7. อ.ณัฐวดี_การประเมินความรุนแรงในครอบครัว

Download Report

Transcript 7. อ.ณัฐวดี_การประเมินความรุนแรงในครอบครัว

เอกสารประกอบการบรรยาย
การประเมินความร ุนแรงในครอบครัว
การประเมินครอบครัวที่ใช้ความร ุนแรง
1. ความผูกพันที่สบั สนและผิดปกติ ความผูกพัน
(Attachment) ที่เหมาะสม
ครอบครัวที่ใช้ความร ุนแรงจะมีความผูกพัน
ที่เบี่ยงเบน (Bolton 1993) เช่น
- พ่อแม่ตอ้ งการให้ล ูกมาด ูแลเอาใจใส่ตน
- พ่อแม่ไม่ได้ทาหน้าที่เลี้ยงด ูล ูกอย่างดีพอ
- มีการสลับบทบาทโดยล ูกมาทาหน้าที่แทนพ่อแม่
กรณีละเมิดทางเพศระหว่างพ่อกับล ูกสาวจะ
พบร ูปแบบความผูกพันต่อกัน 3 ลักษณะ
(Finkelhor 1986)
- พ่อคอยพึ่งพาอาศัยล ูก
(dependent/domineering relationship)
- พ่อควบค ุมและมีอานาจเหนือล ูก
(possessive/passive relationship)
- พ่อและล ูกต่างพึ่งพากัน
(dependent/dependent relationship)
2. อานาจที่ไม่เท่าเทียมกัน
3. ความตึงเครียดภายในครอบครัว ความเครียด
นอกครอบครัว เช่น จากที่ทางาน, ความเครียด
ในการเลี้ยงด ูและจัดการกับชีวิตประจาวัน,
ความเครียดที่ตอ้ งรับผิดชอบด ูแล
4. ความคิดและค่านิยมที่ไม่ถ ูกต้อง
- มองตนเองใจแง่ลบ
- มองการกระทาของผูอ้ ื่นในเชิงลบ
- คิดว่าตนเองถูกต้องเสมอและผูอ้ ื่นผิดเสมอ
- พ่อแม่มกั มองพฤติกรรมของเด็กว่าค ุกคาม
หรือปฏิเสธตน
- มีความคาดหวังต่อเด็กสูงเกินความเป็นจริง
- คิดว่าเด็กจงใจที่จะสร้างปัญหาทัง้ ที่ความจริง
แล้วเด็กไม่ได้ตงั้ ใจ
5. ความล้มเหลวในบทบาท
บทบาทของแต่ละคนจะไม่ชดั เจน,
พ่อ
แม่ไม่ได้ทาหน้าที่ในฐานะพ่อแม่ ไม่ได้ใ ห้การด ูแล
ปกป้องล ูก เช่น พ่อแม่ที่มีอายนุ อ้ ย
เสพย์ติด หรือป่วยทางจิต เป็นต้น
ติ ดสาร
ปัญหาความล้มเหลวในการปฏิบต
ั ิ ตามบทบาท
ไม่ ไ ด้มี ส าเหต มุ าจากความล้ม เหลวของตัว บ คุ คล
หรือครอบครัวเท่านัน้ แต่เป็นความล้มเหลว ของ
สังคมด้วย เพราะสังคมเองไม่ได้เตรียมบคุ คลให้มี
ความเข้าใจในบทบาทที่ ตนจะต้องมีในอนาคต และ
พัฒนาทักษะความชานาญให้มีอย่างเพี ยงพอ เช่ น
ไม่มีการเตรียมตัวหนมุ่ สาวสาหรับการมีชีวิ ตคแู่ ละ
การเป็นพ่อแม่
ความร นุ แรงที่ เกิ ด ขึ้ นซ้าๆ เหยื่ อซึ่ ง ส่วนใหญ่
เป็นหญิ ง เด็ กและคนชราก็จะเกิดการเรียนรว้ ู ่ าตน
ไม่สามารถช่วยตนเองได้ ที่ Walker (1979) เรียกว่า
learned helplessness
การประเมินครอบครัว
(Bolton และ Bolton 1987)
• ครอบครัวมี ความสามารถในการด แู ลฟูม ฟั กและ
ปกป้องสมาชิกท ุกคนหรือไม่
• สมาชิกสามารถบอกความต้องการของตนให้คนอื่น
ในครอบครัวรับรูห้ รือไม่
• มี ใ ครป่ วยทางจิ ต จนไม่ ส ามารถจะเข้ า ใจและ
ตอบสนองความต้องการของคนอื่นได้
• ลกู สามารถกระตน้ ุ ให้พ่อ /แม่ตอบสนองเชิงบวก
ด้วยการด ูแลเอาใจใส่หรือไม่
• สมาชิกสามารถเสียสละให้แก่กนั หรือไม่ หรือ มีแต่
ก า ร แ ข่ ง ขั น แ ล ะ ท า สิ่ ง ต่ า ง ๆ เ พื่ อ ห วั ง
ผลตอบแทน
• ความสัมพันธ์เป็นแบบสองทาง (reciprocal) คือ
มีการตอบสนองซึ่งกันและกันหรือไม่
• สมาชิกครอบครัวสามารถมองเห็นส่วนที่ดี
ใน
คนอื่นๆ หรือไม่
• สมาชิกพอใจในความสัมพันธ์ที่มีต่อกันหรือไม่
• แต่ละคนมีโอกาสเป็นตัวของตัวเองเพียงพอหรือไม่
• มี ใ ครบางคนที่ จ ะต้อ งเป็ นผูเ้ สี ย สละให้ก บั คนอื่ น ๆ
เสมอหรือไม่
• มีใครบางคนต้องรับบทบาทเป็น “แพะรับบาป”
ถกู โยนความผิดให้เสมอและตรงกันข้าม
มี
ใครที่ ถกู ยกย่องเทิ ดทูนว่าดีเลิศเสมอ
ไม่
ว่าจะทาอะไรก็ตาม
• สภาพแวดล้อ มของครอบครัว อยู่ใ นระดับ ที่ ดี
เพียงพอหรือไม่
• มี ใครบางคนที่ มีอ านาจสูง สดุ คอยออกคาสัง่
และควบค ุมท ุกอย่างหรือไม่
การประเมินผูก้ ระทา
• มีพยาธิสภาพทางจิต มีบ ุคลิกภาพผิดปกติหรื อ มี
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
• ขาดว ุฒิภาวะและการควบค ุมตนเอง (self-control)
• ต้องการความรส้ ู ึกว่าตนมีอานาจและ
สามารถ
ควบค ุมผูอ้ ื่นได้
• มีความนับถือตนเองต่า
• ใช้ความร ุนแรงเป็นวิธีแก้ปัญหาเสมอ
• มีความต้องการพึ่งพาผูอ้ ื่นมากเกินไป
• ขาดทัก ษะทางสัง คมและการสร้า งความสัม พัน ธ์
กับบ ุคคลอื่น
• มักใช้กลไกปฏิเสธความจริง (denial)
ตนเอง (defensiveness)
และปกป้อง
• มีความคิดเกี่ยวกับเหยื่ออย่างไม่ถ ูกต้อง
• ไม่เคยเตรียมตัวสาหรับการมีชีวิตครอบครัวมาก่อน
การประเมินผูถ้ ูกกระทา
• มีภาพลักษณ์ของตนเองไม่ดี มีความนับถือตนเองต่า
• มีความผูกพันอย่างสับสนต่อผูก้ ระทา
• มักตกเป็นเหยื่อซ้าแล้วซ้าอีก
• ใช้กลไกแบบปฏิเสธความจริง-ปกป้องตนเอง- ถอย
หนี-แยกตัว
• มี บาดแผลทางใจและเกิ ดผลกระทบทางจิ ตใจ
จากการถ กู ทาร้า ยอย่า งร นุ แรง เช่น มี อาการ
หวาดกลัว วิ ต กกัง วล ซึ ม เศร้า หรื อ พยายาม
ฆ่าตัวตาย
• ใช้กลไกแบบ Denial
ปฏิเสธความจริงว่า
การทาร ุณที่เกิดขึ้นนัน้ ไม่ได้ร ุนแรง และใช้กลไก
ทางจิตแบบ isolation สามารถพูดถึงเรื่องที่ เป็น
บาดแผลทางใจโดยไม่ แ สดงความร ส้ ู ึ ก ใดๆ
ออกมา
การวิ จยั พบว่ า ในกรณี ค วามร นุ แรงระหว่ า ง
คสู่ มรส ล ูกมักตกเป็นเหยื่อด้วยโดยเฉพาะเด็ กเล็ก
อาย ุ 0-5 ปี เพราะในช่วงนี้ครอบครัวจะมี ความ
ตึงเครียดมากกว่าในระยะอื่น (Belsky และ Ravine
1990; Fantuzzo
และคณะ 1997)
การประเมินภาวะจิตสังคม
ภาวะจิ ตสังคม คือ ภาวะทางด้านจิ ตใจอารมณ์
ของบคุ คลที่ แสดงออกให้เห็ นได้ทางสี หน้า แววตา
ค าพูด และน้ า เสี ย ง อากั ป กิ ริ ย า ท่ า ทาง และ
พฤติกรรม
“การประเมินบ ุคคลภายใต้บริบทสังคม
และกรอบวัฒนธรรมที่เป็นภ ูมิหลังของบ ุคคลนัน้ ๆ”
แนวคิดการประเมินจิตสังคม
มน ุษย์ประกอบด้วยร่างกาย จิตใจอารมณ์และ
การสังคม ซึ่งมีผลกระทบต่อกันและกัน
องค์ประกอบ
ในการประเมินภาวะจิตสังคม
• ข้อมูลเกี่ยวกับแบบแผนการดาเนินชีวิต (Lifestyle
information) ข้อมูลทัว
่ ไปเกี่ยวกับผูถ้ ูกประเมิน เช่น
- อาย ุ
- อาชีพ
- ศาสนา
- สถานภาพการสมรส
- สมาชิกร่วมครอบครัวมีใครบ้าง
- ความสัมพันธ์ระหว่างผูถ้ ูกประเมินและผูท้ ี่อาศัยด้วย
- บ ุคคลที่ให้การสนับสน ุนช่วยเหลือ
- บ ุคคลผูม้ ีรายได้
• แบบบแผนการเผชิญปัญหา (Normal coping
patterns)
สังเกต
- เมื่ อ มี ค วามเครี ย ดเกิ ด ขึ้ นผู้ถ กู ประเมิ น
จัดการกับความเครียดอย่างไร
- แบบแก้ปัญหาหรือแบบใช้อารมณ์ที่ไม่ได้ทา
ให้ปัญหาเกิดการแก้ไข
• ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาของตนเอง
(Understanding of current)
- มีความเข้าใจเกี่ยวกับตนเองอย่างไร
- มีผลกระทบต่อตนเองและหน้าที่
ความ
รับผิดชอบอย่างไร
- มีผลกระทบต่อผูอ้ ื่นและผูท้ ี่เกี่ยวข้องอย่างไร
• บ ุคลิกลักษณะ (Personality style)
- บ ุคลิกลักษณะของผูท้ ี่เราประเมิน
เป็น
อย่างไร
- มีแนวโน้มที่จะพึ่งพา ไม่เป็นมิตร เสแสร้ง
- เข้มงวดไม่ยืดหยน่ ุ
• ประวัติความป่วยเจ็บทางจิต
(History of
psychiatric disorder)
- มีภาวะความซึมเศร้า
- ความคิดฆ่าตัวตายหรือไม่
- พฤติกรรมเบี่ยงเบนจากปกติ
• การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในวิถีชีวิต (Recent life
change or stressors)
- การเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน : การได้รบั การ
เลื่อนตาแหน่งสูงขึ้น การย้ายบ้านใหม่
- การเปลี่ยนแปลงในทางร้าย : การหย่าร้าง
ถ กู ปลดออกจากงาน การตายของสมาชิ ก
ครอบครัว
• ผลกระทบที่เกิดจากความป่วยเจ็บ (Major
raised by current) :
issuer
ทาให้ถ ูกพักงาน/สัมพันธภาพ
ระหว่างสมาชิกในครอบครัวคลอนแคลน
มี
ความไม่ลงรอยเกิดขึ้น/คสู่ มรสขอหย่าร้าง/หนี้สิน/
ทางานได้ไม่เต็มที่รายได้ลดลง
• การตรวจสภาพจิต (Mental status examination)
เพื่อจะวินิจฉัยว่ามีปัญหาด้านความพร่องของการ
ท างานด้า นจิ ต ใจ ด้า นปั ญญา หรื อ
ด้า น
พฤติกรรมอื่นๆ หรือไม่
- ประวัติและข้อมูลส่วนบ ุคคล
- บคุ ลิกภาพที่ สงั เกตเห็ นและพฤติ กรรมการ
แสดงออก
- การสื่อความหมาย
- อา ร มณ์ แ ละ พื้ น ฐ า น อ า รม ณ์ ค ว า ม คิ ด
ความเครียด
- ร ูปแบบในการเผชิญกับความเครียด
- การรจ้ ู กั วัน เวลา สถานที่และบ ุคคล
- ความจา ปัญญา การตระหนักร ้ ู
- การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
แหล่งข้อมูล
1. ประวัติส่วนตัว (Personal
History)
ได้แก่ ชื่อ
อาย ุ ระดับ การศึ ก ษา สถานภาพการสมรส
ประวัติ ก ารเจ็ บ ป่ วยในอดี ต ความเจ็ บ ป่ วย
ปัจจุบนั ประวัติความเจ็บป่วยในครอบครัว
2. รปู ร่าง หน้าตา การแต่งกาย
(Appearance)
การปรากฏกายและการแสดงออกที่พบเห็น ใน
ครัง้ แรก/พบเห็ นในครัง้ แรก ได้แก่
การ
แต่ ง กาย ทรงผม การแต่ ง หน้า และ
การ
เลือกแบบของเสื้อผ้า
3. พฤติกรรม (Behaviors) ลักษณะการแสดงออก
ของพฤติกรรม
- การแก้ปัญหาในชีวิต
- การแก้ปัญหาในขณะสัมภาษณ์
- ร ูปแบบการแก้ปัญหาเป็นแบบใช้ปัญญาหรือ
แบบใช้อารมณ์
- ร ูปแบบการเผชิญปัญหา (coping)
4. บ ุคลิกภาพและความสามารถในด้านการสื่อ
ความหมาย (Personality style and
communication ability)
- ลักษณะอยูร่ ว่ มกับผูอ้ ื่นได้ดี
- สร้างปัญหาในการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ ื่น
- มีแนวว่าจะก่อความร ุนแรงขึ้นได้อีก
4.1 บ ุคลิกภาพของบ ุคคล
- เอาเปรียบทาประโยชน์จากผูอ
้ ื่น (exploited)
- เก็บกด (depressed)
- พึ่งพาผูอ
้ ื่น (dependent)
- ปฏิเสธความจริง (denial)
- กล้าแสดงออก (assertive)
- เป็นมิตร (friendly)
- ร่วมมืออยูใ่ นความเป็นจริง (cooperative)
4.2 ด้านการสื่อความหมาย
- สามารถพูดสื่อสารความคิดความรส้ ู ึกได้ดี
- สามารถสื่ อ ความคิ ด เก็ บ กดข้อ ห้า มในใจ
มากเกินไป
- ตาหนิ คาดหวัง
- เรียกร้องจากผูอ้ ื่นมากเกินไป
- พูดกวน
- ความคิ ด เปลี่ ย นเร็ ว สัง เกตได้จ ากการพูด
หลายๆ เรือ่ งในเวลาเดียวกัน
5. สภาวะทางอารมณ์และการแสดงออกทาง
อารมณ์ (Emotional state or affect)
- ในขณะที่พบมีพ้ ืนอารมณ์ลกั ษณะใด
- มี ก ารแสดงออกทางอารมณ์ อ ย่ า งไร
เหมาะสมกับสภาพอารมณ์หรือเหมาะสม กับ
เรื่องที่บอกเล่าหรือไม่
6. ความคิดและเนื้อหาความคิด (Content of
thought) คิดอย่างไร เนื้อหาความคิดเป็น
ลักษณะใด
- Hallucination ภาวะประสาทหลอน
- Illusion
การแปรภาพที่เห็นผิด
- Delusions
การคิดหลงผิด
- Obsessions
การยา้ คิด
- Phobia
กลัวในสิ่งที่ไม่ควรกลัว
- Depersonalization
บ ุคลิกภาพเปลี่ยนเป็น
อีกคน
- Magical thinking มีความคิดว่าตนเอง
เป็นคนวิเศษ
- Grandiosity
มีความหลงผิดคิดว่า
ตนเองเป็นใหญ่
- Paranoia
มีความหวาดระแวง
7. การรับรูใ้ นสิ่งแวดล้อม (Orientation) การรับรู้
ในเรื่องเวลา สถานที่และบ ุคคลเป็นอย่างไร :
- รจ้ ู กั สถานที่ที่เขากาลังอยูข่ ณะนัน้ หรือไม่
- บอกวันเวลาได้หรือไม่
- บ ุคคลที่อยูก่ บั เขาขณะนัน้ เป็นใคร
- จาคนที่ เคยร จ้ ู กั ได้หรือไม่ /การเสี ย ใน
เรื่องการรับรเ้ ู รื่องเวลาจะเสียก่อนการสูญเสียใน
เรื่องบ ุคคล
8. ความจา (Memory) ประเมินความจาเพื่อจะ
ด ูว่าบ ุคคลมีความจาเป็นอย่างไร
- มีการสูญเสียความจาบ้างหรือไม่
- การสูญเสียความจาเสียเป็นบางส่วน
ความจาระยะเวลาที่เพิ่งเกิดขึ้น
memory)
(recent
ความจาที่เกิดขึ้นนานมาแล้ว
(remote memory)
9. ความสามารถด้านสติปัญญา (Intellectual
ability)
- ระดับสติปัญญาแค่ไหน
- ความสามารถด้านการอ่านอย่างไร
- มีความสามารถในการแก้ปัญหา
สติปัญญาหรือไม่อย่างไร
ด้วย
10. การตระหนักรใ้ ู นเหต ุการณ์ (Insight)
- การตระหนักรใ้ ู นตนเอง
- สิ่งที่ เกิดขึ้ นและเหต ุการณ์รอบตัวที่ กระทบตนเองและ
ผูอ้ ื่น
- ภาวะความเจ็บป่วยของผูท้ ี่ถ ูกประเมิน
- รห้ ู รือไม่ว่าตนเองไม่ปกติ
- ร แ้ ู ละเข้า ใจถึ ง สาเหต ทุ ี่ ท าให้เ ขาเป็ นเช่ น ที่ เ ขาเป็ นอยู่
หรือไม่
- บอกได้หรือไม่ว่าสิ่งที่กาลังเกิดขึ้นกับเขาจะส่งผลกระทบ
ต่อตัวเขาเอง ผูอ้ ื่นที่เกี่ยวข้องอย่างไร
11. การเปลี่ยนแปลงด้านระบบประสาท
(Neurovegetative changes)
มีผลต่อ
- ด้านการนอน
- การรับประทานอาหาร
- การขับถ่าย
- ความต้องการทางเพศ
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
ภาวะจิตสังคม
เครื่องมือสาคัญ ได้แก่
• การสังเกต
• การสัมภาษณ์
• การตรวจทางจิตวิทยา
การสังเกต
พฤติกรรมปัญหาจากความบกพร่องทางด้านจิต
สังคม
- ความโกรธและการแสดงออกของความโกรธ
ที่ไม่เหมาะสม
- ภาวะความต้องการพึ่งพาผูอ้ ื่นที่มีมากเกินไป
- ภาวะความซึมเศร้าร ุนแรงและเรื้อรัง
- ความเครี ย ดและความวิ ต กกัง วลที่ มี ม าก
ผิดปกติ
ความโกรธและการแสดงออกของความโกรธ
ที่ไม่เหมาะสม
ความต้องการพึ่งพาผูอ้ ื่นที่มีมากเกินไป
ความเครียดที่เรื้อรัง
ความวิตกกังวล
ความซึมเศร้าที่ร ุนแรงและเรื้อรัง
การประเมินส ุขภาพจิต ด้วย Medical Model
Bowman
H.A.
กล่าวว่า ส ุขภาพจิต “คือ
ความสามารถของบ คุ คลในการมี ส่ว นร่ว ม กับ
สิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพและมีความส ุข ใน
ฐานะคนทั้งคนและอยู่ในลักษณะยอมรับตนเอง ”
(Mental health may be defined as the ability
to function effectively and happily as a total
person in a self accepted role)
- ส ุขภาพจิตเป็นเรื่องของจิตใจ
- ภาวะของบ คุ ลิ ก ภาพทั้ง หมดที่ มี
ความ
เฉพาะตัว (Traits)
- ส ุขภาพจิตเป็นสิ่งที่ถ ูกเก็บสะสมมาตลอดชีวิต
- อาจจะส่งเสริมหรือบัน่ ทอนได้ดว้ ยประสบการณ์
ชีวิตประจาวัน ภาวะวิกฤตในชีวิต
- ด้านพันธกุ รรม “สขุ ภาพจิ ตจะดี หรือไม่ข้ ึ น อยู่
กับความต้องการขัน้ พื้นฐานที่ได้รบั การสนองตอบ”
ความต้อ งการขัน้ พื้ น ฐานที่ จ าเป็ นต้อ งได้ร บั
การสนองตอบอย่างพอเพียง เพื่อการดารงไว้ซึ่ ง
ส ุขภาพจิตที่ดี ได้แก่
1. ความมัน่ คงปลอดภัย (Security)
2. การดารงไว้ซึ่งตัวของตัวเอง
(Self preservation)
3. ความรัก (Love)
4. การเป็นส่วนหนึ่งของกลมุ่
(Sense of belonging)
5. การสื่อความหมาย (Communication)
6. การเติบโตและพัฒนาการ
(Growth and Development)
7. การบรรล ุว ุฒิภาวะ (maturity)
8. การรับตนเอง (Acceptance of self)
ข้ อ จ ากั ด ของตนเองและการเรี ย นร ้ทู ี่ จ ะอยู่ก ั บ
ข้อจากัดเหล่านี้ เป็นสิ่งจาเป็น คนแต่ละคนมีความร ้ ู
และความถนัดที่แตกต่างกัน
ค ุณลักษณะของผูม้ ีบ ุคลิกที่สมบูรณ์
(The Healthy Adult Personality)
1. ด ารงชี วิ ต อยู่ทาให้ส งั คมดี ยอมรับ ในบคุ คลอื่ น
และสภาพแวดล้อมของคนอื่น
2. รส้ ู ึกว่าเป็นส่วนของความพอใจในชีวิต ส่วนร่วม
ในการสร้างสรรค์เพื่อส่วนรวม
3. ความเชื่อมัน่ ในตนเองอย่างสมเหต ุผล ตระหนักใน
ความสามารถและข้อจากัดของตนเอง
4. มีบ ุคลิกภาพที่ประสมประสานและกลมกลืนกัน
5. เป็นปัญหาโดยอาศัยหลักความเป็นจริง
6. เป็นผูม้ องการณ์ไกล ไม่หมกมุน่ อยูก่ บั อดีต
7. สามารถที่จะสร้างสัมพันธภาพที่มีความหมาย กับ
คนอื่นๆ มีความเป็นมิตรกับคนอื่น
8. เป็นคนมีระเบียบและวินยั สามารถควบค ุมตนเองได้
9. เห็นค ุณค่าของงานและการทางาน
10. มีความคิดเห็นด้านเพศสัมพันธ์อย่างมีเหต ุผล
11. สามารถที่ จ ะให้ค วามรัก และอ ทุ ิ ศ ตน เพื่ อ ความรั ก
ตระหนักว่าความรักนัน้ มีทงั้ การให้และ การรับ ความรัก
เป็นเรือ่ งสิทธิและความรับผิดชอบ