การผลิตและการใช้ประยชน์พืชปุ๋ยสด - สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1

Download Report

Transcript การผลิตและการใช้ประยชน์พืชปุ๋ยสด - สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1

การผลิตและการใช้ ประโยชน์ พชื ปุ๋ ยสด
สถานีพฒั นาที่ดินลพบุรี
สานักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน
อินทรียวัตถุ
นา้
5%
25%
25%
อากาศ
แร่ ธาตุ
45%
ปุ๋ ยอินทรี ย์ชนิดหนึ่งที่ได้ จากการตัดสั บ หรื อไถ
กลบพืช ที่ ยัง เขี ย วอยู่ ล งดิ น ในระยะที่ พืช ออก
ดอกหรื อยังสด และต้ องทิ้งไว้ ในดินประมาณ 7
วัน เพือ่ ให้ พชื สลายตัวอย่ างสมบูรณ์ แล้ วจึงปลูก
พืชหลักอืน่ ๆ ตามหลัง
ชนิดพืชที่ปลูกไว้ สาหรั บการไถกลบ หรื อ สั บกลบ
ลงดิน เพื่อประโยชน์ ในการปรั บปรุ งบารุ งดิน ส่ วน
ใหญ่ เป็ นพืชตระกูลถั่ว เนื่องจากมีปมที่ราก สามารถ
ตรึ งไนโตรเจนจากอากาศได้ โดยเพิ่มไนโตรเจนใน
ดิน ได้ แก่ โสนอัฟริ กัน ปอเทือง ถั่วพร้ า ถั่ วพุ่ม และ
ถัว่ มะแฮะ
1. ปลูกง่ าย โตเร็ว และออกดอกในระยะเวลาสั้ น
2. ให้ นา้ หนักสดสู ง
3. เป็ นพืชทนแล้ งและทนต่ อสภาพนา้ ขัง 2-3 วัน
4. ปลูกได้ ทุกฤดู
5. ลาต้ นและกิง่ ก้ านง่ ายต่ อการไถกลบลงดิน
6. ย่ อยสลายได้ รวดเร็ว
7. ต้ านทานโรคและแมลงได้ ดี
8. ผลิตเมล็ดพันธุ์ได้ มากและขยายพันธุ์ได้ เร็ว
ข้ อดีของปุ๋ ยพืชสด เมื่อเทียบกับปุ๋ ยคอกและปุ๋ ยหมัก
ปุ๋ ยพืชสด
ปุ๋ ยคอกและปุ๋ ยหมัก
1. ใช้ ปริมาณน้ อย
1. ใช้ ปริมาณมาก
2. ขนย้ ายสะดวก
2. ขนย้ ายไม่ สะดวก
3. หาง่ าย
3. หายาก
4. ราคาถูก
4. ราคาค่ อนข้ างแพง
5. ใช้ ในพืน้ ที่มากๆ ได้
5. ใช้ ในพืน้ ที่ได้ ไม่ มาก
ระดับอินทรียวัตถุทใี่ ช้ เป็ นมาตรฐาน
ระดับ
ต่ามาก
ต่า
ต่าปานกลาง
ปานกลาง
สู งปานกลาง
สู ง
ที่มา : พิทยากร (2545)
ปริมาณอินทรียวัตถุ (%)
น้ อยกว่ า 0.5
0.5 – 1.0
น้ อยกว่ า 1.0 – 1.5
น้ อยกว่ า 1.5 – 2.5
น้ อยกว่ า 2.5 – 3.5
น้ อยกว่ า 3.5 – 4.5
ปริมาณนา้ หนักสด และอินทรียวัตถุของพืชปุ๋ ยสด
ชนิดพืช
โสนอัฟริกนั
ปอเทือง
ถั่วพร้ า
ถั่วพุ่ม
ถั่วมะแฮะ
นา้ หนักสด
(กก./ไร่ )
3,000
2,750
2,750
1,950
2,250
นา้ หนักแห้ ง % OM ในดิน
(กก./ไร่ )
พืน้ ที่ 1 ไร่
760
0.19
670
0.20
670
0.21
486
0.14
550
0.19
วิธีการเพิม่ ปริมาณอินทรียวัตถุในพืน้ ที่ 1 ไร่
ดินเดิมมีอนิ ทรียวัตถุอยู่ 0.5 %
ต้ องการเพิม่ อินทรียวัตถุเป็ น 1.0 %
มีค่าเท่ ากับน้าหนักแห้ งโสนอัฟริกนั 1.73 ตัน
โสนอัฟริกนั ให้ น้าหนักสด 3 ตัน/ ไร่ /ปี
มีน้าหนักแห้ งเฉลีย่ 760 กก./ ไร่ /ปี
ดังนั้น ต้ องปลูกโสนอัฟริกนั เป็ นเวลาอย่างน้ อย 34 ปี จึงทาให้ ปริมาณอินทรียวัตถุเพิม่ เป็ น 1.0%
พืชปุ๋ ยสดทีเ่ หมาะสมในประเทศไทย
โสนอัฟริกนั (Sesbania rostrata)
ลักษณะลาต้ นตั้งตรง เป็ นพืชไวแสงสู งประมาณ
2-3.5 เมตร มีกงิ่ ก้านสาขา
ชอบทีด่ อนและทีล่ ่มุ ทนเค็ม
เกิดปมที่ลาต้ นและราก
ปลูกช่ วงเดือนพ.ค.
โดยการหว่ านอัตราเมล็ด 5 กก./ไร่ ต้ องแช่ นา้ 1 คืน
ไถกลบเมือ่ อายุ 50 วัน
ให้ นา้ หนักสด 2,000-4,000 กก./ไร่
ปอเทือง (Crotalaria
juncea)
ลักษณะลาต้ นตั้งตรง สู งประมาณ 1.5-3.0 เมตร มี
กิง่ ก้านสาขา
ชอบที่ดอน มีการระบายนา้ ดี ทนแล้ง
ปลูกต้ นหรือปลายฤดูฝน โดยการหว่ าน
อัตราเมล็ด 5 กก./ไร่
ไถกลบเมือ่ อายุ 50 วัน
ให้ นา้ หนักสด 2,500-3,000 กก./ไร่
ถั่วพร้ า (Canavalia
ensiformis)
ลักษณะลำต้นเป็ นทรงพุม
่ สูง
ประมำณ
0.5-1.0
เมตร
ชอบทีด
่ อน ทีม
่ ก
ี ำรระบำยน้ำดี
ทนตอควำมแห
่
้งแลง้ และดินกรด
ปลูกต้นหรือปลำยฤดูฝน โดยกำร
หวำน
่
อั
ต
รำเมล็
ด
10
กก./ไร
ไถกลบเมือ
่ อำยุ 50
วั่ น
ให้น้ำหนักสด
2,500-3,000 กก./
ถัว่ พุม
(
Vigna
่
spp.)
ลัก ษณะลาต้ น เป็ นทรงพุ่มเตี้ย สู ง ประมาณ
40- 50 ซม. บางชนิดเลือ้ ย
ชอบที่ดอน มีการระบายนา้ ดี ทนแล้ง
ปลู ก ต้ น หรื อ ปลายฤดู ฝ น โดยการหว่ า น
อัตราเมล็ด 8 กก./ไร่
ไถกลบเมือ่ อายุ 40 วัน
ให้ นา้ หนักสด 1,500-2,400 กก./ไร่
ถัว่ มะแฮะ (Cajanus
indicus)
ลักษณะลำตนทรงพุ
มตั
้
่ ง้ ตรง มี
อำยุขำมปี
(2–3 ปี ) สูงประมำณ
้
1-5
เมตร
ชอบทีร่ วน
มีกำรระบำยน้ำดี
่
ทนแลง้
ปลูกตนฤดู
ฝน โดยกำรหวำน
้
่
ใช้อัตรำเมล็ด 8
กก./ไร่
ไถกลบเมือ
่ อำยุ 60 วัน (โดย
กำรตัดตนหรื
อไถกลบ)
้
ให้น้ำหนักสด 2,000-2,500
ปริมาณธาตุอาหารทีส่ าคัญในพืชปุ๋ ยสด
ชนิดพืช
C/N
ปริมาณธาตุอาหาร (%)
N
P2O5
K2O
โสนอัฟริกนั 18.30
ปอเทือง
19.96
2.87
2.76
0.42
0.22
2.06
2.40
ถั่วพร้ า
21.11
2.72
0.51
2.14
ถัว่ พุ่ม
19.51
2.68
0.39
2.46
ถั่วมะแฮะ
27.33
2.34
0.25
1.11
การประเมินเปรียบเทียบพืชปุ๋ ยสดกับปุ๋ ยยูเรีย
ชนิดพืช
โสนอัฟริกนั
ปอเทือง
ถั่วพร้ า
ถั่วพุ่ม
ถั่วมะแฮะ
เทียบเท่ าปุ๋ ยยูเรีย
(46–0–0 ) (กก.)
25 – 69
30 – 50
17 – 39
29 – 49
20 - 35
มูลค่ าปุ๋ ยยูเรีย
(บาท)
312 - 873
375 - 630
219 - 489
369 - 612
254 - 445
หมำยเหตุ : ปุ๋ยยูเรียรำคำกิโลกรัมละ 12.50
การประเมินเปรียบเทียบพืชปุ๋ ยสดกับปุ๋ ยฟอสฟอรัส
ชนิดพืช
เทียบเท่ าปุ๋ ยฟอสฟอรัส มูลค่ าปุ๋ ยฟอสฟอรัส
(บาท)
(18 – 46 – 0 ) (กก.)
โสนอัฟริกนั
3 - 10
72 - 240
ปอเทือง
2-4
48 - 96
ถั่วพร้ า
5-9
120 - 216
ถั่วพุ่ม
48 - 120
2– 5
ถั่วมะแฮะ
2-3
48 - 72
หมำยเหตุ : ปุ๋ยทริปเปิ ลซุเปอรฟอสเฟตรำคำ
์
การประเมินเปรียบเทียบพืชปุ๋ ยสดกับปุ๋ ยโพแทสเซียม
ชนิดพืช
โสนอัฟริกนั
ปอเทือง
ถั่วพร้ า
ถัว่ พุ่ม
ถั่วมะแฮะ
เทียบเท่ าปุ๋ ยโพแทสเซียม มูลค่ าปุ๋ ยโพแทสเซียม
(บาท)
(0–0–60) (กก.)
208 - 608
13 – 38
320 - 528
20 – 33
192 - 448
12 – 28
272 - 480
17 – 30
112 - 208
7 – 13
หมำยเหตุ : ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรดรำคำ
์
การประเมินมูลค่ าปุ๋ ยพืชสดในรูปปุ๋ ยเคมี N P และ K
ชนิดพืช
โสนอัฟริกนั
ปอเทือง
ถั่วพร้ า
ถั่วพุ่ม
ถั่วมะแฮะ
รวมมูลค่ าปุ๋ ย N P และ K
(บาท)
592 – 1,721
743 - 1,254
531 - 1,153
689 – 1,212
414- 1,139
การใช้ ประโยชน์ พชื ป๋ ุยสด
1. การปลูกพืชหมุนเวียน
2. การปลูกพืชแซม
3. การปลูกพืชเป็ นแถบ
4. การปลูกพืชคลุมดิน
การปลูกพืชหมุนเวียน
การปลูกพืชปุ๋ ยสดตระกูลถั่วทีเ่ หมาะสมหมุนเวียนกับพืชเศรษฐกิจ
ในช่ วงระยะเวลาที่เหมาะสม
การปลูกพืชแซม
การปลูกพืชปุ๋ ยสดตระกูลถัว่ ทีเ่ หมาะสมแซมในแถวพืช
ในช่ วงระยะเวลาที่เหมาะสม
การปลูกพืชแซม
การปลูกพืชเป็ นแถบ
การปลูกพืชปุ๋ ยสดทีเ่ หมาะสมเป็ นแถบสลับกับพืชหลัก
โดยแถบอาจกว้ าง 2 ม.และห่ างกัน 3 ม. เพือ่ ปลูกพืชหลัก
สลับกันและป้ องกันการชะล้างพังทลายของดิน
กำรปลูกพืชคลุม
ดิ
น
การปลู ก พืช ปุ๋ ยสดตระกู ล ถั่ว ชนิ ด ที่ มี ล าต้ น เลื้อ ย
หรือเตีย้ เป็ นพืชคลุมดินเพือ่ ป้ องกันการชะล้ างพัง
ทลายของดินจากนา้ ฝน และควบคุมวัชพืช นิยมใน
สวนผลไม้ สวนปาล์มนา้ มันและสวนยาง
ประโยชน์ ของพืชป๋ ุยสด
1. ช่ วยเพิม่ ธาตุอาหารให้ แก่ ดนิ
2. ช่ วยเพิม่ อินทรียวัตถุในดิน
3. ทาให้ ดนิ ร่ วนซุย มีการระบายนา้ และอากาศดีขนึ้
4. ลดการสู ญเสี ยหน้ าดินจากการชะล้ างพังทลาย
5. ช่ วยในการควบคุมวัชพืช
6. ช่ วยเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการใช้ ปยเคมี
ุ๋
7. ช่ วยลดปริมาณการใช้ ปุ๋ยเคมี