Transcript ผัก

ผัก (Vegetable Crop)
ผัก เป็ นพืชล้ มลุกที่มีช่วงอายุการเจริญเติบโตสัน้
(annual crop) สามารถนามาบริโภคเกือบได้ ทงั ้ ต้ น
ทัง้ ใบ ก้ าน ผล
ธรรมชาติของ
พืชผักส่ วนใหญ่
เป็ นพืชอวบนา้
(succulent)
การจัดจาแนก
Kingdom (อาณาจักร)
Division (หมวด)
Class (ชัน้ )
Order (อันดับ)
Family (วงศ์ )
Genus (สกุล)
Species (ชนิด)
Varity (สายพันธุ์)
การเรียกชื่อพืช
1. ชื่อสามัญ (Common name) เป็ นชื่อที่จาได้
ง่ าย แต่ พืชชนิดเดียวกันมีช่ ือเรียกได้ หลายชื่อ แตกต่ าง
กันไปในแต่ ละท้ องถิ่น ชื่อดังกล่ าวจึงอาจทาให้ เกิด
ความสับสนได้
2. ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific mane) เป็ นชื่อ
สากลที่ใช้ เรี ยกพืชชนิดเดียวกันทั่วโลก
ประกอบด้ วยชื่อสกุล (genus) และชื่อที่ระบุชนิด
ของพืชในสกุลนัน้ (species)
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
1. ชื่อทัง้ สอง คือ genus กับ species จะต้ องเขียนคู่
กันเสมอ
2. จะใช้ การเขียนด้ วยตัวเอน หรือการขีดเส้ นใต้ แต่ ละชื่อ
เพื่อแสดงว่ าเป็ นชื่อเฉพาะ
3. ชื่อสกุลเขียนขึน้ ต้ นด้ วยอักษรตัวใหญ่ ส่ วนชื่อชนิด
เขียนด้ วยอักษรตัวเล็กทัง้ หมด
4. บางครั ง้ อาจเขียนชื่อนักวิทยาศาสตร์ ท่ เี ป็ นผู้ตงั ้ ชื่อพืช
นัน้ เป็ นคนแรกลงไปด้ วย
ตัวอย่ างการเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
ข้ าว
Oryza sativa Linn.
สกุล (genus) ชนิด (species)
Linnaeus
นักวิทยาศาสตร์ ผ้ ูตัง้ ชื่อ
1. การจัดจาแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์
(Botanical Classification)
เป็ นการจัดให้ พืชผักที่มีลักษณะทางสัณฐานวิทยา
และวงจรชีวติ ที่คล้ ายกันอยู่ในกลุ่มเดียวกัน เช่ น
Division Anthophyta
Class Monocotyledons
Family Alliaceae
Allium cepa : onion
Allium sativum : garlic
Division Anthophyta
Class Monocotyledons
Family Liliaceae
Asparagus officinalis : asparagus
Family Poaceae
Zea mays : corn
Division Anthophyta
Class Dicotyledons
Family Brassicaceae
Brassica oleracea var. botrytis : cauliflower
Brassica oleracea var. cepitata : cabbage
Brassica oleracea var. italica : broccoli
Division Anthophyta
Class Dicotyledons
Family Apiaceae
Daucus carota : carrot
Petroselium crispum : parsley
Division Anthophyta
Class Dicotyledons
Family Cucurbitaceae
Cucumis sativus : cucumber
Cucurbita maxima : pumpkin
Division Anthophyta
Class Dicotyledons
Family Solanaceae
Capsicum annuum : pepper
Lycopersicon asculentum : tomato
Solanum melongena : egg plant
2. การจัดจาแนกตามส่ วนของพืชที่กนิ ได้
(Classification based on edible part)
2.1 ผักกินราก หรือ หัว
2.1.1 ส่ วนสะสมอาหารอยู่ท่ รี ากแก้ ว เช่ น
แครอท ผักกาดหัว
2.1.2 ส่ วนสะสม
อาหารอยู่ท่ รี ากแขนง
เช่ น มันเทศ
2.2 ผักกินลาต้ น
2.2.1 ลาต้ นเหนือดิน เช่ น หน่ อไม้ ฝรั่ ง
2.2.2 ลาต้ นใต้ ดนิ เช่ น มันฝรั่ ง
2.3 ผักกินใบ
2.3.1 กินส่ วนของกาบใบ เช่ น หอมหัวใหญ่ หอมแดง
2.3.2 กินทัง้ ต้ น ทัง้ ใบ เช่ น ผัดกาดหอม กะหล่าปลี
คะน้ า
2.4 ผักกินดอกที่ยังไม่ เจริญเต็มที่
เช่ น กะหล่าดอก บร็อคโคลี่
2.5 ผักกินผล
2.5.1 กินผลที่ยังอ่ อนอยู่ เช่ น ถั่วลันเตา มะเขือ
กระเจีย๊ บ แตงกวา
2.5.2 กินผลแก่ เช่ น มะเขือเทศ
พริก ฟั กทอง
3. การจัดจาแนกตามวงชีวิต
(Classification based on life cycle)
ตามระยะเวลาในการครบชีพจักร แบ่ งเป็ น 3 กลุ่ม ได้ แก่
3.1 Annual plants หมายถึง พืชที่เจริญครบชีพจักรได้
ภายใน 1 ฤดูปลูก พืชผักส่ วนใหญ่ เป็ นพืชฤดูเดียว มีอายุการ
เก็บเกี่ยวสัน้ เช่ น ผักกาดหอม มะเขือเทศ แตงกวา
3.2 Biennial plants หมายถึง พืชที่ต้องการ 2 ฤดูปลูก
ในการเจริญเติบโตครบชีพจักร เช่ น บร็อคโคลี่ กะหล่าดอก
กะหล่าปลี ขึน้ ฉ่ าย ผักพวกนีต้ ้ องการอุณหภูมิท่ เี หมาะสมใน
การออกดอก
3.3 Perennial plants หมายถึง พืชที่ปลูกอยู่ในแปลง
และเก็บผลผลิตได้ นานมากกว่ า 2 ปี เช่ น หน่ อไม้ ฝรั่ ง
4. การจัดจาแนกตามอุณหภูมิ
(Classification based on temperature)
4.1 ผักเมืองร้ อน (warm-season vegetables)
เจริญได้ ดที ่ อี ุณหภูมิ 25-30 องศาเซลเซียส เช่ น แตง มะเขือ
กระเจี๊ยบ พริก ฟั กทอง มะเขือเทศ
4.2 ผักเมืองหนาว (cool-season vegetables)
เจริญได้ ดที ่ อี ุณหภูมิ 10-20 องศาเซลเซียส เช่ น กะหล่าปลี
บร็อคโคลี่ ขึน้ ฉ่ าย ผักกาดหัว
5. การจัดจาแนกตามกลุ่มพืชที่เป็ นที่ร้ ู จัก
(Classification based on family grouping)
การจัดจาแนกแบบนีเ้ ป็ นที่นิยมและใช้ กันมากอย่ าง
แพร่ หลาย เนื่องจากพืชในวงศ์ เดียวกันจะมีวธิ ีการปลูก
ดูแล และการจัดการด้ านโรคแมลงที่คล้ ายกัน ได้ แก่
5.1 Cole crops หมายถึง ผักที่อยู่ในตระกูล
กะหล่า และผักกาด
5.2 Green หมายถึง ผักที่สามารถกินได้ ทงั ้ ต้ นและใบ
ซึ่งส่ วนใหญ่ มีสีเขียว และมักต้ องผ่ านการปรุ งให้ สุกก่ อน
เช่ น ผักโขม คะน้ า
5.3 Salad crops หมายถึง ผักที่นิยมกินสดๆ เช่ น
ผักกาดหอม ขึน้ ฉ่ าย ผักชีฝรั่ง
5.4 Perennial crops หมายถึง ผักที่ปลูกอยู่ใน
แปลงและเก็บเกี่ยวได้ นานกว่ า 2 ปี เช่ น หน่ อไม้ ฝรั่ง
5.5 Root crops หมายถึง ผักที่ส่วนสะสมอาหารที่
นามากินได้ เป็ นส่ วนของรากที่อยู่ใต้ ดนิ เช่ น แครอท บีท
มันเทศ
5.6 Bulb crops หมายถึง ผักที่นิยมกินส่ วนของกาบ
ใบ ได้ แก่ หอมหัวใหญ่ หอมแดง กระเทียม
5.7 Legumes หมายถึง พืชตระกูลถั่ว เช่ นถั่วลันเตา
ถั่วฝั กยาว
5.8 corn หมายถึง ผักตระกูลข้ าวโพด เช่ น ข้ าวโพด
หวาน ข้ าวโพดฝั กอ่ อน
5.9 Solanum crops หมายถึง ผักตระกูลพริก เช่ น
พริก มะเขือเทศ มะเขือต่ างๆ
5.10 Cucurbits หมายถึง ผักตระกูลแตง เช่ น
แตงกวา ฝั กทอง ตาลึง นา้ เต้ า
ความสาคัญของผักต่ อมนุษย์
1. การใช้ เป็ นอาหาร (Food Uses)
1.1 ใช้ เป็ นอาหารหลัก (Main dish) อาหารหลาย
ชนิดมีผักเป็ นองค์ ประกอบส่ วนใหญ่ เช่ น สลัดผัก ส้ มตา
แกงจืด แกงเลียง
1.2 ใช้ เป็ นเครื่องเคียง (Side dish)ผักหลายชนิด
เช่ น มะเขือเทศ แตงกวา แครอท ถูกนามาเป็ นเครื่อง
เคียงหรือใช้ รับประทานเพื่อเรียกนา้ ย่ อยได้
1.3 ใช้ เป็ นของหวาน (dessert) เช่ น แคนตาลูป ใช้
บริโภคสด ส่ วนมันเทศ ฟั กทอง นาไปเชื่อมหรือทาขนม
หวานได้ หลายชนิด
1.4 ใช้ เป็ นเครื่องเทศ (Spice or flavoring)ช่ วย
ปรุ งแต่ งกลิ่น รส ของอาหาร เช่ น หอมหัวใหญ่
กระเทียม พริก ต้ นหอม ผักชี
1.5 ใช้ เป็ นเครื่องประดับในจานอาหาร (Garnish)
ผักบางชนิดช่ วยเพิ่มสีสัน ประดับจานอาหารให้ ดนู ่ า
รับประทาน เช่ น แครอทให้ สีส้ม ผักกาดหอมใช้ รองจาน
2. การใช้ เป็ นยา (Medical Uses)
ผักเป็ นแหล่ งของวิตามินและเกลือแร่ หลายชนิดที่
จาเป็ นต่ อร่ างกาย ช่ วยให้ การทางานของร่ างกาย
ดาเนินได้ อย่ างปกติ มีภมู ติ ้ านทานโรค และใน
ยามเจ็บป่ วย ผักบางชนิดมีคุณค่ าทางยา ช่ วย
ป้องกันและรั กษาโรคได้ เช่ น
มะเขือเทศ
(tomato : Lycopersicon esculentum )
เป็ นผักที่มีคุณค่ าทางอาหารมากมาย มีทงั ้ ไขมัน
โปรตีน คาร์ โบไฮเดรต แคลเซียม ฟอสฟอรั ส เหล็ก
เบต้ าแคโรทีน วิตามิน เอ วิตามินบี1 บี2 วิตามินซี ถ้ า
รั บประทานเป็ นประจาวันละ 1-2 ผล จะทาให้ เส้ น
เลือดยืดหยุ่นดีไม่ เปราะง่ าย ช่ วยให้ ผิวหนังและเยื่อ
บุทางเดินอาหารแข็งแรง ป้องกันโรคหวัดและโรค
เลือดออกตามไรฟั น
กระเทียม
(garlic : Allium SPP .)
เป็ นผักที่มีคุณค่ าทางยามาก ในหัวกระเทียมสดมี
สารอัลลิซนิ (allicin) ช่ วยลดโคเรสเตอรอล และไตร
กลีเซอไรด์ ในเลือด กระตุ้นการทางานของต่ อมใต้
สมอง ช่ วยบารุ งหัวใจ มีรายงานว่ าสารซีลีเนียมใน
กระเทียมสามารถยับยัง้ อนุมูลอิสระซึ่งเป็ นสาเหตุของ
การเกิดเซลล์ มะเร็งได้ อย่ างมีประสิทธิภาพและยังช่ วย
กาจัดสารพิษของโลหะหนักได้
แครอท
(carrot : Daucus carota)
เป็ นผักที่มีคุณค่ าทางยาสูง มีแคโรทีนที่เปลี่ยนเป็ น
วิตามินเอ ช่ วยให้ ผิวหนังยืดหยุ่นดี บารุ งสายตา ตาใส
เป็ นประกาย กระดูกไม่ เปราะง่ าย และยังช่ วยขับ
สารพิษออกจากร่ างกายได้ วิตามินเอเมื่อทางาน
ร่ วมกับโปรตีนจะทาให้ ความสามารถในการมองเห็น
ในช่ วงกลางคืนดี
พริก
(pepper : Capsicum annumm)
ในผลพริก นอกจากจะอุดมไปด้ วยวิตามินซี เบต้ าแค
โรทีน แล้ วยังมีสารแคบไซซิน (capsicin) ซึ่งมีมากใน
ไส้ กลางของพริก สารเหล่ านีจ้ ะช่ วยยับยัง้ การ
เกิดปฏิกริ ิยาลูกโซ่ และต่ อต้ านอนุมูลอิสระ ที่เป็ น
สาเหตุของการเสื่อมสภาพของเซลล์ และอวัยวะของ
ร่ างกาย
กะหล่าต่ างๆ
(crucifers : Brassica SPP. )
เป็ นผักที่มีซีลีเนียมมาก โดยเฉพาะอย่ างยิ่งในบร๊ อค
โคลีและกะหล่าดอก ซีลีเนียมจะทางานร่ วมกับวิตามิน
อี ในการต้ านอนุมูลอิสระซึ่งเป็ นสาเหตุของการเกิด
มะเร็ง มีรายงานทางการแพทย์ และโภชนาการว่ าการ
บริโภคผักกะหล่าเป็ นประจา จะช่ วยลดอัตราเสี่ยงต่ อ
การเกิดมะเร็งของระบบทางเดินอาหารได้
กะเพรา
(holy basil : Ocimum sanctum )
ในใบกะเพรามีนา้ มันหอมระเหยอยู่หลายชนิด เช่ น
เอสเซนเชียล ออย (essential oil) และเมนทอล
(mental) ซึ่งสามารถช่ วยขับลม ลดการบีบตัวของ
ลาไส้ นอกจากนีย้ ังมีสารยูกลีนอล (eugenol) ช่ วย
ย่ อยไขมันและลดการจุกเสียดท้ องได้
มะนาว
(lime or lemon : Citrus aurantifolia )
ใช้ ปรุ งแต่ งรสชาติอาหารและเครื่ องดื่มหลายชนิด ใน
มะนาวมีวติ ามินซีสูง ช่ วยให้ ผิวพรรณดี มีภมู ิต้านทาน
โรคหวัด และช่ วยลดความเสี่ยงต่ อการเป็ นมะเร็ง
เปลือกของมะนาวมีนา้ มันหอมระเหยที่มีฤทธิ์ขับลม
แก้ ท้องอืด ท้ องเฟ้อได้
ขมิน้
(tumeric : Curcuma longa)
ในเหง้ าของขมิน้ มีนา้ มันหอมระเหยที่มีประโยชน์
หลายชนิด เช่ น เคอร์ คูมนิ (curcumin) ช่ วยยับยัง้
การหลั่งของกรดในกระเพาะอาหาร ใช้ เป็ นยารั กษา
หรื อบรรเทาอาการโรคกระเพาะอักเสบได้ นอกจากนี ้
ยังยังมีการใช้ ผงขมิน้ เป็ นยาทาภายนอก ลดอาการผื่น
แพ้ ช่ วยสมานแผล และบารุ งผิวพรรณ
3. การใช้ ประดับอาคารสถานที่ (Ornamemtal Uses)
ในการจัดงานเลีย้ ง นิทรรศการ ประชุม สัมมนา
การตกแต่ งสถานที่ในปั จจุบันนิยมใช้ วัสดุจาก
ธรรมชาติ นอกจากดอกไม้ แล้ ว ผักหลายชนิดมี
สีสันสะดุดตา และรู ปทรงที่หลากหลาย นอกจากนี ้
ยังนามาแกะสลัก เพื่อแสดงศิลปวัฒนธรรม และ
ธรรมเนียมไทย
4. ด้ านเศรษฐกิจ (Economic Uses)
ผักเป็ นพืชที่มีการเจริญเติบโตเร็ว อายุเก็บเกี่ยวสัน้
ทาให้ ในแต่ ละปี สามารถปลูกผักได้ อย่ างน้ อย 4-6
รุ่ น ในขณะที่การปลูกข้ าว อ้ อยหรื อพืชไร่ อ่ ืน อาจ
ปลูกได้ อย่ างมาก 2-3 รุ่ น ดังนัน้ มูลค่ าการผลิตทัง้ ปี
สามารถหมุนเวียนทารายได้ ได้ มาก โดยประเทศ
ไทยสามารถส่ งผักหลายชนิด ทัง้ ในรู ปผักสดผักแช่
แข็ง ผักแปรรู ป เป็ นมูลค่ าปี ละหลายพันล้ านบาท
ปั ญหาและอุปสรรคในการปลูกผัก
1. ความไม่ เหมาะสมของสถานที่ปลูกเนื่องจาก
สภาพแวดล้ อม
พืชทั่วไปเติบโตได้ ดีท่ ี 10-40 องศาเซลเซียส
ความชืน้ สัมพัทธ์ มากกว่ า 60 เปอร์ เซนต์
ความเป็ นกรดด่ างของดินอยู่ในช่ วง 4-8
2. ภูมปิ ระเทศและดินปลูก
ผักเป็ นพืชที่ต้องการนา้ ตลอดระยะเวลาการเจริญเติบโต
บริเวณที่ปลูกผักได้ ดีส่วนใหญ่ จะเป็ นที่ราบลุ่ม ดินปลูกที่
ร่ วนซุย มีความอุดมสมบูรณ์ สูง
3. ระยะทางในการขนส่ ง
ยิ่งระยะทางขนส่ งไกลมากขึน้ เท่ าใด ผักจะเสียหาย
ระหว่ างการส่ งมากขึน้ เท่ านัน้
4. ความไม่ คงทนของพืชผักหลักการเก็บเกี่ยว
ผักเป็ นพืชที่มีโครงสร้ างของเซลล์ อวบ มีนา้ ในเซลล์
สูง หลังจากเก็บเกี่ยวแล้ วไม่ สามารถเก็บได้ นาน
5. พ่ อค้ าคนกลาง ตลาด และการกาหนดราคาผลผลิต
ราคาสินค้ าถูกกาหนดโดยพ่ อค้ า ไม่ สามารถ
นาไปขายเองได้ ไม่ มีสถานที่ขาย ไม่ มีเวลา ไม่ มี
ความชานาญในการขาย
6. ภัยธรรมชาติ
ในบางปี การปลูกผักในบางพืน้ ที่ อาจประสบภัย
ธรรมชาติต่างๆ เช่ น นา้ ท่ วม ลมพายุ ลูกเห็บ
6. โรคและแมลงศัตรู พชื
สร้ างความเสียหายแก่ พืชผักทัง้ ด้ านปริมาณและ
คุณภาพ ในแต่ ละฤดูปลูกจะมีผลผลิตผักได้ รับความ
เสียหาย จากโรคและแมลงศัตรู พชื อย่ างน้ อย 10-20
เปอร์ เซ็นต์ บางแห่ งสูงถึง 40-50 เปอร์ เซ็นต์ หรื อเก็บ
ผลผลิตไม่ ได้ เลยก็มี
(Pholiota cylindracea)
ารา ท 3
PDA
การทดสอบประสิ ทธิภาพสารสกัดสมุนไพรกับเชื้อเห็ด
สารสกัดสมุนไพร
เปอรเ ็น การ บั ้ั การเ ริ เ ิบ (ppm)
0
100
500
1000
5000
10000
(Hexane)
0y
2.62wxy
4.62vwxy
13.24opqr
20.51ijkl
53.01d
(MeOH)
0y
1.95xy
6.60tuvw
24.49hi
66.88b
66.88b
(Hexane)
0y
11.71pqrs
16.62lmno
16.62lmno
46.04e
60.76c
(MeOH)
0y
1.31y
7.27stuv
9.93qrstu
15.18mnop
23.85hij
(Hexane)
0y
1.32y
9.04rstuv
10.52pqrst
14.34nopq
20.76ijkl
(MeOH)
0y
15.17mnop
18.94klmn
22.89hijk
26.09gh
36.08f
(Hexane)
0y
63.69bc
75.47a
75.47a
75.47a
75.47a
(MeOH)
0y
4..62vwxy
11.24pqrs
19.18klm
29.76g
35.07f
(Hexane)
0y
16.62lmno
16.62lmno
16.62lmno
46.04e
75.47a
(MeOH)
0y
11.71pqrs
16.62lmno
19.57jklm
23.47hijk
27.38gh
( Trichoderma spp.)
ารา ท 2
การทดสอบประสิ ทธิภาพสารสกัดสมุนไพรกับเชื้อราเข ว
สารสกัดสมุนไพร
PDA
เปอรเ ็น การ บั ้ั การเ ริ เ ิบ (ppm)
0
100
500
1,000
5,000
10,000
(Hexane)
0m
0m
0m
0m
51.88h
59.22g
(MeOH)
0m
0m
0m
0m
80.89e
85.99cd
(Hexane)
0m
0m
29.56j
48.66h
62.66g
82.00de
(MeOH)
0m
0m
0m
0m
0m
0m
(Hexane)
0m
0m
0m
21.66k
59.67g
87.33bc
(MeOH)
0m
0m
0m
0m
0m
0m
(Hexane)
0m
37.66i
74.89f
81.44de
89.66abc
93.89a
(MeOH)
0m
0m
0m
0m
11.55l
51.22h
(Hexane)
0m
0m
0m
64.11g
92.00ab
93.44a
(MeOH)
0m
0m
0m
0m
0m
0m
กราฟเปร บเท บเปอรเ ็น การ บั ้ั ด้ ว สารสกัดสมุนไพรชนิด ่ า ๆ ระหว่ า
เชื้อราเข วและเชื้อเห็ด
ภาพเปร บเท บการ ับ ้ั ขอ สารสกัดข่ า ากเฮกเ นระหว่ า เชื้อราเข ว
กับเชื้อเห็ดทระดับความเข้ มข้ น 10,000 ppm
ราเข ว
เห็ด คน ปุ่ น