6กค54สรุปประเด็นสอนธัญพืช - คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย

Download Report

Transcript 6กค54สรุปประเด็นสอนธัญพืช - คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1200111 เกษตรเบื้องต้น
สุ วฒั น์ ธีระพงษ์ธนากร
คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
1
เกษตรกรรม Agriculture
'agri' : field ท้องทุ่ง
'cultura' : cultivation การเพาะปลูก การเพาะเลี้ยง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิต
พืชและสัตว์
(the science and technology of growing and raising
plants and animals)
2
สาขาพืชไร่ (Agronomy)
Agro: field ท้องทุ่ง
nomy: manage การจัดการ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการ
เพาะปลูก การใช้ประโยชน์และการปรับปรุ งพันธุพ์ ืช
(the science and technology of culturing, utilizing
and improving field crops)
3
สาขาพืชไร่ (Agronomy)
ธัญพืช (cereal crops) ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่ าง ข้าวสาลี บาร์เลย์
พืชน้ ามัน (oil crops) ถัว่ เหลือง งา ละหุ่ง ถัว่ ลิสง ทานตะวัน
พืชอุตสาหกรรม (industrial crops) อ้อย มันสาปะหลัง ยางพารา
มะพร้าว ยาสูบปาล์มน้ ามัน
พืชเส้นใย (fiber crops) ฝ้ าย ปอ ป่ าน
พืชตระกูลถัว่ (legume crops) ชนิดที่เป็ นอาหารมนุษย์ อาหารสัตว์
และปลูกบารุ งดิน
พืชอาหารสัตว์ (forage crops) ถัว่ อาหารสัตว์ หญ้าอาหารสัตว์
พืชพลังงาน ปาล์มน้ ามัน อ้อย มันสาปะหลัง สบู่ดา
4
สาขาพืชสวน (Horticulture)
'hortus' : garden สวน
'cultura' : cultivation การเพาะปลูก
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ทเี่ กีย
่ วของ
้
์
กับการเพาะปลูกและ
การปรับปรุงพันธุพื
้
์ ชทัง้ ไมผล
พืชผัก ไมดอกไม
ประดั
บ
้
้
(the science, technology and art of culturing, utilizing and
improving fruit, vegetable, flowering and ornamental plants)
5
สาขาพืชสวน Horticulture
ไม้ผล
พืชผัก
ไม้ดอกไม้ประดับ
ภูมิทศั น์
6
พืชปลูก (Cultivated Plants)
ความสาคัญและการใช้ประโยชน์
ความสาคัญด้านอาหารและเครื่ องนุ่งห่ม
ความสาคัญด้านการเลี้ยงสัตว์
ความสาคัญด้านเศรษฐกิจ
ความสาคัญทางด้านอุตสาหกรรม
7
พืชไรกั
่ บพืชสวน
วิธีปฏิบตั ิ : ความประณี ต กับ ไม่ประณี ต
ขนาดพื้นที่ : ขนาด เล็ก ใหญ่
จุดประสงค์การปลูก : หากปลูกเป็ นอาหารหลัก
สาหรับมนุษย์และสัตว์ จัดว่าเป็ นพืชไร่
8
ธัญพืช (cereal crops)
พืชตระกูลหญ้า
ข้าว (rice) Oryza sativa L.
ข าวโพด (corn) Zea mays L.
ข้าวฟ่ าง (sorghum) Sorghum bicolor (L.) Moench
ข าวสาลี wheat Tritricum aestivum L.
ข าวบาเลย (barley) Hordeum vulgare L.
ข าวโอ ต (oats) Avena sativa L.
9
ระยะการเจริ ญเติบโตของข้าว
1. ระยะการเติบโตทางลาต้น
(vegetative: germination to panicle initiation);
2. ระยะผสมพันธุ์
(reproductive: panicle initiation to flowering)
3. ระยะติดเมล็ด
(ripening: flowering to mature grain)
- การสุ กแก่ทางสรี รวิทยา (Physiological maturity)
- การสุ กแก่ตามอายุเก็บเกี่ยว (Harvesting maturity)
10
การจาแนกชนิดข้าว
ประเภทแป้ งในเมล็ดข้าวสาร
สภาพพื้นที่ปลูก
อายุการเก็บเกี่ยว
ลักษณะความไวต่อแสง
รู ปร่ างของเมล็ดข้าวสาร
แบ่งตามฤดูปลูก
11
จาแนกตามประเภทแป้ งในเมล็ดข้าวสาร
ข้าวเจ้า (non-glutinous rice)
- เมล็ดข้าวใส เมื่อหุงสุ กไม่เกาะตัวกัน
- amylose 64-92 % amylopectin 8-36 % ของน้ าหนักเมล็ด
ข้าวเหนียว (glutinous rice or waxy rice)
- เมล็ดข้าวขาวขุ่น เมื่อหุงสุ กเกาะตัวกัน
- amylose 0-8 % amylopectin 92-100 % ของน้ าหนักเมล็ด
12
จาแนกตามสภาพพื้นที่ปลูก
ข้าวไร่ (upland rice)
ปลูกได้ท้งั บนที่ราบและที่ลาดชัน ไม่ตอ้ งทาคันนาเก็บกักน้ า ปลูกกันมากในบริ เวณที่ราบสูงตาม
ไหล่เขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศ มีเนื้อที่
เพาะปลูกประมาณ ร้อยละ10 ของเนื้อที่เพาะปลูกทัว่ ประเทศ
ข้าวนาสวนหรื อนาดา (lowland rice)
ปลูกในพื้นที่ลุ่มทัว่ ไป ในสภาพที่มีน้ าหล่อเลี้ยงต้นข้าวตั้งแต่ปลูก มีเนื้อที่เพาะปลูกร้อยละ80
ของเนื้อที่เพาะปลูกทัว่ ประเทศ ปลูกมากในทุกภาค
ข้าวขึ้นน้ าหรื อข้าวนาเมือง (floating rice)
ปลูกในแหล่งที่ไม่สามารถรักษาระดับน้ าได้ บางครั้งระดับน้ าในบริ เวณที่ปลูกอาจสู งกว่า 1 เมตร
ต้องใช้ขา้ วพันธุ์พิเศษที่เรี ยกว่า ข้าวลอยหรื อข้าวฟ่ างลอยปลูก ส่ วนมากปลูก แถบจังหวัด
สุ พรรณบุรีพระนครศรี อยุธยา ลพบุรี พิจิตร อ่างทอง ชัยนาทและสิ งห์บุรี มีเนื้อที่เพาะปลูก
ประมาณร้อยละ10 ของเนื้อที่เพาะปลูกทัว่ ประเทศ
13
การจาแนกตามอายุตน้ ข้าว
ข้าวเบา อายุเก็บเกี่ยว 90-100 วัน
ข้าวกลาง อายุเก็บเกี่ยว 100-120 วัน
ข้าวหนัก อายุเก็บเกี่ยว 120 วันขึ้นไป
14
จาแนกตามการตอบสนองต่อช่วงแสง
ข้าวไวต่อช่วงแสง
- ออกดอกเมื่อได้รับช่วงแสงสั้น ต้องปลูกในฤดูนาปี
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
- ออกดอกและติดเมล็ดเมื่อเจริ ญเติบโตครบชีพจักร สามารถ
ปลูกได้ทุกฤดูกาล
15
จาแนกตามรู ปร่ างเมล็ดข้าวสาร
ชนิดข้าว
ความยาวเมล็ด (มม.)
ข้าวเมล็ดสั้น (short grain)
ไม่เกิน 5.50
ข้าวเมล็ดยาวปานกลาง (medium-long grain)
5.51-6.60
ข้าวเมล็ดยาว (long grain)
6.61-7.50
ข้าวเมล็ดยาวมาก (extra-long grain)
ตั้งแต่ 7.51
16
จาแนกตามฤดูปลูก
ข้าวนาปี (ข้าวนาน้ าฝน)
ข้าวที่ปลูกในฤดูการทานาปกติ เริ่ มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึง
ตุลาคมและจะเก็บเกี่ยวเสร็ จสิ้ นล่าสุ ด ไม่เกินเดือนกุมภาพันธ์
ข้าวนาปรัง
ข้าวที่ปลูกนอกฤดูการทานาปกติ เริ่ มตั้งแต่เดือนมกราคมในบาง
ท้องที่และจะเก็บเกี่ยวอย่างช้าที่สุดไม่เกินเดือนเมษายน นิยมปลูก
ในท้องที่ที่มีการชลประทานดี
17
ศัตรู ธรรมชาติของข้าว (3 P)
(http://www.ipmthailand.org/)
(http://www.ipm.ucdavis.edu/PMG/NE/brown_lacewing.html)
ตัวหา้ (Predators) กินแมลง
ศัตรูพช
ื
ตัวเบียน (Parasites) ใช้
ศัตรูพช
ื เป็ นอาหารให้ตัวออน
่
เชือ
้ โรค (Pathogen) ทาให้
18
ตัวหา้ (Predators)
ตัก
๊ แตนตาขาว
ดวงเต
าลาย
มวน
้
้
่
ตาโต แมงมุม
ตัวเบียน (Parasites)
แตนเบียนไข่ แมลงวันกนขน
้
เชือ
้ โรค (Pathogen)
Bacillus thuringiensis, ไตรโคเดอรมา
์
19
20
ชั้นของเมล็ดข้าว
ชัน
้ ของเมล็ดขาวจ
าแนกเป็ น 4 ชัน
้ ดังนี้
้
1. ขาวเมล็
ดยาว ชัน
้ 1 (Long grain class 1)
้
ขาวเต็
มเมล็ดมีความยาวเกิน 7.0
้
มิลลิเมตร
2.
ขาวเมล็
ดยาว ชัน
้ 2 (Long grain class 2)
้
ขาวเต็
มเมล็ดมีความยาวเกิน 6.6 - 7.0
้
มิลลิเมตร
3. ขาวเมล็
ดยาว ชัน
้ 3 (Long grain class 3)
้
ขาวเต็
มเมล็ดมีความยาวเกิน 6.2 - 6.6
้
21
มาตรฐานสิ นค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มกอช. 4000-2546
ข้าวหอมมะลิไทย
ข้าวหอมมะลิไทยประเภทข้าวขาว แบ่งเป็ น 8 ชนิดดังนี้
1. ข้าวขาว 100 เปอร์เซ็นต์ ชั้น 1
2. ข้าวขาว 100 เปอร์เซ็นต์ ชั้น 2
3. ข้าวขาว 100 เปอร์เซ็นต์ ชั้น 3
4. ข้าวขาว 5 เปอร์เซ็นต์
5. ข้าวขาว 10 เปอร์เซ็นต์
6. ข้าวขาว 15 เปอร์เซ็นต์
7. ข้าวขาวหักเอวันเลิศพิเศษ
8. ข้าวขาวหักเอวันเลิศ
22
สรุปประเด็น
เกษตรกรรม (agriculture) หมายถึง .........................................................
โครงสร้างภาคเกษตรกรรมของประเทศไทยประกอบด้วย
1. ....................... 2. ...................... 3. ...................... 4. .......................
ชนิดสิ นค้าพืชไร่ ส่งออกที่สาคัญของประเทศไทยได้แก่
1. ....................... 2. ...................... 3. ...................... 4. .......................
พืชปลูก (Cultivated Plants) มีความสาคัญและการใช้ประโยชน์ดงั นี้
1. ....................... 2. ...................... 3. ...................... 4. .......................
ความแตกต่างระหว่างพืชไร่ กบั พืชสวนคือ
1. ....................... 2. ...................... 3. ......................
23
สรุปประเด็น
ชนิดธัญพืชที่สาคัญของประเทศไทยได้แก่
1. ....................... 2. ...................... 3. ......................
การจาแนกข้าวตามอายุตน้ ข้าว ได้แก่
1. ....................... 2. ...................... 3. ......................
วิธีทานาของเกษตรกรที่พบในปัจจุบนั มี 2 วิธีคือ
1. ....................... 2. ......................
พันธุ์ขา้ วชนิดใดเป็ นข้าวเหนียว/ข้าวเจ้า
กข23 คือข้าว ........................... กข4 คือข้าว ............................
3 P ประกอบด้วย .........................................
24