปี ยกไม่ ท้งั หมด
ฝนปานกลาง ไม่ สามารถแยกการตกของเมฆฝนได้ ชัดเจน
มองเห็นฝอยน้าเหนือทางเท้ าและบนพืน้ ผิวที่แข็ง
ฝนหนัก ฝนตกดูเหมืนเป็ นแผ่ น ไม่ สามารถแยกเม็ดฝนได้
มีฝอยนา้ มากสู งจากพืน้ ผิวทีแ่ ข็งหลายนิว้
ใช้ ทัศนวิสัยเป็ นเกณฑ์
ฝนเบา ตกกระจาย ซึ่งยังปกคลุมพืน้ ไม่ ท้งั หมด ในระหว่ าง
การพิจารณาไม่ มีผลกระทบต่ อทัศนวิสัย
ฝนปานกลาง ตกกระทบพืน้ อย่ างช้ าๆทาให้ ค่าทัศนวิสัย
ลดลงต่ากว่ า 7 ไมล์
ฝนหนัก ตกสะสมบนพืน้ อย่ างรวดเร็ว ทาให้ ทัศนวิสัย
ลดลงต่ากว่ า 3 ไมล์
ข้อแนะนำ
• เบา
-RA มากกว่ า 5 ไมล์ 8000 – 9999 เมตร
• ปานกลาง RA 3 -5 ไมล์ 4800 - 8000 เมตร
• หนัก + RA น้ อยกว่ า 3 ไมล์ ลงมา
กฏเกณฑ์ เพิม่ เติมจากสั มมนาตรวจอากาศปี 47
1. VIS ตั้งแต่ 3 ไมล์ ขนึ้ ไปไม่ ต้องบันทึกรหัส FEW000 , SCT000 ,
BKN000
2. VIS น้ อยกว่ า 3 ไมล์ ต้ องบันทึก FEW000 , SCT000 , BKN000
• เมื่อ รำยงำน รหัสปรำกฎกำรณ์ปิดบัง เช่น FEW000 SCT000
• BKN000 ต้องนำมำรวมกับจำนวนเมฆด้วยทุกครั้ง COL21
• 0355Z 20008KT 3200 BR FEW000 FEW020 SCT300
RMK BR FEW000 3SC020 2CI300 TOL. 7
ข้อแนะนา
เมื่อตรวจพบ FU
FU DRIFTING OVR
RUNWAY
FU DRIFTING OVR N,S
OF RUNWAY
CONTRAILS OHD , N , S ,E