PowerPoint เรื่องสาหร่าย

Download Report

Transcript PowerPoint เรื่องสาหร่าย

เรื่อง สาหร่าย
ผู้จดั ทา
นายเริงฤทธ์ ิ ดวงภูมิเมศร์
นายวรวัตร รักษาดี
นายอนุเทพ พูลศักด์ ิ
นางสาวสุธิดา รบชนะ
ประวัติสาหร่าย
สาหร่าย เป็ นชือ่ เรียกสิง่ มีชวี ติ หลายชนิดในอาณาจักรโครมาลวีโอลาตา เอกซ์คาวาตา ไร
ซาเรีย มีลกั ษณะคล้ายพืช แต่ไม่มีสว่ นทีเ่ ป็ นราก ลาต้น และใบทีแ่ ท้จริง มีขนาดตัง้ แต่เล็ก
มากมีเซลล์เดียว ไปจนถึงขนาดใหญ่ทปี่ ระกอบด้วยเซลล์จานวนมาก อาจเป็ นเส้นสายหรือมี
ลักษณะคล้ายพืชชัน้ สูงก็มี การแบ่งพวกสาหร่ายแบ่งตามรูปร่างลักษณะภายนอกหรือดูตามสี
จึงมีสาหร่ายสีเขียว เขียวแกมนา้ เงิน นา้ ตาล และสีแดง สาหร่ายสืบพันธุโ์ ดยไม่อาศัยเพศก็มี
อาศัยเพศก็มี
แหล่งทีอ่ ยูข่ องสาหร่ายมีตา่ งๆกันส่วนใหญ่อยูใ่ นนา้ ทัง้ นา้ จืด นา้ กร่อย นา้ เค็ม คุณค่า
ทางอาหารของสาหร่ายพบว่าไม่สูงมากนัก คาร์โบไฮเดรตทีม่ ีอยูเ่ ป็ นพวกทีย่ อ่ ยยากในตัวคน
โปรตีนก็มีนอ้ ยแต่สงิ่ ทีไ่ ด้จากสาหร่าย คือ แร่ธาตุและวิตามินหลายชนิด นอกจากเป็ นอาหาร
คน เช่น สาหร่ายอบกรอบ และปั จจุบนั นามาประกอบเป็ นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆแล้วยังใช้เป็ น
อาหารสัตว์ เป็ นปุ๋ ยและเป็ นยา สาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงิน (Bluegreen Algae) สามารถจับ
ไนโตรเจนในอากาศได้อย่างอิสระ(Nonsymbiotic Nitrogen Fixer) Anabaena,
Oscillatoria, nostoc
พันธ์และลักษณะประจาพันธ์
สาหร่ายกลุม่ สีเขียว (Chlorophyta หรือ Green algae ได้แก่
1. สาหร่ายไส้ไก่ Enteromorpha clathrata (Roth),
Greville, 1830
ลักษณะเฉพาะ : มีทลั ลัสสีเขียวอ่อนแตกแขนงเป็ นเส้นอ่อนนุ่มติดกันจานวนมาก กิ่งก้านที่
แตกออกมีความบอบบางคล้ายเส้นผม มีทงั้ ทีเ่ กาะติดกับวัสดุแข็งหรือล่องลอยในนา้ เซลล์
มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 120 ถึง 340 ไมครอน และจัดเรียงตัวเป็ นแถวยาว การ
แตกออกเป็ นแขนงจะเกิดใกล้กบั ส่วนปลายของกิ่งก้าน
ขนาด : ทัลลัสมีความยาวถึง 20 เซนติเมตร
แหล่งทีอ่ ยู่ ชีววิทยา และประโยชน์ในด้านการประมง : มักพบอยูต่ ิดกับก้อนหินหรือ
วัสดุแข็งอืน่ ๆ ในบริเวณเขตนา้ ขึ้นลงตา่ สุดจนถึงเขตนา้ ขึ้นลงสูงสุด นอกจากนี้อาจพบลอย
อยูบ่ ริเวณผิวนา้ รวมกับสาหร่ายชนิดอืน่ ๆ สาหร่ายไส้ไก่สามารถนามาเป็ นอาหารมนุษย์ ที่
อุดมด้วยวิตามิน เอ และ บี 1 ใช้เป็ นอาหารสัตว์ ปุ๋ ย และมีคณ
ุ สมบัติป้องกันแบคทีเรีย
ทีจ่ งั หวัดซีเจียง (Zhejiang) ในประเทศจีน มันเป็ นทีร่ ูจ้ กั ในชือ่ ไตเตีย๋ ว
่ ี่ปุ่นใช้เป็ นเครือ่ งเคียง
(Taiteao) หรือมอสตัดท่อน (moss stripe) และทีญ
เนื้อ ปลา และกินแบบสลัด (salad)
การแพร่กระจาย : พบมากในเขตร้อน รวมทัง้ ฟิ ลิปปิ นส์ เวียดนามและตามชายฝั่งทะเล
ของจีนและญี่ปุ่น
สาหร่ายทะเลทีม่ ีความสาคัญทางเศรษฐกิจโดยลักษณะทางอนุกรมวิธาน และชีวะวิทยาของ
สาหร่ายทะเลชนิดต่างๆมีดงั นี้
DIVISION CHLOROPHYTA (Green Algae) ทีพ่ บ
มีอยูด่ ว้ ยกันประมาณ 10-12 ชนิด แต่ทม่ี ีความสาคัญเพียง 3 ชนิด ดังนี้
1. สาหร่ายเม็ดพริก (Caulerpa lentillifera J. Agardh,
1837)
ลักษณะทัว่ ไป : ทัลลัสประกอบด้วยสโตลอนทีค่ บื คลานไปตามพื้นและแตก
แขนงได้ ส่วนของแขนงทีต่ งั้ ตรง สูง 1-6 เซนติเมตร มักเกิดเดีย่ วๆ ไม่คอ่ ย
แตกแขนง ประกอบด้วยรามูลสั เล็กๆ ลักษณะกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2
มิลลิเมตร มีกา้ นสัน้ ๆ เรียงกันคล้ายช่อพริกไทย แต่ละรามูลสั มีรอยคอดระหว่าง
ก้านและส่วนทีเ่ ป็ นเม็ดกลมสีเขียวใส ขึ้นบนก้อนหินหรือพื้นทรายทีน่ า้ ตื้นๆ ใกล้
แนวปะการัง
2. สาหร่ายพวงองุน่ (Caulerpa racemosa (Forsskal)
J. Agardh 1873 ; var. macrophysa (Sonder
ex Kutzing) Taylor)
ลักษณะทัว่ ไป : ทัลลัสประกอบด้วยสโตลอนทีแ่ ตกแขนงได้ ส่วนของทัลลัสที่ตงั้
ตรง สูง 1-5 เซนติเมตร ประกอบด้วยรามูลสั ลักษณะเกือบกลมหรือครึง่
วงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-4 มิลลิเมตร มีกา้ นสัน้ ๆ เรียงตัวเป็ นช่อ
เหมือนช่อพริกไทย รากเกิดด้านล่างเป็ นระยะ ๆ ขึ้นบนก้อนหินหรือซากปะการัง
ในเขตนา้ ขึ้นนา้ ลง สาหร่ายชนิดนี้ได้พบทัว่ ไปมีขายในตลาดสดในบางจังหวัด
ชายทะเล
3.สาหร่ายขนนก (Caulerpa taxifolia) (Vahl) C.
Agardh, 1817
ลักษณะทัว่ ไป : ทัลลัสมีสว่ นทีต่ งั้ ตรงจากพื้น ลักษณะคลายขนนก สูง 10-15
เซนติเมตร โดยมีแกนตัง้ ตรง และรามูลสั เกิด 2 ข้าง รามูลสั เป็ นแท่งกลมยาว
ประมาณ 1 เซนติเมตร ตรงปลายพองออกเป็ นกระเปาะ สีเขียวสด ขึ้นบนพื้น
กรวดปนทราย และโคลนในคลองบริเวณป่ าชายเลน สาหร่ายชนิดนี้ใช้รบั ประทาน
เป็ นผักจิ้ม มีขายในตลาดในบางจังหวัดภาคใต้
DIVISION RHODOPHYTA (Red Algae) ที่
พบมีอยูด่ ว้ ยกันประมาณ 8-9 ชนิด แต่ชนิดทีม่ ีความสาคัญเพียง 3 ชนิด ดังนี้
1.สาหร่ายมงกุฎหนาม (Acanthophora spicifera (Vahl)
Borgesen)
ลักษณะทัว่ ไป : ทัลลัสอวบนา้ แตกแขนงเป็ นพุม่ สูง 15 เซนติเมตร รากยึด
เกาะขนาดเล็กรูปถ้วย แขนงรูปทรงกระบอก มีแขนงย่อยปลายแหลมอยูร่ วมเป็ น
กลุม่ ๆ เกิดอยูท่ วั่ ไปโดยเรียงกันห่างๆ หรือแน่นสุดแต่สภาพแวดล้อม ทัลลัสสี
นา้ ตาลอ่อนหรือนา้ ตาลเข้ม ถ้าอยูใ่ นทีแ่ ดดจัดจะมีสเี หลือง ถ้าแสงน้อยมีรม่ เงาจะ
มีสชี มพู ขึ้นได้ทวั่ ไปในทุกสภาวะ ตัง้ แต่พ้ ืนโคลน พื้นทราย และพื้นหิน ในเขตนา้
ขึ้นนา้ ลง เป็ นสาหร่ายทีพ่ บเสมอในอ่าวไทย
2.สาหร่ายผมนาง (Gracilaria fisheri (Xia et
Abbott) Abbott, Zhang et Xia)
ลักษณะทัว่ ไป : ทัลลัสเป็ นพุม่ ใหญ่ สูงถึง 30 เซนติเมตร แตกแขนงมาก แต่ละ
แขนงยาว โคนคอด ปลายเรียวแหลม ซิลโตคาร์ปรูปกรวยมีจะงอย และฐานไม่
คอด ขึ้นบนเปลือกหอย เศษหิน กรวด ถุงพลาสติก และบนกระชังเลี้ยงปลา
บริเวณพื้นโคลนบนทราย ซึง่ นา้ ค่อนข้างขุน่ สาหร่ายชนิดนี้พบมากที่ทะเลสาบ
สงขลาและอ่าวปั ตตานี นิยมใช้เป็ นวัตถุดบิ สกัดวุน้
3.สาหร่ายโพรง (Solieria robusta (Greville) Kylin)
ลักษณะทัว่ ไป : ทัลลัสเป็ นพุม่ อวบนา้ นิ่ม สูงถึง 23 เซนติเมตร รากทีใ่ ช้ยึด
เกาะมีลกั ษณะรูปถ้วย แตกแขนงได้หลายแบบมีทงั้ แบบสลับ แบบคู่ และแตก
แขนงจากจุดเดียวกัน แขนงรูปทรงกระบอก กว้าง 3 เซนติเมตร ปลายแหลม
โคนแคบ ซิสโตคาร์ปรูประฆังควา่ เกิดนูนพ้นผิว สีนา้ ตาลแกมเขียว หรือนา้ ตาล
แกมเหลือง หรือสีชมพู ขึ้นบนเปลือกหอย เศษหิน ในระดับนา้ ขึ้นนา้ ลง บางครัง้
โผล่พน้ นา้ ขณะนา้ ลง
การเพาะเลี้ยงสาหร่าย
คือการเลี้ยงสาหร่ายด้วยอาหารทีใ่ ช้ในการเลี้ยงสาหร่าย 2 ชนิดคืออาหารเหลว
อาหารแข็งหรืออาหารวุน้ เพื่อใช้เป็ นอาหารสัตว์นา้ วัยอ่อนหรือผลิตเป็ นอุตสาหกรรม
สาหร่ายมีหลายชนิดผูเ้ ลี้ยงจะต้องศึกษารายละเอียดเพื่อจะได้ประสบความสาเร็จในการ
เลี้ยงสาหร่าย
ระยะเวลาของการเลี้ยง
การเลี้ยงระยะยาว
เพื่อเก็บหัวเชื้อสาหร่าย (stock culture)ปั จจัยทีส่ าคัญคือรูปแบบของ
อาหารคืออาหารวุน้ (nutrient agar)ข้อเสียของอาหารวุน้ คือการเลี้ยง
ต้องเลี้ยงแบบปลอดเชื้อ(axenic culture)อาหารทีใ่ ช้ได้นอกจากนา้ คือ
สารละลายทีเ่ ตรียมจากดิน(soil - water medium)ปั จจัยอืน่
อุณหภูมิและความเข้มของแสง
การเลี้ยงระยะสัน้
เป็ นการเลี้ยงทีใ่ ช้ศึกษาในห้องเรียนเป็ นครัง้ คราวหรือใช้ในอุตสาหกรรมในระยะสัน้ ใช้อาหาร
แตกต่างกันตามความเหมาะสม
รูปแบบของการเพาะเลี้ยง มี 3 แบบ คือ
1. การเลี้ยงชนิดเดียวไม่มีชนิดอืน่ ปนอาจมีแบคทีเรียหรือโปรโตซัวอยูด่ ว้ ย
2. การเลี้ยงชนิดเดียวหรือหลายชนิดต้องไม่มีแบคทีเรียปน
3. กรเลี้ยงชนิดเดียวเท่านัน้ ไม่มีสงิ่ มีชวี ติ อืน่ ใดปนเลย
อาหารในการใช้เลี้ยงสาหร่าย
1. อาหารเหลว(Liquid media)ประกอบด้วย 2 ประเภทคือ
1.1 ธาตุอาหารหลัก(Macronutrients)
1.2 ธาตุอาหารรอง(Micronutrients)
- ธาตุอาหารรองอนินทรีย(์ Inorganic micronutrients)
- ธาตุอาหารรองอินทรีย(์ Organic micronutrients)แบ่งได้ 3 กลุม่ คือ
1.คาร์โบไฮเดรต
2.เกลืออินทรียห์ รือสารประกอบทีม่ ีเกลืออินทรียอ์ ยูด่ ว้ ย
3.วิตามิน
2. อาหารแข็งหรืออาหารวุน้ (Solid or agar media)ทาโดย
เตรียมอาหารเหลวทีเ่ พาะเลี้ยงก่อนแล้วเติมวุน้ ลงไป 0.5 % วุน้ ทีใ่ ช้เป็ นวุน้ ทีบ่ ริ
สุทธ์เรียกว่า (Bacto - agar)การแยกเชื้อสาหร่ายควรเตรียมวุน้ ให้แข็ง
หรือถ้าต้องการทาอาหารแบบเอียง(Slant agar)เพิ่มพื้นทีใ่ นหลอดใส่
วุน้ ประมาณ 1 - 1.5 % วุน้ ทีม่ ีคณ
ุ ภาพดี Bacto - agar อาหารวุน้
ที่เตรี ยมจะใส่ ขวดกลมและแบนราวครึ่ งหนึ่ งภาชนะ
นา้ ที่ใช้ในการเลี้ยงสาหร่าย
1. นา้ จืดโดยทัว่ ไปใช้นา้ กรองทีต่ งั้ ทิ้งไว้ นา้ กลัน่ นา้ บาดาล หรือนา้ ทีป่ ลอด
จากวัตถุมีพิษ นา้ ทีก่ รองเพื่อกาจัดสิ่งเจือปนไม่ใช้นา้ ประปาเพราะมีคลอรีน
2. นา้ ทะเลใช้นา้ ทะเลธรรมชาติตงั้ ทิ้งไว้ 6 เดือน ในอุณหภูมิตา่ หรือนา้ ทะเลเทียมก็
ได้ถา้ ใช้นา้ ทะเลธรรมชาติควรเติมสารอาหารทัง้ อินทรียส์ ารและอนินทรียส์ าร
ส่วนผสมธาตุอาหารทีเ่ ติมลงในนา้ ทะเลธรรมชาติสามสูตรได้แก่สูตรของ
Miquel สูตรของ Allen and Nelson และสูตรของ
Ketchum and Redsield Miquel
เทคนิคการแยกเชื้อและการทาให้เชื้อบริสทุ ธิ์
(Isolation and purisication techniques)
การแยกเชื้อให้บริสุทธิ์ตอ้ งทาให้ถูกต้องและเหมาะสมการเก็บเชื้อสาหร่ายต้องคานึงเป็ น
ประการแรก
การเก็บเชื้อสาหร่าย (Collection)เก็บจากธรรมชาติใช้ถุงแพลงก์ตอนขูดตามก้อนหิน
ขูดตามพื้นนา้ ควรศึกษาทันทีเพื่อป้ องกันการเน่าเสียของสาหร่าย
การเก็บธรรมชาติขอ้ สองเก็บจากดิน ทรายแห้งๆ บริเวณทางนา้ พื้นให้แห้งและหยดนา้ บน
ดินเล็กน้อย นาจานทีว่ างทิ้งไว้ 2 ชัว่ โมงจะเกิดสาหร่ายและโปรโตซัว
การแยกเชื้อ (Isolation)
1. เทคนิคการล้างเซลล์ดว้ ยไมโครปิ เปต (Micropipette washing)เป็ น
การแยกสารขนาดเล็กทีด่ ูดว้ ยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้ปิเปตขนาดเล็ก
Micropipette ดูดสาหร่ ายที่เซลล์หรื อจานวนเซลล์ไม่มากนักแล้วล้างด้วย
น้ ากลัน่ หลายครั้ง
2. เทคนิคอะตอไมเซอร์ (Atomizer technique)เป็ นการแยกเชื้อแล้วทา
ให้บริสุทธิ์โดยกรปั่ นสาหร่ายให้ตกตะกอน (centrifugation)
3. การเลือกใช้สูตรอาหาร (Selective media)เหมาะแก่สาหร่ายขนาดเล็กที่
มองได้ดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ไม่เหมาะกับสาหร่ายขนาดใหญ่โดยการเตรียมเชื้อสาหร่ายที่
ต้องการเลี้ยงขจัดสิง่ มีชวี ติ อยูบ่ นสาหร่ายให้หมด
จุดประสงค์เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดไดอะตอมหรือสาหร่ายที่ตอ้ งใช้ ซิลกิ าเพือ่ การเติบโตใน
หลอดเลี้ยง
4. ดุลยภาพทางออสโมติก (Osmotic balance) โดยการล้างสาหร่ายด้วย
สารละลายเกลือทีม่ ีความเข้มข้นทางออสโมซิสต่างกันสลับกับล้างตัวอย่างในนา้ กลัน่ หลาย
ครัง้ การล้างแต่ละครัง้ ต้องล้างอย่างรวดเร็วเพื่อไม่ให้เสื่อมคุณภาพ
- การทาเชื้อสาหร่ายให้บริสุทธิ์ (Purification)
1.การล้างด้วยเทคนิคการปั่ นให้ตกตะกอน (Washing by
centrifugation technique)
เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสาหร่าย: การวิจยั พัฒนาเพือ่ การผลิตพลังงาน
สาหร่ายเป็ นสิง่ มีชวี ติ สังเคราะห์แสงและจับคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ในการสร้างเซลหรือ
ชีวมวล (biomass) ทีผ่ า่ นมามีการนาสาหร่ายทัง้ microalgae และ
macroalgae มาใช้ประโยชน์ในด้านอาหารคน สัตว์ อาหารเพื่อสุขภาพ และ
เครือ่ งสาอางค์ เป็ นต้น นอกจากนัน้ มีการนาไปใช้ในการบาบัดนา้ เสีย และปั จจุบนั มีการ
วิจยั พัฒนานาสาหร่ายมาใช้ผลิตพลังงาน เช่น นา้ มันไบโอดีเซล การนาชีวมวลสาหร่ายมา
ผลิตไบโอก๊าซ หรือใช้สาหร่ายในการผลิตไฮโดรเจน อย่างไรก็ตาม ในการผลิตสาหร่ายเชิง
พาณิชย์ มีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเพียงไม่กี่ชนิด ตัวอย่างเช่น Spirulina 3,000
ตันต่อปี Chlorella 2,000 ตันต่อปี และ Dunaliella 1,200 ตันต่อปี
เป็ นต้น โดยการใช้ยงั จากัดเฉพาะเป็ นอาหารสุขภาพในคน อาหารสัตว์นา้
1. ทาไมสนใจใช้สาหร่ายในการผลิตพลังงาน นอกจากใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ใน
การสังเคราะห์แสง และคาร์บอนไดออกไซด์ในการสร้างสารประกอบอินทรียแ์ ล้ว
สาหร่ายขนาดเล็กหลายสายพันธุม์ ีลิปิด (lipid) เป็ นส่วนประกอบของเซล
นอกเหนือไปจากโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต ปริมาณลิปิดอาจสูงถึงร้อยละ 50-70
ของนา้ หนักแห้ง
2. ต้นทุนการผลิตนา้ มันจากสาหร่าย ต้นทุนการผลิตนา้ มันจากสาหร่ายประกอบด้วยต้นทุน
3 ส่วนคือ ทีด่ นิ ทีใ่ ช้กอ่ สร้างบ่อเลี้ยง (land) เงินลงทุนก่อสร้าง (capital) และ
ค่าใช้จา่ ยในการเลี้ยง (operation) จากการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆพบว่า
นา้ มันจากสาหร่ายมีตน้ ทุนการผลิตอยูร่ ะหว่าง $10-32 ต่อแกลลอน ทัง้ นี้คา่ ใช้จา่ ยในการ
ผลิตขึ้นกับ productivity ของสาหร่าย ทีผ่ ลผลิตตา่ (10 กรัมต่อตารางเมตร
ต่อวัน 15% triglyceride) ต้นทุนการผลิตประมาณ 25 เหรียญต่อแกลลอน
ถ้า productivity เพิ่มขึ้นเป็ น 25 และ 50 กรัมต่อตารางเมตรต่อวัน ต้นทุนการ
ผลิตลดลงเหลือ 7-8 และ 3 เหรียญต่อแกลลอนตามลาดับ (ในบ่อเปิ ด
productivity อยูร่ าว 10-15 กรัมต่อตารางเมตรต่อวัน)
3. ปัจจัยทีม่ ีผลต่อ Productivity ของสาหร่ายผลิตนา้ มัน
ชนิดของสาหร่าย (characteristics, algal biology and
physiology)
สภาวะทีใ่ ช้เลี้ยง ปั จจัยด้านสิง่ แวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ความเข้มแสง ความต้องการสารอาหาร
วิธีการเพาะเลี้ยง เช่น บ่อเปิ ด (raceway) หรือในระบบปิ ด
(photobioreactor)
สาหร่ายทีม่ ีความเหมาะสมในการนามาผลิตนา้ มันเพื่อเป็ นพลังงานควรมีอตั ราการเจริญเติบโตสูง ให้
ปริมาณนา้ มันสูง (นา้ มันเป็ นองค์ประกอบหลักในเซล) ทนต่อสภาวะแวดล้อมทีก่ ว้าง และมี
ประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสงสูง นอกจากนี้ควรให้ by products ทีม่ ีมูลค่าสูงด้วย
เพื่อให้ได้สายพันธุท์ มี่ ีปริมาณนา้ มันสูง ต้องศึกษา หรือมีความเข้าใจในชีววิทยาของสาหร่าย เช่น การ
คัดแยกสายพันธุจ์ ากธรรมชาติ (novel habitats and ecosystems) มี
วิธีการ screening ทีร่ วดเร็วเพื่อค้นหาว่าสายพันธุใ์ ดมีปริมาณนา้ มันสูง รวมทัง้ มีการเก็บ
รวบรวมสายพันธุ ์ สาหร่ายสปี ซสี เ์ ดียวกันอาจมีความแตกต่างกันในแต่ละ strain จึงต้องมี
ข้อมูลความแตกต่างในแต่ละ strain หรือ variety เช่นปริมาณนา้ มัน และสภาวะแวดล้อม
ทีเ่ หมาะสม
4. ระบบเลี้ยงสาหร่าย
มีอยู่ 2 แบบใหญ่ คือ บ่อเปิ ด (open pond) และ ระบบปิ ด ที่ เรียกว่า
photobioreactor ระบบทัง้ สองมีขอ้ ดีขอ้ ด้อยดังต่อไปนี้
ระบบ่อเปิ ด ราคาก่อสร้างและการเลี้ยงถูกกว่า แต่จากปั ญหาการกวนทีไ่ ม่มี
ประสิทธิภาพ การกระจายของแสงไม่ทวั่ ถึง มีการสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ได้
ความเข้มข้นของเซลตา่ ประมาณ 0.1-0.2 กรัมต่อลิตร ในขณะทีร่ ะบบปิ ดให้ความเข้มข้น
เซลสูงถึง 2-8 กรัมต่อลิตร ในระบบเปิ ดมักเกิดการปนเปื้ อนของจุลินทรียอ์ นื่ ในระบบปิ ด
จะเกิดการเจริญของสาหร่ายทีผ่ นัง reactor (wall growth) นอกจากนัน้
ในระบบ photobioreactor อาจมีปัญหาเรือ่ งการขยายขนาด
5. Algae biorefinery
จากการทีก่ ารเลี้ยงสาหร่ายเพื่อผลิตนา้ มันยังมีราคาแพง เพื่อให้เกิดความคุม้ ทุนมากขึ้น
จึงมีแนวคิดทีจ่ ะนา by products จากสาหร่ายมาใช้ จากการทีส่ าหร่าย
ประกอบด้วยลิปิด คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน ดังนัน้ ลิปิดถูกแยกออกไปเป็ นไบโอดีเซล
ส่วนของคาร์โบไฮเดรต นาไปใช้ในการผลิตเอทานอล และโปรตีนไปเป็ นอาหารสัตว์ เป็ น
ต้น
ในสหรัฐอเมริกา มีการลงทุนวิจยั พัฒนาการผลิตนา้ มันจากสาหร่ายมาก ทัง้ จาก
ภาครัฐและเอกชน ตัวอย่างเช่น Sapphire Energy, Inc.
Solazyme, Inc. ความร่วมมือระหว่าง Exxon Mobil and
Synthetic Genomics, Inc. เป็ นต้น
รีดนา้ มัน"สาหร่าย"เทรนด์ใหม่พลังงาน
มีคนเคยคานวณ ถ้าชาวโลกยังคงใช้นา้ มันเชื้อเพลิงซึง่ เป็ นพลังงานจาก
ฟอสซิล หรือซากดึกดาบรรพ์ ในปริมาณเท่าทีใ่ ช้กนั อยูท่ ุกวันนี้ อีกไม่เกิน 40 ปี
โลกใบนี้จะไม่เหลือนา้ มันให้ใช้ จึงไม่แปลกทีย่ ามนี้หลายประเทศเริม่ ตัง้ หน้าค้นหา
แหล่งพลังงานในประเทศของตน เท่าทีจ่ ะควานหาได้
บ้านเรานอกจากมีปาล์มนา้ มัน อ้อย มันสาปะหลัง สบูด่ า ทีพ่ อหาได้และคน
ไทยนามาผลิตเป็ นพลังงานทางเลือกทดแทนนา้ มันจากฟอสซิล ทัง้ ในรูปไบโอ
ดีเซล และเอทานอล โชคดียงั มีแหล่งเชื้อเพลิงซ่อนรูปอยูใ่ นพืชอีกชนิดหนึ่ง ซึง่
หลายประเทศกาลังให้ความสนใจศึกษา เพื่อหวังนาองค์ความรูท้ ไี่ ด้ไปต่อยอด
นาไปผลิตเป็ นเชื้อเพลิงทางเลือกทดแทน นา้ มันในอนาคต พืชทีว่ า่ ก็คอื
“สาหร่าย” นัน่ เอง
นา้ มันจากสาหร่าย
จากราคาพลังงานทีป่ รับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะราคาทีน่ า้ มันดิบทีป่ รับเพิ่มขึ้นไปถึง
ระดับกว่า 110 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ทาให้กระทรวงพลังงานต้องเร่งหาพลังงาน
ทดแทนประเภทอืน่ มาเสริมเพื่อลดการใช้นา้ มันลง ซึง่ ทีผ่ า่ นมาก็ได้มีนโยบายส่งเสริมการ
ใช้นา้ มันแก๊สโซฮอล์ ซึง่ มีสว่ นผสมของเอทานอลในเนื้อนา้ มันเบนซิน โดยวัตถุดบิ หลักที่
นามาผลิตเอทานอลก็มาจากพืชผลทางการเกษตร คือ มันสาปะหลัง กากนา้ ตาลหรือ โม
ลาส ส่วนนา้ มันดีเซล ก็ได้สง่ เสริมให้มีการใช้นา้ มันปาล์มดิบ สบู่ดา มาผสมเป็ นนา้ มันไบ
โอดีเซล และขณะนี้ก็ได้มีการคิดค้น วิจยั ในการนาสาหร่ายมาผลิตเป็ นนา้ มันไบโอดีเซล
เพื่อแทนการนาพืชอาหารมาผลิตเป็ นพืชพลังงาน
ซึง่ ในส่วนของการนาสาหร่ายมาสกัดเป็ นนา้ มัน ก็ถือว่าไม่ใช่เรือ่ งใหม่ทเี่ กิดขึ้น เพียงแต่เป็ นการศึกษา
ทดลองในห้องแล๊ปเท่านัน้ แต่ขณะนี้ เริม่ เห็นสัญญาณทีจ่ ะนาสาหร่ายมาทดลองเลี้ยงในพื้นทีจ่ ริงแล้ว ซึง่
หากได้ผล แน่นอนว่าในอนาคตประเทศไทยจะมีนา้ มันไบโอดีเซลทีผ่ ลิตจากสาหร่ายมาใช้ควบคูไ่ ปกับ
นา้ มันไบโอดีเซลทีผ่ ลิตจากปาล์มก็เป็ นได้
เนื่องจากการผลิตนา้ มันจากสาหร่ายถือว่าเป็ นเรือ่ งใหม่สาหรับประเทศไทย กระทรวงพลังงานจึงได้พา
คณะสือ่ มวลชนไปศึกษาดูงาน การผลิตนา้ มันจากสาหร่ายทีโ่ รงไฟฟ้ าถ่านหิน Tarong ซึง่ ตัง้ อยูใ่ น
รัฐควีนแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ซึง่ เป็ นสถานที่ ทีม่ ีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายโดยการใช้กา๊ ซคาร์บอนไดซ์
ออกไซต์ทปี่ ล่อยจากโรงไฟฟ้ า โดยการดาเนินการดังกล่าว ทางบริษทั บริษทั ล็อกซเล่ย์ จากัด (มหาชน)
ได้เข้ามาเป็ นพันธมิตรร่วมกับ MBD Energy ซึง่ ถือเป็ นบริษทั ทีม่ ีความชานาญและมี
เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม ทีพ่ ร้อมจะขยายเป็ นเชิงพาณิชย์ได้ภายในสิ้นปี น้ ี
สาหรับแผนการผลิตนา้ มันจากสาหร่ายในประเทศไทย ถือเป็ นความร่วมมือของ กรมพัฒนา
พลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน หรือ พพ. กระทรวงพลังงาน บริษทั ล็อกซเล่ย์
จากัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิ เตรเลียม จากัด (มหาชน) และบริษทั ผลิตไฟฟ้ าราชบุรี
โฮลดิ้ง จากัด (มหาชน) ทีจ่ ะดาเนินการร่วมกัน โดยในส่วนของ พพ.จะเป็ นผูก้ าหนด
นโยบาย ล็อกซเล่ยแ์ ละบางจากจะเป็ นผูล้ งทุน โดยเบื้องต้นจะต้องใช้เงินลงทุนประมาณ
70 ล้านบาท โดยสัดส่วนการลงทุนจะอยุท่ รี่ อ้ ยละ 50 ส่วนบริษทั ผลิตไฟฟ้ าราชบุรฯี
จะให้ใช้พ้ ืนทีจ่ านวน 6 ไร่ ก๊าซคาร์บอนไดซ์ออกไซต์ทปี่ ล่อยจากโรงไฟฟ้ า และระบบ
สาธารณูปโภค เช่น นา้ ไฟฟ้ า เป็ นต้น
การผลิตไบโอดีเซลจากสาหร่าย
ไบโอดีเซล เป็ น พลังงานทดแทนทีไ่ ด้จากพืชนา้ มันและไขสัตว์เป็ นหลัก กรณีพืชนา้ มันอาจ
กล่าวได้วา่ ไม่วา่ พืชใดทีส่ ามารถหีบนา้ มันออกมาได้ก็สามารถนาไปผลิตไบโอดีเซลได้
สาหรับประเทศไทยได้มีการผลิตไบโอดีเซลจากส่วนต่างๆ ของปาล์ม เช่น ปาล์มดิบ
นา้ มันปาล์มบริสุทธิ์ ไขปาล์ม และนา้ มันปาล์มทีผ่ า่ นการใช้ทอดอาหารแล้ว เป็ นต้น เพื่อใช้
ทดแทนนา้ มันดีเซลกับเครือ่ งจักรทางการเกษตร หรือใช้ผสมกับนา้ มันดีเซลเพื่อใช้ในภาค
ขนส่ง นอกจากปาล์มนา้ มันแล้ว พืชอีกชนิดหนึ่งทีก่ าลังได้รบั ความสนใจจากทัว่ โลก ในการ
นามาค้นคว้าวิจยั เพื่อสร้างสรรค์พลังงานใหม่ในอนาคต คือ “สาหร่าย” ทัง้ นี้สาหร่ายเป็ น
พืชทีพ่ บได้ทว่ั ไปทัง้ ในนา้ จืด นา้ เค็ม และนา้ กร่อย สาหร่ายทีน่ ามาสกัดนา้ มันได้เรียกว่า
“จุลสาหร่าย” (Microalgae) เป็ นคนละชนิดกับสาหร่าย ทีใ่ ช้เป็ นอาหาร ที่
เรียกว่าสาหร่ายขนาดใหญ่ หรือ (Macroalgae) จุลสาหร่ายเป็ นสิง่ มีชวี ติ ขนาด
เล็กคล้ายแบคทีเรียแต่สามารถสังเคราะห์แสง เพื่อเป็ นอาหารให้กบั ตัวเองได้ ดังนัน้ การ
ผลิตเชื้อเพลิงจากสาหร่ายจึงเป็ นทางเลือกทีม่ ีประสิทธิภาพ
ข้อดีของการนาสาหร่ายมาผลิตไบโอดีเซล
1. เติบโตเร็ว
2. ได้ปริมาณนา้ มันทีม่ ากกว่าเมื่อเทียบกับพื้นที่ ทีเ่ ท่ากันกับการเพราะปลูกพืชนา้ มัน
ชนิดอืน่ เช่น ปาล์มนา้ มัน
3. สาหร่ายบางชนิดสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ทุกวัน
4. ไบโอดีเซลจากสาหร่ายไม่มี ซัลเฟอร์เจือปน
5. ลดภาวะโลกร้อน เนื่องจากสาหร่ายต้องใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในการสังเคราห์แสง
6. การนาไปใช้เป็ นเชื้อเพลิงไม่ได้ทาให้เกิดปั ญหาในการแย่งส่วนแบ่งทางอาหารหรือ
เกษตรกรรม
การสกัดนา้ มันจากสาหร่าย
การสกัดนา้ มันจากสาหร่าย มีหลายวิธีดว้ ยกัน คือ การบีบ (oil press method) การ
สกัดโดยใช้สารละลายเฮกเซน (hexane solvent method) และ ซุปเปอร์คริตคิ อล
ฟลูอดิ (supercritical fluids method)
การบีบนา้ มัน (oil press) เป็ นวิธีทงี่ า่ ยและเป็ นทีน่ ิยม หลักการเหมือนกับการบีบนา้ มัน
มะกอก การสกัดนา้ มันโดยวิธีน้ ีจะได้นา้ มันประมาณ 75% ของปริมาณสาหร่ายทีน่ ามาบีบ
การสกัดโดยใช้สารละลายเฮกเซน (hexane solvent
method) เป็ นการรวมการบีบและใช้สารละลายเฮกเซนเข้าด้วยกัน โดย
ขัน้ ตอนแรกจะทาการบีบสาหร่ายเพื่อเอานา้ มันก่อนหลังจากนัน้ นาสาหร่ายทีบ่ ีบ
เสร็จมาผสมกับเฮกเซนเพื่อสกัดเอานา้ มันทีเ่ หลือออก การสกัดโดยวิธีน้ ีจะได้
นา้ มันประมาณ 95% ของปริมาณสาหร่ายทีน่ ามาสกัด
เชื้อเพลิงสาหร่าย
เชื้อเพลิงสาหร่าย คือพลังงานเชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง โดยใช้สาหร่ายเป็ นวัตถุดบิ จัดได้วา่ เป็ นพลังงานสะอาดชนิด
หนึ่ง
ประเภทของเชื้อเพลิงสาหร่าย
-ไบโอดีเซลจากสาหร่าย
-ไบโอโซลีนจากสาหร่าย
กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงสาหร่าย
-กระบวนการเพาะเลี้ยงสาหร่าย
เก็บเกี่ยวจากธรรมชาติ
เพาะเลี้ยง
ระบบเปิ ด บ่อสาหร่าย
ระบบปิ ด เครือ่ งปฏิกิรยิ าชีวภาพ
-กระบวนการสกัดนา้ มันสาหร่าย
solvent solvent extraction
-กระบวนการแปรสภาพเป็ นพลังงานเชื้อเพลิง ใช้โดยตรง หรือ ผสมกับเชื้อเพลิงทัว่ ไป
microemulsion
tranesterification
acidic catalyzed transesterification
alkali catalyzed transesterification
enzymetic catalyzed transesterification
non catalyzed transesterification
pyrolysis หรือ thermal cracking
critical CO2 extraction
การวิจยั และพัฒนาเชื้อเพลิงสาหร่าย
การวิจยั ในปัจจุบนั ทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ ต่างมุง่ เด้นด้าน
การคัดเลือกสายพันธุส์ าหร่ายทีม่ ีศกั ยภาพสูง ทัง้ มหสาหร่าย(macro algae) และ จุลสาหร่าย
(micro algae)
กระบวนการผลิตเพาะเลี้ยงทีม่ ีความเหมาะสมทัง้ ปริมาณผลผลิตและช่วยรักษาสิง่ แวดล้อม
กระบวนการสกัดสารจากสาหร่ายทีม่ ีผลิตภาพสูง
กระบวนการแปรสภาพเป็ นพลังงานทีใ่ หอัตราการผลิตสูง
จุดแข็งเชื้อเพลิงสาหร่าย
เป็ นพลังงานทดแทน นา้ มันเชื้อเพลิงแบบดัง้ เดิม(ปิ โตรเลียม)ซึง่ มีราคาสูง
Carbon Cycle บนผิวโลก มีความสมดุล ชะลอการเกิดภาวะโลกร้อน
การใช้สาหร่ายเป็ นวัตถุดบิ ไม่กระทบต่อพื้นทีห่ ลักทางการเกษตรโดยเฉพาะกับประเทศไทย ซึง่ เป็ นปัจจัยการ
ผลิตอาหารของมนุษย์และปศุสตั ว์ สร้างความมัน่ คงทางอาหาร(Food Security)
สาหร่ายมีศกั ยภาพสูงในการนามาผลิตพลังงานเมื่อเทียบกับชีวมวลอืน่ ๆ เนื่องจาก สาหร่ายมีตน้ ทุนการผลิต
ตา่ กว่า และมีความยืดหยุน่ ในการผลิตสูงกว่า ทัง้ ทางเศรษฐกิจและทางสิง่ แวดล้อม
สาหรับประเทศไทย ประเทศไทยสามารถสร้างองค์ความรูแ้ ละวิจยั รวมทัง้ การต่อยอดได้ดว้ ยตัวเอง อันจะ
เป็ นการช่วยการพัฒนาชาติอย่างยัง่ ยืน
การผลิตพลังงานจากสาหร่าย
สาหร่ายกาลังได้รบั ความนิยมจากนักวิจยั ในการนามาเป็ นส่วนประกอบในการผลิต
เชื้อเพลิงชีวภาพสาหรับอนาคต รองมาจาก ข้าวโพดและถัว่ เหลือง เนื่องจากคุณสมบัตติ า่ งๆ
ของสาหร่าย เช่น มีความมันและสามารถแบ่งตัวได้เร็ว ซึง่ คุณสมบัตเิ หล่านี้เป็ นสิง่ ทีด่ งึ ดูดกลุม่
นักวิจยั และได้รบั การสนับสนุนทางด้านการเงินจากหน่วยงานพลังงานทดแทนอย่างแพร่หลาย
กลุม่ ผูส้ นับสนุนกล่าวว่าสาหร่ายในสระทีม่ ีอยูท่ วั่ ไปนัน้ สามารถใช้ผลิตพลังงาน
ทดแทนได้โดยทีไ่ ม่ตอ้ งหาพื้นทีใ่ นการเพาะปลูกหรือ ทาให้นา้ สะอาด นา้ มันทีไ่ ด้
จากสาหร่ายในแหล่งนา้ เหล่านัน้ จะมีคา่ คาร์บอนเป็ นกลางและสามารถถูกสกัดเป็ น
เชื้อเพลิงชีวภาพได้ แต่สงิ่ ทีอ่ าจจะเป็ นอุปสรรคก็คอื เวลาทีใ่ ช้ในการเพาะเลี้ยงซึง่
อาจจะใช้เวลาหลายปี
กลุม่ นักลงทุนเชือ่ ว่าแนวโน้มนี้มีความเป็ นไปได้นนั้ สูง เนื่องจากมีการเริม่ ตัง้ โรงงาน
มากกว่า 100 แห่ง อีกทัง้ ธุรกิจประเภทนี้เติบโต มากขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2551 ซึง่
มีมูลค่ามากถึง 180 ล้านเหรียญฯในช่วงสามไตรมาสแรก เมื่อเปรียบเทียบกับ
มูลค่าในปี พ.ศ. 2550 ทีม่ ีมูลค่า ประมาณ 32 ล้านเหรียญฯอาจจะกล่าวโดยสรุป
ได้วา่ เงินลงทุนเกี่ยวกับการผลิตพลังงานจากสาหร่ายนัน้ สูงถึง 20% ของปริมาณ
เงินทัง้ หมดทีล่ งทุนใน การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ
เงินทุนสนับสนุนส่วนใหญ่นนั้ ถูกใช้ในการปฏิบตั ิการของสามบริษทั ใหญ่ๆ คือ บริษทั
Sapphire Energy ซึง่ ตัง้ อยูท่ เ่ี มืองซานเดียโก, บริษทั
Solarzyme เมืองซานฟรานซิสโก, และบริษทั Solix Biofuels
ซึง่ มีสานักงานใหญ่อยูท่ หี่ อ้ งทดลองทีม่ ีชอื่ ว่า Engines & Energy
Conversion Laboratory ทีม่ หาวิทยาลัย Colorado
State University ทีเ่ มืองฟอร์ด คอลิน (Ford Colins)
ซึง่ จากเงินทุนทีท่ งั้ 3 บริษทั เหล่านี้ ได้รบั นัน้ ได้สร้างความมัน่ ใจทางด้านการเงินที่
จะนามาลงทุนสร้างแหล่งผลิตขนาดใหญ่ได้
กล่าวโดยสรุป คือ ทัง้ สามบริษทั นัน้ พยายามลดต้นทุนการผลิตด้วยวิธีการต่างๆ ที่
สามารถประหยัดพลังงานและเพิ่มปริมาณในการผลิตให้ได้มากขึ้น ไม่วา่ จะเป็ น
การมุง่ เน้นในเชิงชีวภาพหรือเครือ่ งกล กลุม่ นักวิจยั มีความจาเป็ นต้องคานึงถึง
ค่าใช้จา่ ยเป็ นอันดับแรก เช่น ถ้ากระบวนการนัน้ จะต้องใช้แสงอาทิตย์บริษทั ก็
จะต้องลงทุนซื้อพื่นทีเ่ พื่อขยายบริเวณทีจ่ ะรับแสงอาทิตย์ให้มากขึ้น หรือถ้า
กระบวนการนัน้ จะต้องใช้สารประกอบคาร์โบไฮเดรตบริษทั ก็จะต้องมีงบประมาณ
ในการใช้จา่ ยเพื่อพัฒนาวิธีการ เนื่องจากการทีบ่ ริษทั เหล่านี้เป็ นบริษทั ทีเ่ ริม่ ต้น
โครงการการผลิตพลังงานเชื้อเพลิงจากสาหร่ายจึงมีแนวโน้มทีจ่ ะมีรายจ่าย ทัง้
ด้านเครือ่ งกล และการปฏิบตั กิ ารทีส่ ูง และต้องตระหนักด้วยว่าการศึกษาวิธีการ
เกี่ยวกับแหล่งพลังงานใหม่ๆ นัน้ มีความเสีย่ งทางด้านการลงทุนสูง
การแปรรูป
สาหร่าย กาลังเป็ นทีน่ ิยมอย่างมากในคนหลายวัย มีทงั้ ทีผ่ ลิตในประเทศและนาเข้าจาก
จีน ญี่ปุ่น ทีก่ าลังมาแรงคือสาหร่ายจากเกาหลี ส่วนใหญ่เป็ นของกินเล่น เคี้ยวเพลิน
สาหร่ายมีอยูท่ งั้ ในนา้ จืด นา้ กร่อย นา้ เค็ม นา้ พุรอ้ น หิมะหรือทีข่ ้ นึ ตามต้นไม้ แต่สาหร่ายที่
นามาเป็ นอาหาร ได้แก่ สาหร่ายทะเล และสาหร่ายนา้ จืด
สาหร่ายเป็ นแหล่งของโปรตีนคล้าย เนื้อสัตว์ ชาวญี่ปุ่นและชาวจีนเป็ นชาติแรกๆ ที่
เห็นคุณค่าของสาหร่าย อาหารญี่ปุ่นมีเมนูอาหารทีใ่ ช้มีสาหร่ายมากมาย ส่วนอาหารจีนก็
เช่นเดียวกัน คนจีนเรียกสาหร่ายทะเลว่า “ จีฉา่ ย ” นอกจากปรุงอาหารแล้ว สมัยนี้ยงั
นิยมนามาทาเป็ นขนมปรุงรสด้วยซอสถัว่ เหลือง นา้ ตาล พริกไทย หรือเครือ่ งปรุงรสต่างๆ
สาหร่ายเหล่านี้จะเป็ นสายพันธุ ์ Porphyra ชาวญี่ปุ่นเรียกว่า nori เป็ นสาหร่าย
สีแดง ส่วนอีกสายพันธุส์ ายพันธุ ์ Laminaria เป็ นสาหร่ายสีนา้ ตาล คุณค่า
สารอาหารของสาหร่าย สถาบันวิจยั โภชนาการ
มหาวิทยาลัยมหิดลได้ศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของสาหร่ายทะเล ทัง้ ชนิดแผ่นกลมไม่
ปรุงรส ( จีฉา่ ย) ทีน่ ิยมนามาประกอบอาหาร และสาหร่ายปรุงรสชนิดบรรจุซองโดยได้รบั
ทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการ วิจยั แห่งชาติ จากการวิเคราะห์คณ
ุ ค่าทาง
โภชนาการ พบว่ามีโปรตีนระหว่าง 10-40 กรัมต่อสาหร่าย 100 กรัม ( 1 ขีด) ซึง่
ถ้าเทียบกับอาหารทีเ่ ป็ นแหล่งโปรตีนทีด่ ี เช่น เนื้อสัตว์ทนี่ ามาทาแห้ง เช่น เนื้อวัวอบแห้ง
– หมูแผ่น- กุง้ แห้ง ซึง่ จะมีโปรตีนปริมาณ 50-11- 60 กรัมตามลาดับ ก็จดั ได้วา่
สาหร่ายทะเลแห้งชนิดแผ่นสามารถ เป็ นแหล่งทีด่ ขี องโปรตีน จีฉา่ ยทีน่ ิยมนามาประกอบ
อาหารมีปริมาณโปรตีนสูงทีส่ ุดเมื่อเทียบกับสาหร่าย ชนิดปรุงรส นอกจากนี้คณ
ุ ค่าใย
อาหาร ( Dietary fiber) พบว่ามีสูงตัง้ แต่ 27-41 กรัมต่อสาหร่าย 100
กรัม
ซึง่ ถ้าเทียบกับอาหารทีเ่ ป็ นแหล่งโปรตีนทีด่ ี เช่น เนื้อสัตว์ทนี่ ามาทาแห้ง เช่น เนื้อวัวอบแห้ง
– หมูแผ่น- กุง้ แห้ง ซึง่ จะมีโปรตีนปริมาณ 50-11- 60 กรัมตามลาดับ ก็จดั ได้วา่
สาหร่ายทะเลแห้งชนิดแผ่นสามารถ เป็ นแหล่งทีด่ ขี องโปรตีน จีฉา่ ยทีน่ ิยมนามาประกอบ
อาหารมีปริมาณโปรตีนสูงทีส่ ุดเมื่อเทียบกับสาหร่าย ชนิดปรุงรส นอกจากนี้คณ
ุ ค่าใย
อาหาร ( Dietary fiber) พบว่ามีสูงตัง้ แต่ 27-41 กรัมต่อสาหร่าย 100
กรัม และถ้ากินจีฉา่ ยแผ่นกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 22 ซม. 1-5 แผ่นต่อ
วันจะได้รบั ใยอาหารคิดเป็ นร้อยละ 7 ของความต้องการใยอาหารต่อวัน
แต่ถา้ เด็กๆ กินสาหร่ายแบบแผ่นปรุงรส (ขนาด 8.5 ซม. X 3.0 ซม.) ก็ตอ้ งกินเกือบ
30 แผ่น (ประมาณ 7 ซอง) ต่อวันจึงจะได้เส้นใยอาหารในปริมาณเท่ากัน ดังนัน้ ควรรับ
ประมานแบบไม่ปรุงรสทีน่ ามาประกอบอาหารจะให้คณ
ุ ค่ามากกว่า นอก จากนี้สาหร่ายยัง
มีไขมัน แป้ ง และนา้ ตาลจัดว่าน้อยมาก ซึง่ น่าจะเหมาะกับผูท้ ค่ี วบคุมนา้ หนัก หรือผูท้ ม่ี ี
ไขมันในเลือดสูง หรือเด็กทีช่ อบกินจุบจิบ เช่น ขนมกรุบกรอบทีม่ ีแป้ ง นา้ ตาล และไขมัน
สูง นอกจากนี้สาหร่ายยังมีโปรตีน และให้พลังงานโดยรวมอยูร่ ะหว่าง 382-366 กิโล
แคลอรีตอ่ สาหร่าย 100 กรัม ดังนัน้ ถ้ากินสาหร่ายปรุงรส 1 ซอง ซึง่ บรรจุสาหร่ายขนาด
8.5 ซม. X 3.0 ซม. 4 แผ่น จะได้พลังงานไม่ถึง 5 กิโลแคลอรี
แหล่งไอโอดีนที่สาคัญ
สาหร่ายทะเลจัดเป็ นพืชทีเ่ ป็ นแหล่งของไอโอดีน ทีด่ ี แต่ปริมาณไอโอดีนมักจะแตกต่างกัน
ตามแหล่งผลิตทีต่ า่ งกัน แต่อย่างไรก็ตามไม่วา่ จะเป็ นสาหร่ายทะเลปรุงรสหรือไม่ปรุงรสก็
พบว่ามีปริมาณ ไอโอดีนค่อนข้างสูง การกินสาหร่ายทะเลชนิดไม่ปรุงรส เพียง 1/8 ส่วน
ของจีฉา่ ย 1 แผ่น ( ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 22 ซม.) ใน 1 วัน โดยนามาเป็ น
ส่วนประกอบในอาหาร จะได้รบั ไอโอดีนเพียงพอต่อความต้องการไอโอดีนต่อวัน ในขณะที่
ถ้าเป็ นสาหร่ายปรุงรสบรรจุซองทีเ่ ด็กๆ นิยม ถ้าจะกินเพื่อให้ได้ปริมาณไอโอดีน 100
% ตามทีร่ า่ งกายต้องการต่อวัน จะต้องกินมากกว่า 50 แผ่น ซึง่ เป็ นปริมาณที่
ค่อนข้างมาก ถ้าจะให้แนะนาก็ตอ้ งกินเป็ นของว่างประกอบกับอาหารทีเ่ ป็ นแหล่งไอโอดีน
ชนิด อืน่ ๆ ด้วย หรือจะให้ดกี ินสาหร่ายชนิดไม่ปรุงรส (จีฉา่ ย) ทีป่ รุงอาหารบ่อยๆ ก็ทาให้
ได้รบั ไอโอดีนเพียงพอแล้ว ราคาก็ไม่แพง หาซื้อง่าย
ผงชูรสในสาหร่ายปรุงรส
ในสาหร่ายปรุงรสบรรจุซองมีปริมาณผงชูรส หรือโมโนโซเดียมกลูตาเมสสูงกว่า
จีฉา่ ยประมาณ 2-7 เท่า ถ้าเทียบทีป่ ริมาณเท่ากัน ถ้าเกรงว่าเด็กจะกินสาหร่าย
ปรุงรสมากๆ แล้วจะได้รบั ผงชูรสมากเกินไป ก็คงไม่ตอ้ งกลัวมากไป หากลูกของ
คุณกินไม่มากเกินวันละ 10 ซองต่อวัน ก็คงไม่เป็ นปั ญหาเพราะปริมาณทีม่ ีอยู่
ยังไม่จดั ว่ามากจนเป็ นอันตราย แต่หากใครทีม่ ีอาการของการแพ้ผงชูรสได้ง่าย ก็
คงต้องเลี่ยงมากินแบบไม่ปรุงรสดีกว่าส่วนโซเดียมในสาหร่ายปรุงรสจะมี
มากกว่าจีฉา่ ย 2-4 เท่า แต่ปริมาณทีม่ ีอยูใ่ นสาหร่ายปรุงรสถ้าเทียบกับ
ปริมาณทีส่ ามารถกินได้ใน 1 วัน (ประมาณ 8 ซองเล็ก) ก็ไม่ได้ทาให้เสีย่ งต่อ
การได้รบั โซเดียมมากเกินไป แต่ไม่เหมาะต่อผูท้ มี่ ีความดันโลหิตสูง และโรคไต
กินสาหร่ายชนิดไม่ปรุงรสดีกว่า
จากการวิจยั พบว่าปริมาณทีค่ นส่วนใหญ่กินต่อ 1 ครัง้ ถ้าเป็ นสาหร่ายปรุงรส
จะประมาณ 3 ซองเล็ก ( 12 แผ่น) หรือถ้าเป็ นแผ่นใหญ่ ขนาด 9.5 ซม. X
8.5 ซม. ประมาณ 1 ซองครึง่ ( 6 แผ่น) ถ้าเป็ นจีฉา่ ยนามาประกอบอาหาร
1 ครัง้ ต่อแกงจืด 1 ถ้วย สาหรับ 1 คน ก็ประมาณ 1/5 แผ่นกลม ถ้า
เทียบทีป่ ริมาณทีค่ นเรากินต่อวันใน 1 ครัง้ จะได้โปรตีน ใยอาหาร และไอโอดีน
สูงกว่า ในขณะทีป่ ริมาณโซเดียมและโมโนโซเดียมกลูตาเมสตา่ กว่าสาหร่ายปรุงรส
ชนิดบรรจุ ซอง
สาหร่ายอัดเม็ด : อาหารเสริมราคาแพง
ส่วนสาหร่ายอีกชนิดหนึ่งทีไ่ ม่พูดถึงไม่ได้ คือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสาหร่ายอัดเม็ดที่
ขายตามร้านขายยาหรือร้าน Health shop ต่างๆ ผลิตภัณฑ์เหล่านัน้ ไม่ใช่
ผลิตภัณฑ์จากทะเล แต่เป็ นสาหร่ายนา้ จืดนามาอัดเม็ดบรรจุขวดขาย ราคาค่อนข้างแพง
มักใช้กลยุทธ์การขายตรง ถ้าเป็ นสาหร่ายเซลล์เดียวเรียกว่า chlorella ถ้าสาหร่าย
หลายเซลล์เรียกว่า Spirulina หรือสาหร่ายเกลียวทอง สาหร่ายพวกนี้จะถูกเลี้ยง
ในอาหารเลี้ยงทีม่ ีสว่ นผสม lecithin หรือทาเป็ นนา้ เชือ่ มโดยผสมกับนา้ ผึ้ง
สารอาหารทีเ่ ด่นก็คอื โปรตีน วิตามิน เกลือแร่ โดยเฉพาะเบต้าแคโรทีน ซึง่ เป็ นสารตัง้ ต้น
ของวิตามินเอจะมีอยูม่ าก แต่ทต่ี อ้ งระวังในการกินคือมีกรดนิวคลีอกิ สูงมาก โดยเฉพาะพบ
สูงมากในสาหร่ายเกลียวทอง การรับประทานในปริมาณมากจะเสีย่ งต่อโรคเก๊าท์
เช่นเดียวกับพวกทีก่ ินเครือ่ งในสัตว์ และสาหร่ายนา้ จืดจะไม่เป็ นแหล่งของไอโอดีน อันนี้คอื ข้อ
แตกต่างจากสาหร่ายทะเล การเลือกซื้อมารับประทานคงต้องคานึงถึงราคาด้วย เพราะ
จุดเด่นทีม่ ีมากคือเบต้าแคโรทีน ซึง่ ก็จะมีมากในผักผลไม้ทมี่ ีสสี ม้ เหลือง หรือผักใบเขียว
เช่น ตาลึง แครอท ซึง่ ราคาถูกกว่า ดังนัน้ รับประทานผัก ผลไม้คงจะประหยัดคุณค่าดีกว่า
ไม่วา่ คุณจะเลือกกินสาหร่ายชนิดใดนอกจากจะคานึง ถึงรสชาติแล้ว คุณค่าทาง
โภชนาการก็เป็ นสิง่ ทีค่ วรพิจารณาประกอบด้วย เทียบกับความคุม้ ค่าเงินทีต่ อ้ งจ่ายไป
นอกจากนี้มาตรฐานของสาหร่ายจากต่างแหล่งทีม่ าและแหล่งผลิตยังไม่เป็ นทีย่ ืน ยันความ
ปลอดภัยของสารปนเปื้ อน ดังนัน้ การกินอาหารทีห่ ลากหลายน่าจะเป็ นประโยชน์ท่สี ุด
การใช้ประโยชน์จากสาหร่าย
- ใช้เป็ นอาหารมนุษย์ มนุษย์ รูจ้ กั นาสาหร่ายมาใช้เป็ นอาหารนานนับพันปี แล้ว เช่น ชาวจีน ญี่ปุ่น ใช้สาหร่ายสีนา้ ตาล
(Laminaria) และสาหร่ายสีแดง (Porphyra) หรือทีเ่ รียกว่า จีฉา่ ย มาทาอาหารพวกแกงจืด ญี่ปุ่นผสม
Chlorella sp. ลงในชา ซุป นา้ ผลไม้ บะหมี่ และไอศครีม สาหรับห้องปฏิบตั กิ ารสาหร่ายตามธรรมชาติ คัดแยกสายพันธุ ์
บริสุทธิ์ วิเคราะห์ปริมาณโปรตีน 40-50% ศึกษาปั จจัยทีเ่ หมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายในห้องควบคุมเพื่อใช้เป็ น
ข้อมูลในการเลี้ยงในอ่างขนาดใหญ่เพื่อเข้าสูอ่ ุตสาหกรรม ซึง่ ผลงานวิจยั มีมากมาย เช่น การเพาะเลี้ยงสาหร่าย Spirulina
Sp. ในอาหารเลี้ยงเชื้อทีม่ ีโซเดียมไบคาร์บอเนตระดับต่าง ๆ กัน การคัดเลือกหาสภาวะทีเ่ หมาะสมในการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสีนา้ เงิน
แกมเขียว Spirulina Sp. เพื่อใช้เป็ นอาหารมนุษย์ การเพาะเลี้ยงสาหร่ายพันธุพ์ ้ ืนบ้านเพื่อหาปริมาณโปรตีนเปรียบเทียบ
กับ พันธุ ์ Scenedesmus acutus (Selection of Local Algal Strains Related to
Protein Content Compared with Scenedesmus acutus) เปรียบเทียบการเจริญเติบโต
ของสาหร่ายจากการเพาะเลี้ยงด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อ 2 ชนิด (Growth Comparison of Green Algec
Cultivated in Two Different Media.)
- ใช้เป็ นอาหารสัตว์ สาหร่ายสามารถนาไปเลี้ยงสัตว์กระเพาะเดีย่ ว เช่น หมู และสัตว์ปีกได้
เป็ นอย่างดี นอกจากนี้สาหร่ายยังเป็ นอาหารทีจ่ าเป็ นอย่างยิ่งต่อการเลี้ยงสัตว์นา้ วัย อ่อนที่
กินพืชเป็ นอาหาร เช่น ปลา กุง้ และแพลงตอนสัตว์ เช่น ไรแดง ไรนา้ เค็ม ในประเทศญี่ปุ่น
ใช้สาหร่ายเกลียวทองเลี้ยงปลาไหล ปลาเทร้า กุง้ ปลาคาร์พสี เป็ นต้น ทาให้เศรษฐกิจของ
อุตสาหกรรมการเลี้ยงปลาสวยงามได้พฒ
ั นาก้าวไกลออกไปมาก ผลงานวิจยั เช่น การ
เลี้ยงสาหร่าย Spirulina Sp. จากนา้ ทิ้งแหล่งชุมชนเพื่อใช้เป็ นอาหารสัตว์
การศึกษาปริมาณความเข้มข้นทีเ่ หมาะสมของสาหร่าย Chlorella Sp. (K3)
สาหรับนาไปเลี้ยงพวกไดอะตอม แพลงตอนสัตว์ (Lapadella
benjamini) ทีร่ ะดับความหนาแน่นแตกต่างกัน การนา Chlorella Sp.
ทีไ่ ด้จากการเลี้ยงในนา้ ทิ้งโรงงานผลิตนา้ นมถัว่ เหลืองมาเลี้ยงไรแดง ความเป็ นไปได้ในการ
เลี้ยงหอยมุกนา้ จืด Chamberlai hainesiana ด้วยสาหร่ายชนิดต่าง ๆ
ในห้องปฏิบตั ิการ เป็ นต้น
- ใช้ในการกาจัดนา้ เสีย การใช้สาหร่ายในการกาจัดนา้ เสียร่วมกับแบคทีเรีย โดยแบคทีเรียจะ
ทาการย่อยสารประกอบอินทรียต์ า่ ง ๆ ทีม่ ีอยู่ ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ให้เป็ น
สารประกอบอนินทรีย์ เช่น แอมโมเนียม ไนเตรต คาร์บอนไดออกไซด์ และเกลือแร่ตา่ ง ๆ
ในสภาพการเกิดทีม่ ีอากาศ (aerobic) หรือไม่มีอากาศ (anaerobic) จากนัน้
สาหร่ายจะใช้สารประกอบเหล่านี้ในกระบวนการเมตาบอลิสมต่าง ๆ สาหรับสาหร่ายทีไ่ ด้
จากระบบกาจัดนา้ เสียนี้ อาจนามาใช้เป็ นอาหารสัตว์ ปุ๋ ยพืชสด หรือใช้ในการทาแก๊สชีวภาพ
ได้ งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องได้แก่ การศึกษาการเจริญเติบโตของสาหร่าย Spirulina
platensis ทีเ่ พาะเลี้ยงในมูลหมูผสมมูลไก่ทมี่ ีการหมุนเวียนของสารอาหารแตกต่าง
กัน การผลิตสาหร่ายเกลียวทอง จากนา้ ทิ้งโรงงานแป้ งมันสาปะหลัง การเลี้ยงสาหร่าย
เกลียวทองจากนา้ ทิ้งโรงงานนา้ อัดลม เป็ นต้น
- ใช้เป็ นปุ๋ยชีวภาพ สาหร่ายสีนา้ เงินแกมเขียว (Blue green algae) รูจ้ กั กัน
แพร่หลายในแง่ของการใช้เป็ นปุ๋ ยชีวภาพ จากการวิจยั ของสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย พบว่าสาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงินในนาข้าวบางชนิดสามารถตรึง
ไนโตรเจนในอากาศให้ เป็ นสารประกอบไนโตรเจน เช่น แอมโมเนียม ทาให้ขา้ ว
เจริญเติบโต ส่วนใหญ่เป็ นพันธุ ์ Anabaena sp. และ Nostoc sp. พันธุ ์
ทีส่ ถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย พบในประเทศและให้ผลผลิตดี
มีชอ่ื ว่า Anabaena siamensis
- ใช้ในอุตสาหกรรมเครือ่ งสาอาง สาหร่ายประกอบด้วยสารเคมีบางชนิดทีช่ ว่ ยในการรักษา
ผิวหนัง ชนเผ่า Kanembu ทีอ่ ยูร่ อบทะเลสาบชาด ได้ใช้สาหร่ายเกลียวทองรักษา
โรคผิวหนังบางชนิด การศึกษาในประเทศญี่ปุ่นพบว่า เครือ่ งสาอางทีผ่ สมสาหร่ายและสาร
สกัดจากสาหร่ายเกลียวทองช่วยให้ผิวพรรณดี ขึ้นและลดริ้วรอย ส่วนในประเทศไทยก็ได้มี
บริษทั หลายแห่งทีใ่ ช้สาหร่ายเกลียวทองเป็ นเครือ่ ง สาอางในรูปครีมบารุงผิว
- ใช้ในอุตสาหกรรมยา นักวิทยาศาสตร์และนายแพทย์หลายท่านได้ทดลองใช้สาหร่ายเกลียวทองในการป้ องกัน และรักษาโรคต่าง
ๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคกระเพาะ อีกทัง้ ยังช่วยลดความเครียดและความไม่สมดุลในร่างกาย ในประเทศฝรัง่ เศส ได้ทดลองใช้
ยาทีผ่ สมสาหร่ายเกลียวทองทาแผล ทาให้แผลแห้งเร็วขึ้น ธาตุแมกนีเซียมในคลอโรฟิ ลล์ยงั มีบทบาทอย่างสาคัญในการรักษา
บาดแผล มีคณ
ุ สมบัตใิ นการฆ่าเชื้อป้ องกันการเกิดของแบคทีเรียและช่วยสร้างเซลล์ข้ นึ มาใหม่ดว้ ย คลอโรฟิ ลล์ในสาหร่ายมี
โครงสร้างเหมือนสารสีแดงในเลือด (hemo-globin) นักวิทยาศาสตร์จงึ แนะนาให้ใช้คลอโรฟิ ลล์รกั ษาโรคโลหิตจาง
นอกจากนี้สาหร่ายบางชนิดสารปฏิชวี นะซึง่ เป็ นประโยชน์ตอ่ วงการแพทย์ ได้แก่ cyanophycin หรือ
marinamycin ซึง่ สารเหล่านี้มีคณ
ุ สมบัตใิ นการยับยัง้ การเจริญของแบคทีเรียทีเ่ ป็ นสาเหตุ ของโรคต่าง ๆ ได้
สาหร่ายสีนา้ เงินแกมเขียว scytonema No.11 เป็ นสาหร่ายทีส่ ถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศ
ไทย แยกได้จากดินนาจังหวัดพิษณุโลก พบว่า สามารถผลิตสารปฏิชวี นะ Cyanobacterin ซึง่ มีคณ
ุ สมบัตเิ ป็ นทัง้
algicide และ bacteriocide ทีย่ บั ยัง้ การเจริญเติบโตของสาหร่ายและแบคทีเรียบางชนิดได้
- ใช้ในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ
สาหร่ายสีแดงพวก Gelidium, Gracilaria สามารถนาไปสกัดทาเป็ นวุน้ เพื่อนาไปใช้ในการประกอบอาหาร และ
เป็ นอาหารเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์
สาหร่ายสีนา้ ตาลพวก Laminaria, Ascophyllum, Macrocystis นาไปสกัดเป็ น แอลจินหรือแอลจิ
เนต ซึง่ นาไปใช้ในการทานม ขนมปั ง ไอศครีม ขนมหวาน ลูกกวาด สบู่ แชมพูสระผม เป็ นต้น
ปั จจุบนั ห้องปฏิบตั กิ ารสาหร่ายนอกจากจะ พัฒนากรรมวิธีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเป็ นแหล่งอาหารโปรตีนแล้ว ยังได้นาสายพันธุ ์
สาหร่ายทีม่ ีศกั ยภาพทีส่ ามารถผลิตในทางการค้า เช่น Chlorella, Scenedesmusbs Spirulina,
Dunaliella, Haematococcus มาศึกษาหาสภาวะทีเ่ หมาะสมในการเพาะเลี้ยงเพื่อผลิตสารอาหารหรือ
สารเคมีทมี่ ี มูลค่าสูง รวมทัง้ วิธีการสกัด การนาไปใช้ประโยชน์และการแปรรูปในด้านต่าง ๆ นอกจากนี้หอ้ งปฏิบตั กิ าร
สาหร่ายยังให้บริการสายพันธุส์ าหร่าย ให้คาปรึกษา แนะนาด้านการเพาะเลี้ยงและการใช้ประโยชน์จากสาหร่ายแก่นิสติ
นักศึกษาและประชาชนทีส่ นใจทัว่ ไปด้วย
สาหร่ายทะเลกินมากไปก็อนั ตราย
สาหร่ายทะเลอบกรอบ เป็ นของกินเล่นทีเ่ ด็กๆ ส่วนใหญ่ชอบกันมาก ซึง่ ก็เป็ นเรือ่ งทีน่ ่าดีใจ
สาหรับพ่อแม่ทงั้ หลาย เพราะว่าสาหร่ายทะเลเป็ น อาหารชนิดหนึ่งทีม่ ีประโยชน์ตอ่ สุขภาพ
มากมาย (ดีกว่าไปกินขนมทีไ่ ม่มีประโยชน์) มีแร่ธาตุทส่ี าคัญต่อร่างกายหลายชนิด เช่น
ไอโอดีน (ซึง่ จาเป็ นต่อการทางานของต่อมไทรอยด์) ทองแดง และเหล็ก (มีประโยชน์ตอ่
เลือด) แมกนีเซียม (ช่วยให้กล้ามเนื้อ และประสาท ทางานอย่างมีประสิทธิ-ภาพ)
แคลเซียม (ช่วยบารุงกระดูก) โพแทสเซียม (ช่วยควบคุมเซลล์ทงั้ หลาย รวมถึงความ
สมดุลของนา้ ในร่างกาย) สังกะสี (ช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคมุ ้ กัน) กากใยอาหาร (ทาให้
ท้องไม่ผูก) รวมทัง้ วิตามินบีและ เบต้าแคโรทีนด้วยตามปกติสาหร่ายอบแห้งธรรมดาทีย่ งั
ไม่นามาปรุงอาหารก็มี รสเค็มโดยธรรมชาติอยูแ่ ล้ว
ดังนัน้ เมื่อนามาปรุงรสโดยการอบซอส (เป็ นของกินเล่น) ปริมาณของโซเดียมใน
สาหร่ายจึงมีมากขึ้น สิง่ ทีน่ ่าเป็ นห่วงและสิง่ ที่พอ่ แม่ทุกคนควรจะทราบไว้ ก็คอื
อย่าให้ลูกกินสาหร่ายปรุงรสมากเกินไป (เคยทราบมาว่าเด็กๆบางคนกินสาหร่าย
ครัง้ หนึ่งเกือบ ๕๐ ซองเล็กๆ เพราะอร่อยจนยัง้ ไม่อยู)่ เพราะจะทาให้รา่ งกาย
ได้รบั ไอโอดีน มากเกินความต้องการ ซึง่ จะมีผลทาให้ตอ่ มไทรอยด์ทางาน
ผิดปกติ มีอาการกระวนกระวาย ใจสัน่ และหิว ตลอดเวลานอกจากนี้ สาหร่าย
ทะเลยังมี สารจาพวกนิวคลีอกิ ซึง่ ร่างกายสามารถเปลี่ยนเป็ นกรดยูรกิ ได้ แล้วถ้า
กินมากๆ ติดต่อกันเป็ นเวลานาน ก็อาจทาให้เป็ นโรคเกาต์ได้ดว้ ย ขณะเดียวกันผู ้
ทีเ่ ป็ นโรคไตหรือความดันเลือดสูง ก็จะต้องระมัดระวังเป็ นพิเศษ ในการกิน
สาหร่ายทีม่ ีเกลือโซเดียมสูง
สรรพคุณ / ประโยชน์ของสาหร่ายทะเล
1. ไอโอดีน โดยปกติแล้วคนเราต้องการไอโอดีนประมาณ 0.1-0.3 มิลลิกรัมต่อวัน หากเทียบกับการ
กินสาหร่ายทะเลชนิดแผ่นขนาดกว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร แค่น้ ีก็เพียงพอต่อความต้องการ
ของร่างกายในแต่ละวันและช่วยป้ องกันโรคคอพอกได้
2. ธาตุเหล็ก เป็ นสารอาหารอีกชนิดหนึ่งทีม่ อี ยูใ่ นสาหร่ายทะเล ซึง่ ช่วยบารุงผิวพรรณให้ดเู ปล่งปลัง่ มีนา้ มี
นวลรวมทัง้ บารุงเส้นผมให้ดกดาเป็ นมันเงางามมากยิง่ ขึ้น
3. ทองแดง หน้าทีด่ ูดซึมธาตุเหล็กและสร้างฮีโมโกลบินทีไ่ ขกระดูก หากร่างกายขาดธาตุน้ ีจะทาให้เป็ นโรค
โลหิตจางและผมร่วงง่าย
4. สังกะสี เป็ นส่วนประกอบของเอนไซม์หลายชนิดในร่างกายช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคมุ ้ กัน
5. ใยอาหาร ช่วยเพิ่มปริมาณอุจจาระทาให้ทอ้ งไม่ผกู และเร่งการขับถ่ายสารพิษต่างๆ ในทางเดินอาหาร
6. อย่างไรก็ดี ถึงแม้คณ
ุ จะชอบสาหร่ายมากเพียงใดก็ควรรับประทานในปริมาณทีพ่ อเหมาะ เพราะใน
สาหร่ายมีปริมาณโซเดียมสูงผูท้ เ่ี ป็ นโรคไตและความดันโลหิตสูงจึงควรระวัง
7. สาหร่ายทะเลไม่เพียงอร่อย แต่ยงั มากด้วยประโยชน์ ทีส่ าคัญมีราคาทีไ่ ม่แพงนัก เห็นทีม้ อื เทีย่ งนี้ตอ้ ง
มองหาสาหร่ายทะเลมาทากับข้าวทานบ้างแล้วค่ะ