การเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ

Download Report

Transcript การเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ

บรรยากาศและการเปลี่ยนแปลง
1
บรรยากาศ
• บรรยากาศ คือ อากาศที่ห่อหุม้ โลกของเราอยู่ โดยอากาศจะมีความ
หนาแน่นมากที่บริ เวณใกล้พ้นื ดิน และลดลงเมื่ออยูใ่ นระดับสูงขึ้นไป
2
องค์ประกอบของอากาศแห้ง
องค์ประกอบของอากาศแห้งโดยปริมาตร (%)
•
•
•
•
•
•
NITROGEN
OXYGEN
ARGON
CARBON DIOXIDE
NEON
HELIUM
•
อื่น
78.084
20.946
0.934
0.033
0.00182
0.00052
0.00066
3
การแบ่งชัน้ บรรยากาศ
•
บรรยากาศแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้
เป็ น 4 ชัน้ คือ
–
–
–
–
TROPOSPHERE
STRATOSPHERE
MESOSPHERE
THERMOSPHERE
4
โครงสร้ างบรรยากาศของโลกแบ่ งตามอุณหภูมใิ นแนวตั้ง
5
TROPOSPHERE
•
•
•
•
เป็ นบรรยากาศชัน้
ล่างสุด
ลมฟ้ าอากาศเกิดขึน้ ใน
บรรยากาศชัน้ นี้
แหล่งความร้อนคือพืน้
โลกที่ได้รบั รังสีจากดวง
อาทิตย์
โดยปกติอณ
ุ หภูมิลดลง
ตามความสูง ประมาณ
http://www.mardiros.net/atmosphere/troposphere.html
6
STRATOSPHERE
• เป็ นบรรยากาศชัน้ ถัดไปจาก TROPOSPHERE จนถึง
ระดับประมาณ 50 - 55 กิโลเมตร
• แหล่งความร้อนคือโอโซนในระดับบนที่ดดู ซับรังสี UV
ทาให้มีอณ
ุ หภูมิสงู
• อุณหภูมิคงที่ในระดับล่าง และเพิ่มขึน้ ตามความสูงใน
ระดับบน
• ตอนบนสุดเรียกว่า STRATOPAUSE
• โดยปกติจะปราศจากเมฆ และไม่มีสภาพลมฟ้ า
อากาศใด ๆ เกิดขึน้ ในบรรยากาศชัน้ นี้
• ในบางครังอาจพบเมฆชั
้
น้ สูงชนิดเมฆมุก (Nacreous
cloud)
http://www.mardiros.net/atmosphere/stratosphere.html
7
MESOSPHERE
• อยู่ถดั จาก STRATOSPHERE ขึน้
ไปจนถึงระดับประมาณ 80
กิโลเมตร
• แหล่งความร้อนคือโอโซนในชัน้
บนของ STRATOSPHERE
• อุณหภูมิลดลงตามความสูง
• เป็ นชัน้ บรรยากาศที่มีอณ
ุ หภูมิตา่
ที่สดุ คือประมาณ - 95 องศา C
ที่ระดับ 80 กิโลเมตร
• ชัน้ บนสุดเรียกว่า MESOPAUSE
• ในบางครัง้ จะมีเมฆสุกใส
(NOCTILUCENT CLOUD)
8
http://www.mardiros.net/atmosphere/mesosphere.html
THERMOSPHERE
•
•
อยู่ถดั จาก MESOSPHERE
ขึน้ ไป
แหล่งความร้อนคือการ
ที่กา๊ ซที่เบาบางใน
ระดับบน ดูดซับรังสี X
และ UV จากดวงอาทิตย์
ทาให้มีอณ
ุ หภูมิสงู และ
โมเลกุลของก๊าซแตกตัวเป็ น
ประจุ
9
พลังงานจากดวงอาทิตย์
•
ในรังสีจากดวงอาทิตย์นี้ แบ่งได้เป็ น
ULTRAVIOLET (UV) 7% , VISIBLE 43% , INFRARED 49% และ x,
gamma, radio wave 1%
10
กระบวนการระเหยน้า
กระบวนการระเหยนา้ คือ กระบวนการทีโ่ มเลกุลของนา้ เปลีย่ น
สถานะจากของเหลวกลายเป็ นไอนา้
ปริมาณไอนา้ ที่เกิดจากกระบวนการระเหยนา้ มีได้ มากที่สุดแตกต่ าง
กันขึน้ กับอุณหภูมิของอากาศ อากาศเย็นมีไอนา้ อิม่ ตัวได้ น้อย
อากาศร้ อนมีไอนา้ อิม่ ตัวได้ มาก
11
กระบวนการควบแน่ นและการเกิดเมฆ
เมฆ เป็ นกลุ่มละอองนา้ หรือผลึกนา้ แข็งขนาดเล็กจานวนมากที่ลอย
อยู่ในอากาศ
เมฆ เกิดจากการควบแน่ นของไอนา้ ในอากาศบนอนุภาคของสาร
แขวนลอยในอากาศ เช่ น ฝุ่ น ดิน เกลือ และสสารอืน่ ๆ กลายเป็ นละอองนา้
อนุภาคแขวนลอยในอากาศทีส่ ่ งผลต่ อการเกิดเมฆ เรียกว่ า อนุภาค
แกนกลางการควบแน่ น (cloud condensation nuclei, CCN)
12
ชนิดของเมฆ
แบ่ งตามรูปร่ างของเมฆ ได้ เป็ น 3 ประเภท
1. คิวมูลสั เป็ นเมฆทีม่ ีลกั ษณะเป็ นก้อน เป็ นม้ วน
2. สเตรตัส เป็ นเมฆทีม่ ีลกั ษณะเป็ นแผ่ น
3. ซีร์รัส เป็ นเมฆทีม่ ีลกั ษณะเป็ นริ้วๆ คล้ายขนนก
13
แบ่ งตามความสู งได้ เป็ น 4 กลุ่มใหญ่ คือ
 ชั้นสู ง (6-18 กม.)
CIRRUS (Ci)
CIRROCUMULUS (Cc)
CIROSTRATUS (Cs)
 ชั้นต่า (ผิวพืน้ – 2 กม.)
NIMBOSTRATUS (Ns)
STRATOCUMULUS (Sc)
STRATUS (St)
 ชั้นกลาง (2-8 กม.)
ALTOCUMULUS (Ac)
ALTOSTRATUS (As)
 เมฆก่อตัวในแนวตั้ง (ผิวพืน้ – 18 กม.)
CUMULUS (Cu)
CUMULONIMBUS (Cb)
14
คิวมูลสั (Cumulus, Cu)
15
คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus, Cb)
16
นิมโบสเตรตัส (Nimbostratus, Ns)
17
สเตรโตคิวมูลสั (Stratocumulus, Sc)
18
อัลโตคิวมูลสั (Altocumulus, Ac)
19
อัลโตสเตรตัส (Altostratus, As)
20
เซอร์โรคิวมูลสั (Cirrocumulus, Cc)
21
เซอร์โรสเตรตัส (Cirrostratus)
22
23
กลไกการยกตัวของอนุภาคอากาศ
• ความร้อนของพื้นผิว
• การเปลี่ยนแปลงความสูงของพื้นที่หรื อภูเขา
• การเกิดแนวปะทะอากาศ
24
หยาดน้ าฟ้ า (precipitation)
หยาดน้ าฟ้ า คือ ไอน้ าในอากาศที่ควบแน่นเป็ นละอองน้ าแล้วตกลงมา
1. ฝนละออง (dizzle) คือ ละอองน้ าขนาดเล็กโปรยลงมาจากเมฆชั้น
กลาง ขนาดละอองเล็กกว่า 0.5 มม.
2. ฝน (rain) คือ หยดน้ าที่ตกมาจากก้อนเมฆ มีขนาดระหว่าง 0.5-6 มม.
3. เกล็ดน้ าฝน (sleet) คือ น้ าฝนที่ตกลงมาผ่านก้อนเมฆเย็นหรื ออากาศ
เย็นจัดแล้วแข็งตัวเป็ นเกล็ดน้ าแข็งตกลงมาสู่พ้นื ดิน
4. หิ มะ (snow) คือ ไอน้ าที่แข็งตัวกลางอากาศขณะที่มีการควบแน่น
เกิดขึ้น เมื่อมีปริ มาณของเกล็ดหิ มะมากเพียงพอจนอากาศไม่สามารถ
พยุงไว้ได้อีก หิ มะจะตกลงมาสู่พ้นื ดิน
25
5. ลูกเห็บ (hail) คือ ก้อนน้ าแข็งที่เกิดจากการจับตัวของผลึกน้ าแข็ง ซึ่งผ่าน
กระบวนการเปลี่ยนแปลงเป็ นน้ า เมื่อตกลงมาแล้วถูกยกให้ลอยขึ้นไปอีก
ในก้อนเมฆทาให้เป็ นน้ าแข็งก้อนใหญ่ตกลงมาพร้อมกับฝน
6. หมอก คือ เมฆที่สมั ผัสพื้นดินขัดขวางการมองเห็นคล้ายเมฆแผ่น
7. น้ าค้าง (dew) คือ การควบแน่นของไอน้ าเป็ นละอองน้ าบนผิวของวัตถุที่
อยูใ่ กล้ผวิ ดิน
26
การหมุนเวียนของมวลอากาศ
•
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศ คือ
1. ผิวโลกได้รับความร้อนไม่เท่ากัน
2. การหมุนของโลกทาให้ทิศทางลมเบี่ยงเบน
3. แรงเสี ยดทานของผิวโลกต้านทานการเคลื่อนที่ของมวลอากาศ
27
แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศ
1.
แบบจาลองเซลล์เดียว (Single-cell model)
เสนอโดย จอร์จ แฮดเลย์ (Georg Hadley) มีขอ้ กาหนดดังนี้
1. ผิวโลกเรี ยบสม่าเสมอ
2. ไม่มีความแตกต่างระหว่างผิวน้ าและผืนแผ่นดิน
3. ดวงอาทิตย์อยูค่ งที่เหนือศูนย์สูตร (ไม่มีฤดูกาล)
4. โลกไม่หมุน
28
แบบจาลองเซลล์เดียว (Single-cell model)
29
แบบจาลองรวมเซลล์ (Combined cell model)
30
การเคลื่อนที่ของอากาศ
แรงที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของอากาศ
1.
2.
3.
4.
5.
แรงจากเกรเดียนท์ของความดันอากาศ (pressure gradient force, PGF) คือ แรง
ที่เกิดจากความแตกต่างของความกดอากาศ
แรงเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก (gravitational force, GF) คือ แรงที่ทาให้
อากาศเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งในแนวดิ่ง
แรงคอริ ออลิส (coriolis force, CF) คือ แรงที่ทาให้เกิดการเบี่ยงเบนทิศทางการ
เคลื่อนที่จากการหมุนของโลก
แรงเสี ยดทาน (frictional force, FF) คือ แรงที่เกิดจากความขรุ ขระของผิวโลก
ทาให้เกิดความต้านทานการเคลื่อนที่ของมวลอากาศบริ เวณใกล้ผวิ ดิน
แรงสู่ ศนู ย์กลาง (centripetal force) เป็ นแรงที่มีผลน้อยที่สุดต่อการเกิดลม แต่มี
ผลมากกับการหมุนของลม
31
ลมชั้นบน (Geostrophic wind)
• ลมที่พดั ในชั้นบรรยากาศที่ไม่ มีความเสี ยดทาน โดยทัว่ ไปมีความสู ง
มากกว่ า 1,000 เมตรขึน้ ไป มีทิศทางการเคลือ่ นที่เป็ นเส้ นตรง
32
ลมหมุนวน (Cyclonic and anticyclonic wind)
• ลมหมุนวนมีทิศทางเป็ นเส้นโค้งของวงกลม ลมชนิดนี้เกิดรอบบริ เวณทีม่ ีความดัน
อากาศสูง (ลมหมุนวนตามเข็มนาฬิกา) หรื อรอบบริ เวณที่มีความดันอากาศต่า (ลม
หมุนวนทวนเข็มนาฬิกา) ที่ระดับความสู งมากกว่า 1,000 เมตร และมีทิศทางของ
การเคลื่อนที่ของลมขนานกับเส้นชั้นความดันอากาศ
33
ลมผิวพื้น (Surface wind)
• บริ เวณพื้นผิวโลกเป็ นชั้นของอากาศที่มีความเสี ยดทาน การเคลื่อนที่
ของอากาศบริ เวณนี้จะได้รับแรงเสี ยดทานกระทาให้มีทิศทางการ
เคลื่อนที่เป็ นเส้นโค้งตัดเส้นความชัน
34
• บริ เวณที่มีความดันอากาศต่า กลุ่มอากาศจะหมุนวนเข้าสู่ศนู ย์กลางแล้ว
ลอยขึ้น จากนั้นจะแผ่กระจายออก (divergence) ขณะที่บริ เวณที่มีความ
ดันอากาศสูง กลุ่มอากาศจะจมลงแล้วหมุนทวนเข็มนาฬิกาแล้วแผ่
กระจายออกไปรอบด้าน กลุ่มอากาศตอนบนจะพุง่ เข้ามารวมกัน
(convergence) แล้วจมลงสู่บริ เวณที่มีความดันอากาศสูง
35
ลมประจาถิ่น
เกิดจากการหมุนเวียนของอากาศซึ่งเคลื่อนที่สมั พันธ์กบั อุณหภูมิและ
ความดันทาให้มีการเบนทิศทางโดยอิทธิพลจากความร้อนระดับท้องถิ่น
1. ลมทะเล (sea breeze)
2. ลมบก (land breeze)
3. ลมภูเขาและลมหุบเขา (mountain and valley breezes)
36
ลมทะเล (Sea Breeze)
ความดันอากาศ
(Pressure surfaces)
อากาศอุ่น
(Warm)
อากาศเย็น
(Cool)
แผ่นดิน
(Land)
ลมทะเล
(Sea Breeze)
น้ าทะเล
(Water)
ลมบก (Land Breeze)
ความดันอากาศ
(Pressure surfaces)
อากาศเย็น
(Cool)
อากาศอุ่น
(Warm)
แผ่นดิน
(Land)
ลมบก
(Land Breeze)
น้ าทะเล
(Water)
37
• ในเวลากลางวันบริ เวณ ภูเขาและลาดเขาได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์มากกว่าหุ บเขา
อากาศในหุ บเขาจึงมีอุณหภูมิต่ากว่าลาดเขาแต่มีความดันสู งกว่า อากาศจึงไหลขึ้นจาก
หุ บเขาไปตามลาดเขาเรี ยกว่า ลมหุ บเขา (Valley Breezes) ในทางกลับกันเวลา
กลางคืนบริ เวณลาดเขาคายความร้อนออกมาเร็ ว อากาศบริ เวณลาดเขาจึงมีอุณหภูมิต่า
กว่าบริ เวณหุ บเขาและมีความดันสู งกว่า อากาศจึงไหลลงมาจากลาดเขาสู่ หุบเขา
เรี ยกว่า ลมภูเขา (Mountain Breezes) โดยปกติลมภูเขาแรงกว่าลมหุ บเขา
38
ลมกรด (Jet streams)
• เป็ นลมฝ่ ายตะวันตกที่มีความยาวหลายพันกิโลเมตร มีความกว้างหลาย
ร้อยกิโลเมตร แต่มีความหนาเพียง 2-3 กิโลเมตร เท่านั้น โดยทัว่ ไปพบ
อยูใ่ นระดับความสูงประมาณ 10 และ 15 กิโลเมตร มีความเร็ วลมสูงสุ ด
ถึง 450 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ในขณะที่ลมฝ่ ายตะวันตกอื่นๆ มีความเร็ ว
ลมเพียง 50-100 กิโลเมตรต่อ ชัว่ โมง
39
ลมมรสุ ม (The monsoon)
• Monsoon มาจากคาในภาษา
อาหรับ แปลว่า ฤดูกาล ดังนั้น
ลมมรสุ มจึงหมายถึง ลมที่พดั
เปลี่ยนทิศทางตามการเปลี่ยน
ฤดู คือ ฤดูร้อนจะพัดใน
ทิศทางหนึ่งและจะพัดเปลี่ยน
ทิศทางในทางตรงกันข้ามใน
ฤดูหนาว
40
มวลอากาศ (air mass)
มวลอากาศ (air mass) เป็ นกลุ่มของอากาศขนาดใหญ่ที่ครอบคลุม
พื้นที่เป็ นบริ เวณกว้างระดับทวีปหรื อมหาสมุทร กลุ่มอากาศดังกล่าวมี
อุณหภูมิและความชื้นทั้งกลุ่มใกล้เคียงกัน มีขนาดความกว้างคิดเป็ นพื้นที่
มากกว่า 1,000 ตารางกิโลเมตร
ข้อกาหนดสาคัญที่ใช้ในการจาแนกมวลอากาศ คือ อุณหภูมิ
ความชื้น และแหล่งกาเนิด ซึ่งกาหนดโดยใช้ตวั อักษรกากับชื่อของมวล
อากาศ
41
มวลอากาศ (air mass)
A = ทวีปอาร์กติก (Arctic)
P = ขั้วโลก (Polar)
T = เขตร้อน (Tropic)
E = ศูนย์สูตร (Equatorial)
c = ทวีป (Continental)
m = พื้นน้ า (Maritime)
AA = ทวีปแอนตาร์กติก (Antarctic)
mE = มวลอากาศร้อนชื้นมาก มาจากพื้นน้ าบริ เวณศูนย์สูตร
mT = มวลอากาศร้อนชื้น มาจากพื้นน้ าบริ เวณเขตร้อน
42
43
แนวปะทะอากาศ (front)
•
แนวปะทะอากาศเกิดจากการปะทะกันของมวลอากาศต่างชนิดกัน
แบ่งได้เป็ น 4 ลักษณะ คือ
1.
2.
3.
4.
แนวปะทะอากาศอุ่น (warm front) เกิดจากมวลอากาศอุ่นเคลื่อนที่เข้าหา
และทับมวลอากาศเย็น ทาให้เกิดการยกตัวของอากาศอุ่น
แนวปะทะอากาศเย็น (cold front) เกิดจากมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เข้าแทน
มวลอากาศอุ่น และดันให้อากาศอุ่นลอยขึ้น
แนวปะทะปิ ด (occluded front) เกิดขึ้น เมื่อแนวปะทะของมวลอากาศเย็น
ตามทันแนวปะทะอากาศอุ่น และยกมวลอากาศอุ่นระหว่างกลางขึ้น
แนวปะทะอากาศคงที่ (stationary front) เกิดจากการที่มวลอากาศอุ่นและ
มวลอากาศเย็นเคลื่อนที่เข้าหากัน แต่ไม่มีการเคลื่อนที่เข้าแทนที่กนั
44
45
พายุหมุนเขตร้อน
•
•
บริ เวณที่มีลมพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางของบริ เวณความกดอากาศต่าในระดับล่าง
และมีลมพัดเวียนออกจากศูนย์กลางในระดับบน เกิดบริ เวณละติจูดสู งกว่า 5
องศาขึ้นไป มีลกั ษณะอากาศที่รุนแรงเป็ นบริ เวณกว้าง ฝนหนัก ลมแรง
แบ่งตามความเร็ วลมได้ 3 ระดับ คือ
1. พายุดีเปรสชัน่ (Depression) เป็ นพายุกาลังอ่อน ความเร็ วลมรอบ
ศูนย์กลางระหว่าง 32-64 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
2. พายุโซนร้อน (Tropical storm) เป็ นพายุที่มีกาลังปานกลาง ความเร็ วลม
รอบศูนย์กลางระหว่าง 64-118 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
3. พายุไต้ฝนุ่ (Typhoon) เป็ นพายุที่มีความรุ นแรงมากที่สุด ความเร็ วลม
รอบศูนย์กลางมากกว่า118 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
46
47
48
49
ปรากฏการณ์เอลนีโญ (El Niño) และลานีญา (La Niña)
• ปรากฏการเอลนีโญและลานีญา เป็ นลักษณะของความผิดปกติของ
อุณหภูมิผวิ น้ าทะเลบริ เวณมหาสมุทรแปซิฟิกแถบเส้นศูนย์สูตร ทาให้
เกิดฝนตกชุกหรื อความแห้งแล้งมากกว่าปกติในหลายพื้นที่ของโลก
50
ปรากฏการณ์เอลนีโญ
• เกิดจากความผิดปกติของการพัดของลมค้า ทาให้ลมค้าอ่อนกาลัง น้ าทะเลที่อุ่นจึงถูกพัด
พาไปทางชายฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิ ฟิกได้นอ้ ยลง และถูกพัดพาเข้ามาแทนที่
กระแสน้ าเย็นจากใต้มหาสมุทรที่อยูท่ างชายฝั่งตะวันออกของมหาสมุทรแปซิ ฟิก
• ส่ งผลให้บริ เวณดังกล่าวมีอุณหภูมิและความชื้นสู งขึ้น และเกิดเมฆฝนที่รุนแรงกว่าปกติ
ในขณะที่บริ เวณแถบตะวันตกของมหาสมุทรแปซิ ฟิกเกิดความแห้งแล้งมากขึ้น
51
ปรากฏการณ์ลานีญา (La Niña)
• เกิดจากลมค้ามีกาลังแรงกว่าปกติ น้ าทะเลที่อุ่นจะถูกพัดพาไปทางด้านตะวันตก
ของมหาสมุทรแปซิ ฟิกมากขึ้น
• ส่ งผลให้ทางด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิ ฟิกเกิดเมฆฝนรุ นแรงกว่าปกติ
ในขณะที่ทางด้านตะวันตกของทวีปอเมริ กาใต้เกิดความแห้งแล้งกว่าปกติ
52
ปรากฏการณ์เรื อนกระจก (Greenhouse effect)
• เป็ นปรากฏการณ์ที่รังสี ความร้อนถูกดูดกลืนและคายความร้อนกลับสู่ผิวโลกโดย
กลุ่มแก๊สเรื อนกระจก เช่น แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และ
ไอน้ า
53
การตรวจอากาศ
• การเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศทาให้เกิดลักษณะลมฟ้ าอากาศต่างๆ กัน ดังนั้นการ
ที่จะทราบการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศตลอดเวลาเพื่อนาข้อมูลมาคานวณ และ
พยากรณ์อากาศจะต้องมีการตรวจอากาศประจาวันอยูเ่ สมอ
• การตรวจอากาศแบ่งออกเป็ น การตรวจอากาศผิวพื้น และการตรวจอากาศชั้นบน
54
การตรวจอากาศผิวพื้น
• การตรวจด้วยเครื่ องมือ จะตรวจวัดความกดอากาศ อุณหภูมิของอากาศ ความชื้น
สัมพัทธ์ ลมผิวพื้น ปริ มาณน้ าฝน การระเหยน้ า อุณหภูมิใต้ดิน ระยะยาวนานของ
แสงแดด
– Barometer
– Thermometer
– Hydrograph
– Anemometer
– Wind Vane
– Recording Raingage
• การตรวจวัดด้วยสายตา จะตรวจวัดลักษณะท้องฟ้ า เมฆ ทัศนวิสัย ลักษณะอากาศ
ลักษณะคลื่นทะเล
55
การตรวจอากาศชั้นบน
• ในการตรวจอากาศชั้นบนจะใช้เครื่ องมือ คือ
–
–
–
เครื่ องวิทยุหยัง่ อากาศ เป็ นเครื่ องส่ งวิทยุขนาดเล็ก บรรจุภายในกล่อง
พร้อมเครื่ องมือวัดความกดอากาศ อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ แล้ว
ผูกติดกับบอลลูนปล่อยขึ้นไปในอากาศ
เรดาร์ ทางานโดยปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ออกไปกระทบวัตถุ แล้ว
สะท้อนกลับมายังเครื่ องรับ มีประโยชน์ในการตรวจหาพื้นที่ของฝนที่
กาลังตก ทราบความเร็ วและทิศทางการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝน
ดาวเทียม มีประโยชน์ในการติดตามการเคลื่อนตัว ความรุ นแรง และ
ความเร็ วลมของพายุหมุนเขตร้อน การเปลี่ยนตาแหน่ง จานวนและชนิด
ของเมฆ เป็ นต้น
56
แผนที่อากาศ
• แผนที่อากาศ คือ แผนที่ที่แสดงลักษณะลมฟ้ าอากาศชนิดต่างๆ เป็ นเครื่ องหมาย
เพื่อแสดงให้เห็นสภาวะอากาศในเวลาเดียวกันเป็ นบริ เวณกว้าง เพื่อใช้ในการ
วิเคราะห์วจิ ยั ลักษณะลมฟ้ าอากาศที่จะเกิดขึ้นต่อไปในระยะเวลาข้างหน้า
57
สัญลักษณ์แสดงข้อมูลที่สถานีตรวจอากาศผิวพื้น
58