ทำไม???

Download Report

Transcript ทำไม???

การลดต้ นทุนการผลิตข้ าว
หมายถึง การลดต้ นทุนการผลิตต่ อหน่ วยผลผลิต
เช่ น ต้ นทุนเป็ นบาทต่ อกิโลกรัม หรือ บาทต่ อตัน
ตัวอย่ าง
ปราชญ์ ปลูกข้ าวใช้ ต้นทุนทัง้ หมด 4,800 บาท/ไร่
ได้ ผลผลิต 600 กก.
ดังนัน้ ต้ นทุนที่ใช้ คือ 8 บาท/กก. หรือ 8,000 บาท/ตัน
ก็เพราะ
1. การใช้ ปัจจัยการผลิต ไม่ ถูกต้ อง
ไม่ ถูกชนิด ใช้ ผดิ เวลา ในอัตราไม่ เหมาะสม
2. การใช้ ปัจจัยการผลิตฟุ่ มเฟื อย เป็ นต้ นเหตุ
ให้ เกิดโรคและแมลงระบาด
ทรัพยากรธรรมชาติเสื่ อมโทรม
3. การใช้ ปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งไม่ ถูกต้ อง
ทาให้ ต้องเสี ยค่ าใช้ จ่ายในการใช้ ปัจจัยการ
ผลิตชนิดอืน่ เพิม่ มากขึน้
4. ให้ เกษตรกรมีรายได้ ต่อไร่ เพิม่ ขึน้
5. เสริมสร้ างความเข้ มแข็งให้ ชาวนา
ในการรองรับประชาคมอาเซียน
มาตรการลดต้ นทุนการผลิตข้ าว
ที่สาคัญ 6 ข้ อ
3 ต้องทำ
- ต้อง ปลูกข้ำวไม่เกิน 2 ครั้ง ต่อป
- ต้อง ใช้เมล็ดพันธุข์ ำ้ วคุณภำพด
- ต้อง ทำบัญชฟำร์ม
3 ต้องลด
- ลด อัตรำเมล็ดพันธุข์ ำ้ ว
- ลด กำรใช้ป๋ ุยเคม ไม่ถูกต้อง
- ลด กำรใช้สำรเคม
1. ปลูกข้ าวปี ละไม่ เกิน 2 ครั้ง
เพือ่ ตัดวงจรของโรคแมลงระบาด
ปลูกพืชตระกูลถั่วเพือ่ ปรับปรุงดิน
ปลูกพืชอืน่ เพือ่ เพิม่ รายได้
2. ใช้ เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี
เมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์
ความงอกไม่ น้อยกว่ า 80%
ซื้อจากแหล่ งที่เชื่อถือได้
3. ทาบัญชีฟาร์ ม
บันทึกรายจ่ ายการปลูกข้ าวทุกรายการ
ต้ องบันทึกข้ อมูลอย่ างสม่าเสมอ
1. ลดอัตราเมล็ดพันธุ์
ผลทีไ่ ด้
- ลดต้ นทุน
- เพิม่ คุณภาพ
- เพิม่ รายได้
- ไม่ ทาลาย
สิ่ งแวดล้ อม
นาหว่ านไม่ เกิน 20 กก./ไร่
นาดาไม่ เกิน 7 กก./ไร่
นาโยนกล้ าไม่ เกิน 5 กก./ไร่
2. ลดการใช้ ปุ๋ยเคมี
ใช้ ตามคาแนะนาทางราชการ
ใช้ ตามค่ าวิเคราะห์ ดนิ
ใช้ ถูกสู ตร ถูกเวลา ถูกปริมาณ
3. ลดการใช้ สารเคมี
ใช้ ตามคาแนะนาทางราชการ
ใช้ วธิ ีผสมผสาน
หมั่นตรวจแปลงอย่ างสม่าเสมอ
ขั้นตอนการลดต้ นทุนการผลิตข้ าว
มีท้งั หมด 8 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 ต้ องใช้ เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี




ใช้ เมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์ตรงตามสายพันธุ์
ใช้ เมล็ดพันธุ์จากแหล่งทีน่ ่ าเชื่อถือ
เมล็ดพันธุ์มีความงอกไม่ ตา่ กว่ า 80%
อัตราที่ใช้ นาหว่ านไม่ เกิน 20 ก.ก./ไร่
นาปักดาไม่ เกิน 7 ก.ก./ไร่ นาโยนกล้ าไม่ เกิน 5 ก.ก./ไร่
• เพิม่ ผลผลิต 10 %
• ลดต้ นทุนได้ 50% (ลดได้ ประมาณ 300 บาท)
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมดิน






ห้ ามเผาฟางข้ าว เพราะทาลายสภาพดิน
ให้ พลิกหน้ าดินเพือ่ กลบฟางข้ าว
ระบายนา้ เข้ านา และใช้ สาร พด.2
ใช้ เวลาหมักฟางข้ าวอย่ างน้ อย 2 สั ปดาห์
ปรับหน้ าดินให้ เรียบสม่าเสมอ
นาหว่ านนา้ ตมให้ ทาร่ องนา้ เป็ นทางระบายอากาศในแปลงปลูกข้ าว
- เมล็ดข้ าวงอกสม่าเสมอ
- ไม่ มวี ชั พืชขึน้ ในนา
- ลดค่ าใช้ จ่ายในการป้องกันกาจัดวัชพืช (ลดได้ ประมาณ 250 บาท)
ขั้นตอนที่ 3 การกาจัดวัชพืช
 ใช้ สารป้องกันกาจัดวัชพืชทันทีหลังหว่ านข้ าว ก่อนที่เมล็ดวัชพืชงอก
อย่ าให้ เกิน 4 วัน
 ใช้ สารกาจัดวัชพืชให้ ตรงตามชนิดวัชพืชทีร่ ะบาด
 ประเมินการระบาดของวัชพืชไม่ ถึง 20% ของพืน้ ที่นา ยังไม่ ต้องใช้
 ขณะพ่นสารกาจัดวัชพืชครั้งแรก ต้ องไม่ มีฝนตก ไม่ มีนา้ ขังในนา
และระบายนา้ เข้ านาหลังพ่น 3 วัน
- การงอกของต้ นกล้ าข้ าวสมา่ เสมอ ลาต้ นแข็งแรง สมบูรณ์
- กาจัดวัชพืชก่ อนหว่ านปุ๋ ยเคมี
(ทาให้ ผลผลิตข้ าวเพิม่ ขึน้ 10 – 15%)
ขั้นตอนที่ 4 การใช้ ปุ๋ยเคมี





ชนิดของปุ๋ ย
อัตราปุ๋ ย
ระยะเวลา
ชนิดของพันธุ์ข้าว
ไม่ ใส่ ปุ๋ยหลังข้ าวออกดอก
- ลดค่ าใช้ จ่ายในการใช้ ปุ๋ย 50%
(ลดได้ ประมาณ 500-600 บาท/ไร่ )
- ลดค่ าใช้ จ่ายในการใช้ สารป้องกัน
กาจัดโรคแมลงได้ 50%
(ลดได้ ประมาณ 420 บาท/ไร่ )
ข้ าวไวต่ อช่ วงแสง ( ข้ าวปี ) ใส่ 2 ครั ง้
ใส่ ป๋ ยครั
ุ ง้ ที่ 1 (NPK)
สร้ างใบ ราก และลาต้ น
16-20-0 (ดินเหนียว) อัตรา 20-25 กก./ไร่
16-16-8 (ดินทราย) อัตรา 20-25 กก./ไร่
ใส่ ระยะหลังหว่ านข้ าว 20-30 วัน /710 วันหลังปั กดา
ใส่ ป๋ ยครั
ุ ง้ ที่ 2 (N)
บารุงช่อดอกและเมล็ดข้ าว
ปุ๋ยยูเรี ย 46-0-0 อัตรา 5-10 กก./ไร่
ใส่ ระยะสร้ างรวงอ่ อน
ข้ าวไม่ ไวต่ อช่ วงแสง ใส่ 3 ครัง้
ใส่ ป๋ ยครั
ุ ง้ ที่ 1 (NPK)
สร้ างใบ ราก และลาต้ น
16-20-0 (ดินเหนียว) /16-16-8
(ดินทราย) อัตรา 20-25 กก./ไร่
ใส่ ระยะหลังหว่ านข้ าว 20-30
วัน /7-10 วันหลังปั กดา
ใส่ ป๋ ยครั
ุ ง้ ที่ 2 (N)
เร่งการแตกกอ
ปุ๋ยยูเรี ย 46-0-0
อัตรา 5-10 กก./ไร่
ใส่ ระยะแตกกอ (ข้ าว
อายุ 40-45 วัน)
ใส่ ป๋ ยครั
ุ ง้ ที่ 3 (N)
บารุงช่อดอกและเมล็ดข้ าว
ปุ๋ยยูเรี ย 46-0-0
อัตรา 5-10 กก./ไร่
ใส่ ระยะสร้ างรวงอ่ อน
ขั้นตอนที่ 5 การป้ องกันกาจัดศัตรู ข้าว
 ถ้ าปฏิบัติตามขั้นตอนทีก่ ล่าวมาแล้วข้ างต้ น (ลดเมล็ดพันธุ์ เตรียมดิน
พิถีพถิ ัน ลดการใช้ ปุ๋ยเคมี) จะลดการระบาดของโรค/แมลงได้
 หมั่นลงตรวจพืน้ ทีน่ า อย่ างสม่าเสมอ เรียนรู้การคาดคะเนอาการทีเ่ สี่ ยง
ต่ อการระบาดของโรคและแมลง
- ลดค่ าใช้ จ่ายในการใช้ สารป้องกันกาจัดโรคแมลงได้ 50%
(ลดได้ ประมาณ 420 บาท)
- สามารถรักษาสุ ขภาพของผู้ใช้ สารเคมี และรักษาสิ่ งแวดล้อม
ขั้นตอนที่ 6 การจัดการนา้
 หลังทาเทือกเสร็จแล้ ว ระบายนา้ ออก ให้ ดนิ แห้ งแบบหมาดๆ แล้วจึงหว่านข้ าวงอก
 ระดับนา้
ช่ วงข้ าวยังเล็ก
ให้ ระดับนา้ 5 ซม.
ช่ วงข้ าวแตกกอ
สร้ างรวงอ่ อน
ให้ รักษาระดับนา้ 10 -15 ซม.
ข้ าวออกดอก
 การปรับหน้ าดินให้ เรียบสม่าเสมอ สามารถลดระดับนา้ ในนา โดยลดระยะเวลา
การสู บนา้ เข้ านา
ลดค่ าใช้ จ่ายในการสู บนา้ ได้ 30% (ประมาณ 360 บาท/ไร่ )
ขั้นตอนที่ 7 การเก็บเกีย่ ว
 เกีย่ วข้ าวระยะพลับพลึง
(หลังข้ าวออกดอก 30 วัน) เท่ านั้น
 ให้ ระบายนา้ ออกจากนาข้ าว
เมื่อข้ าวออกดอกแล้ว 15 วัน
 ช่ วงเก็บเกีย่ วดินนาต้ องแห้ ง
ลดการสู ญเสี ยผลผลิตจากข้ าวทีร่ ่ วงระหว่ างการเก็บเกีย่ ว
(ลดประมาณ 20%)
ขั้นตอนที่ 8 การทาบัญชีฟาร์ ม
 บันทึกบัญชีฟาร์ มอย่ างสม่าเสมอ ทุกฤดูการปลูกข้ าว
 พิจารณาเปรียบเทียบบัญชีฟาร์ มด้ วยตนเอง ก่อนปลูกข้ าวฤดูต่อมา
 เกษตรกรจะเห็นได้ ว่าตนเองสามารถลดต้ นทุนอะไรได้ บ้าง
เทคโนโลยีลดต้ นทุนการผลิตข้ าว
3 ต้ องทำ + 3 ต้ องลด
ผลที่ได้
เพิม่ คุณภาพ ผลผลิตข้ าว 10% กาไรเพิม่ มากขึน้
 ลดต้ นทุน เมล็ดพันธุ์ข้าว 50 % ( ประมาณ 300 บาท/ไร่ )
 ลดค่ าใช้ จ่าย ในการป้องกันกาจัดวัชพืช ( ประมาณ 250 บาท/ไร่ )
 ลดค่ าใช้ จ่าย ในการใส่ ปุ๋ย 50 % ( ประมาณ 500-600 บาท/ไร่ )
 ลดค่ าใช้ จ่าย ในการใช้ สารป้องกันกาจัดโรคและแมลง ( ประมาณ 420 บาท/ไร่ )
 รักษาสุ ขภาพของเกษตรกร
 รักษาสภาพแวดล้ อม
ลดต้ นทุนได้ 1,500 – 3,000 บาท/
ไร่
แผนการจัดการ
ตลอดฤดูปลูกข้ าว
วิธีปักดา/โยนกล้ า
หว่ านนา้ ตม
ลด...ละ...เลิก...