chapter6 - UTCC e

Download Report

Transcript chapter6 - UTCC e

วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
เพือ่ อนาคต
1
วิทยาศาสตร์
หมายถึง ความรู้ เกีย่ วกับสิ่ งต่ างๆ ในธรรมชาติ
ทั้งที่มีชีวติ และไม่ มีชีวติ
2
เทคโนโลยี
หมายถึงการนาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ มาเป็ นวิธีการ
ปฏิบัตแิ ละประยุกต์ ใช้ เพือ่ ช่ วยในการทางานหรือ
แก้ปัญหาต่ าง ๆ อันก่ อให้ เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
เครื่องจักร
3
4
วิทยาศาสตร์ หมายถึง การรวบรวมความรู้
เกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึน้ ในโลก นามาจัดการ
และตกผลึกให้อยู่ในรูปของกฎที่สามารถพิสจู น์
ได้ จนกระทังพั
่ ฒนาไปเป็ นทฤษฎีซึ่งเป็ นสิ่งที่เป็ น
จริง มีความเชื่อถือได้แน่ นอนในที่สดุ
5
เทคโนโลยี หมายถึง
• การใช้ประโยชน์ และความรู้ในการใช้ เครื่องมือ
เทคนิค และความชานาญ รวมไปถึงระบบหรือวิถี
ปฏิบตั ิ ขององค์กร
• วัสดุ อุปกรณ์ เพื่ออานวยความสะดวก และเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางาน ตลอดจนการดารงชีวิต
ของมนุษย์
6
7
การนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ ส่งผลต่อการดาเนิน
ชีวติ ของมนุษย์ทงั้ ในด้านบวกและลบ ซึง่ มนุษย์ก็ยงั ศึกษา
ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆขึ้นมาใช้
ตลอดเวลา จึงต้องมีการกระตุน้ ให้มกี ารพิจารณาถึงการใช้
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างรอบคอบ
หรือ
8
การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่จะมีผล
ต่ ออนาคตแบ่ งได้ เป็ น 3 สาขาหลักได้ แก่
1. เทคโนโลยีชีวภาพ ( Biotechnology)
2. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology)
3. เทคโนโลยีวสั ดุ อุปกรณ์ และกระบวนการผลิตสมัยใหม่
(Technology of Materials, Devices and Manufacturing )
9
1. เทคโนโลยีชีวภาพ
( Biotechnology)
• ความรู้ ทเี่ กีย่ วข้ องกับการประยุกต์ ใช้ สิ่งมีชีวติ
หรือผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ของสิ่ งมีชีวติ เพือ่ ให้ เกิด
ประโยชน์ กบั มนุษยชาติ
10
ประโยชน์ ของเทคโนโลยีชีวภาพ
การเกษตร
ผลิตแหล่ ง
พลังงาน
สาธารณสุ ข
สิ่ งแวดล้ อม
เทคโนโลยี
ชีวภาพ
อุตสาหกรรม
การแพทย์
ด้ านการเกษตร




การพัฒนาและปรับปรุ งพันธุ์พชื โดย
วิธี การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่ และเซลล์พชื
การตัดแต่ งยีน
การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่ เพือ่ ขยายพันธุ์
กล้วยไม้
การตัดแต่ งยีนเพือ่ การพัฒนาพันธุ์
พืชต้ านทานต่ อศัตรู พชื หรือโรคพืช
การพัฒนาผลไม้ ให้ สุกงอมช้ า
มุ่งไปทีก่ ารเพิม่ คุณค่ าผลผลิตของอาหาร เช่ น
• การลดปริมาณคลอเรสเตอรอลในไข่ แดง
• การทาให้ โคและสุ กรเพิม่ ปริมาณเนือ้
13
ด้ านการแพทย์
 เน้ นไปทีก
่ ารส่ งเสริม รักษา
ฟื้ นฟูสุขภาพ เช่ น
 การผลิตวัคซีนป้องกันโรค
 การโคลนนิ่ง
 การใช้ เทคโนโลยีดเี อ็นเอ
ตรวจสอบโรคทางพันธุกรรม
 การผลิตยาจากผลิตภัณฑ์
จากสิ่ งมีชีวติ
ด้ านสิ่ งแวดล้ อม
มุ่งไปทีก่ ารลดการใช้ สารเคมีที่
เป็ นผลเสี ยต่ อสิ่ งแวดล้ อม เช่ น
 การนาของเสี ยจากสิ่ งมีชีวต
ิ
ไปทาปุ๋ ย
 การผลิตปุ๋ ยชีวภาพจาก
สารอินทรีย์
 การใช้ จุลน
ิ ทรีย์ในการกาจัด
ขยะหรือนา้ เสี ย
ด้ านพลังงาน
 นาวัสดุเหลือจาก
การเกษตร เช่น อ้อย มา
ผลิตเชื้อเพลิง (พลังงาน
ทดแทน)
 ก๊าซชีวภาพ
 ไบโอดีเซล
 แอลกอฮอล์
2. เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology)
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้ บูรณาการเข้ าสู่ ระบบธุรกิจ
ดังนั้นองค์ การที่จะอยู่รอดและ
มีพฒ
ั นาการต้ องสามารถ
ปรับตัวและจัดการกับ
เทคโนโลยีอย่ างเหมาะสม
คอมพิวเตอร์
ระบบ
สารสนเทศ
ทางภูมิศาสตร์
การใช้
คอมพิวเตอร์
ช่ วยในการผลิต
ปัญญาประดิษฐ์
IT
อินเทอร์เน็ต
เส้นใยแก้ว
นาแสง
การจดจาเสี ยง
การแลกเปลีย่ น
ข้ อมูล
อิเล็กทรอนิกส์
คอมพิวเตอร์ (Computer)
ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ ได้ พฒ
ั นาไปจากยุคแรกที่
เครื่องมีขนาดใหญ่ ทางานได้ ช้า ความสามารถ
ต่า และใช้ พลังงานสู ง เป็ นการใช้ เทคโนโลยี
วงจรรวมขนาดใหญ่ (very large
scale integrated circuit :
VLSI) ในการผลิตไมโครโปรเซสเซอร์
(microprocessor)
ทาให้ ประสิ ทธิภาพของส่ วนประมวลผลของ
เครื่องพัฒนาขึน้ อย่ างเห็นได้ ชัด และมีการ
พัฒนาหน่ วยความจาให้ มี ประสิ ทธิภาพสู งขึน้
แต่ มรี าคาถูกลง
ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence)
หรือ AI
เป็ นการพัฒนาระบบ
คอมพิวเตอร์ ให้ มี
ความสามารถที่จะคิด
แก้ ปัญหาและให้ เหตุผลได้
เหมือนอย่ างการใช้
ภูมิปัญญาของมนุษย์ จริง
การจดจาเสี ยง (voice recognition)
• นักวิทยาศาสตร์ จะทาให้คอมพิวเตอร์
จดจาเสี ยงของผูใ้ ช้
• ถ้าในอนาคตนักวิทยาศาสตร์ ประสบ
ความสาเร็ จในการนาความรู ้ต่าง ๆ มา
ใช้ส ร้ า งระบบการจดจ าเสี ย ง ก็ จ ะ
สามารถสร้ า งประโยชน์ ไ ด้ อ ย่ า ง
มหาศาลแก่ ก ารใช้งานคอมพิ ว เตอร์
และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยที่ผใู้ ช้
จะสามารถออกคาสั่งและตอบโต้กบั
คอมพิวเตอร์แทนการกดแป้ นพิมพ์
การแลกเปลีย่ นข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronics
data interchange) หรือ EDI


เป็ นการส่ งข้อมูลหรื อข่าวสารจาก
ระบบคอมพิวเตอร์ หนึ่งไปสู่ ระบบ
คอมพิวเตอร์ อื่นโดยผ่านทาง
ระบบสื่ อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
เช่น ใบสั่งซื้ อและใบตอบรับผ่าน
ระบบสื่ อสารโทรคมนาคมที่มีอยู่ ทา
ให้ท้ งั ผูส้ ่ งและผูร้ ับไม่ตอ้ งเสี ยเวลา
เดินทาง
เส้ นใยแก้ วนาแสง (fiber optics)
เป็ นตัวกลางทีส่ ามารถส่ งข้ อมูลข่ าวสารได้ อย่ าง
รวดเร็วโดยอาศัยการส่ งสั ญญาณแสงผ่ านเส้ นใย
แก้ วนาแสงทีม่ ดั รวมกัน การนาเส้ นใยแก้ วนา
แสงมาใช้ ในการสื่ อสารก่ อให้ เกิดแนวความคิด
เกีย่ วกับ “ ทางด่ วนข้ อมูล
(
information
superhighway)” ทีจ่ ะเชื่อมโยง
ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เข้ าด้ วยกัน เพื่อเปิ ด
โอกาสให้ ผู้ใช้ ได้ มโี อกาสเข้ าถึงข้ อมูลและ
สารสนเทศต่ าง ๆ ได้ ง่ายและรวดเร็วขึน้
อินเทอร์ เน็ต (internet)
เป็ นเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ขนาด
ใหญ่ ที่เชื่อมโยงไปทั่วโลก มีผู้ใช้ งาน
หลายล้านคน และกาลังได้ รับความ
นิยมเพิม่ ขึน้ อย่ างต่ อเนื่อง โดยที่
สมาชิกสามารถติดต่ อสื่ อสาร
แลกเปลีย่ นข้ อมูลข่ าวสาร ตลอดจน
ค้ นหาข้ อมูลจากห้ องสมุดต่ างๆ ได้
7. การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยในการผลิต (computer aided
manufacturing) หรือ CAM
เป็ นการน าคอมพิ ว เตอร์ ม าช่ ว ยในการผลิ ต สิ น ค้า ในโรงงาน
อุตสาหกรรม เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์ จะมีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือ
ได้ใ นการท างานที่ ซ้ า กัน ตลอดจนสามารถตรวจสอบรายละเอี ย ดและ
ข้อผิดพลาดของผลิตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐานที่ตอ้ งการ ซึ่ งจะช่วยประหยัด
ระยะเวลาและแรงงาน ประการส าคัญ ช่ วยให้คุณ ภาพของผลิ ตภัณฑ์มี
ความสม่าเสมอตามที่กาหนด
25
8. ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์ ( geographic
information system ) หรือ GIS
เป็ นการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์ทางด้านรู ปภาพ (graphics)
และข้อมูลทางภูมิศาสตร์มาจัดทาแผนที่ในบริ เวณที่สนใจ GIS
สามารถนามาประยุกต์ให้เป็ นประโยชน์ในการดาเนินกิจการต่าง ๆ
เช่น การวางแผนยุทธศาสตร์ การบริ หารการขนส่ ง การสารวจและ
วางแผนป้ องกันภัยธรรมชาติ การช่วยเหลือและกูภ้ ยั เป็ นต้น
26
3. เทคโนโลยีวสั ดุ และกระบวนการผลิตสมัยใหม่
(The Revolution of Materials, Devices and
Manufacturing )
ประกอบด้ วย
3.1 วัสดุฉลาด (Smart materials)
3.2 การผลิตแบบมีความ คล่ องตัวสู ง( agile manufacturing)
3.3 นาโนเทคโนโลยี (nanotechnology)
27
3.1 วัสดุฉลาด (Smart materials)
วั ส ดุ ที่ ส า ม า ร ถ รั บ รู้ ก า ร
เปลี่ ย นแปลงของสภาพแวดล้ อ มที่ มั น
ท า ง า น อ ยู่ แ ล ะ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ก า ร
เปลี่ยนแปลงเหล่ านั้นตามรู ปแบบที่มีการ
กาหนดไว้ ก่อนล่ วงหน้ าเหมือนพฤติ กรรม
ของสิ่ งมีชีวติ
28
3.2 การผลิตแบบมีความ คล่ องตัวสู ง( agile manufacturing)
การผลิตแบบมีความคล่องตัวสู งหรื อ ความไวในการตอบสนอง( Agility
concept ) หลักการ คือ การสนองตอบอย่างรวดเร็ วต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่
เกิ ดขึ้นในอุตสาหกรรม เช่ น การผลิตแบบมีความคล่องตัวสู งเป็ นทางออกให้กับ
อุตสาหกรรมในปั จจุบนั ที่จะสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้าในเวลาอันสั้น
และต้นทุนต่ า หรื อ ความสามารถของอุตสาหกรรมที่ จะสนองตอบต่อปั จจัยการ
เปลี่ ยนแปลงที่ ไ ม่สามารถคาดหมายได้โดยยังคงผลกาไรในการแข่งขันไว้ หรื อ
ความสามารถที่จะนาส่ งสิ นค้าให้แก่ลูกค้าได้ในเวลาที่ตอ้ งการ
29
3.3 นาโนเทคโนโลยี (nanotechnology)
หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ ยวข้องกับกระบวนการจัดการ การ
สร้ าง การวิเคราะห์ การสังเคราะห์วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่ องจั กรหรื อ
ผลิตภัณฑ์ซ่ ึ งมีขนาดเล็กมากในระดับ นาโนเมตร( ประมาณ 1-100
นาโนเมตร) เทียบเท่ากับระดับอนุภาคของโมเลกุลหรื ออะตอม
30
1. เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
2. เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology ; availability and utility)
3. เทคโนโลยีวัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการผลิตสมัยใหม่
(Technology of Materials, Devices and Manufacturing )
BT
IT
TMDF
31
มีการคาดการณ์ว่า ชีวติ มนุ ษย์นบั จากปัจจุบนั (2000-2050)
จะถูกปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลง โดยเป็ นผลกระทบมาจาก
ความหลากหลายและรูปแบบผสมผสานศักยภาพของเทคโนโลยีต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับชีวติ ทัง้ ด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเรื่อง
ส่วนตัว
32
•มนุ ษย์มีคณ
ุ ภาพชีวติ ที่ดี และช่วงชีวติ ที่ยาวนานข้ น
•ผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมที่สูงข้ น รองรับประชากรโลก
•การลดขัน้ ตอนและช่วงเวลาในการฝกอบรมงาน
•การผลักดันให้เกิดโลกาภิวฒ
ั น์อย่างต่อเนื่ อง
33
•การผสมผสานของวัฒนธรรม การควบกลืนวัฒนธรรม
และการจัดการข้อขัดแย้งทางวัฒนธรรม
•อานาจและอิทธิพลของภาครัฐ ถูกกระจายออกสูอ่ งค์กรและภาคเอกชน
•ผลกระทบทางสิง่ แวดล้อมต่างๆที่ขยายออกไปอย่างต่อเนื่ องกัน
•การยกระดับคุณภาพชีวติ และลดความเครียดในชีวติ ประจาวัน
•ความเป็ นไปได้ในการคัดกรอง และปรับปรุงพันธุกรรมมนุ ษย์
34
แผนภาพแสดง รายได้ท่สี ูงข้ น เมื่อมนุ ษย์รูจ้ กั นาเทคโนโลยีมาใช้
แต่สวนทางกับด้านอืน่ ๆที่ลดลง
35
ปัญหาสาคัญ ที่อาจเกิดจากการปฏิวตั ทิ างเทคโนโลยี
36
ความเป็ นไปได้ท่จี ะเกิดการปฏิวตั ิรูปแบบของการดาเนิ น
ชีวติ ดังกล่าว ข้ นอยู่กบั ปัจจัยต่างๆ ได้แก่;
• การยอมรับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีขององค์กร
• ระดับของเทคโนโลยี และการลงทุนด้าน infrastructure
• ตัวขับเคลื่อน และข้อจากัด ขององค์กร
• การสร้างสรรค์นวัตกรรม และการนาไปประยุกต์ใช้
อย่างไรก็ตาม มีการประเมินไว้วา่ จะพบความแตกต่างในการปฏิวตั ริ ูปแบบการ
ดาเนินชีวติ ดังกล่าวมาก ในพื้นทีท่ เ่ี ป็ นประเทศกาลังพัฒนา
37
38
แนวโน้ มการเพิ่มของประชากรโลกตามความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยี
39
ที่มา http://filipspagnoli.wordpress.com/2009/08/09/population-growth-and-income-growth-incompatible/
40
41
 การเพิ่มของประชากรในยุคแรกๆ
เป็ นแบบอนุ กรมเลขคณิ ต มีซ่ ึงการเพิ่มจานวนอย่างช้าๆ
 ในปั จจุ บน
ั การเพิ่มของประชากร เป็ นแบบอนุ กรมเรขาคณิ ต มีซ่ ึงการเพิ่มจานวนอย่าง
รวดเร็ว โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศกาลังพัฒนา (Developing regions)
 ซึ่งเป็ นผลมาจากความเจริ ญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 ปั ญหาอะไรจะตามมาบ้าง ...... อาหาร ที่อยู ่ ยารักษาโรค สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ......
นักศึ กษาจะนาหลักปรัชญาพอเพี ยงมาเป็ นแนวทางในการใช้
วิทยาศาสร์และเทคโนโลยี ได้อย่างไร
42