ภาพนิ่ง 1 - วิทยาลัยเชียงราย

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - วิทยาลัยเชียงราย

วิชา 61305 การจัดการอนามัยสิ่ งแวดล้ อม 1
เรื่อง
หลักการจัดการขยะมูลฝอย
ขยะติดเชื้อ และขยะอันตราย
บรรยายโดย: สุ เวช พิมนา้ เย็น
LL.B., LL.M.(Candidate),
B.Ed., B.Sc., B.P.H., M.S.
อาจารย์ประจาคณะสาธารณสุ ขศาสตร์ วิทยาลัยเชียงราย
การจัดการขยะมูลฝอย ขยะติดเชื้อ และขยะอันตราย
วัตถุประสงค์
อธิบายหลักการและวิธีจดั การขยะมูลฝอย ขยะติดเชื้อ และขยะอันตรายได้
คาถามนา
1. ขยะหรื อมูลฝอยคืออะไร ก่อให้เกิดปัญหาอะไรบ้าง
2. วิธีการกาจัดมูลฝอยมีอะไรบ้าง
3. การจัดการขยะมูลฝอยทัว่ ไปทาอย่างไร
4. ขยะหรื อมูลฝอยติดเชื้อคืออะไร การจัดการขยะมูลฝอยขยะติดเชื้อใช้
วิธีการใด ผูเ้ กี่ยวข้องต้องระวังอะไรบ้าง
5. การจัดการขยะมูลฝอยอันตรายมีวิธีการทาอย่างไร
6. นักศึกษามีวิธีการลดปริ มาณขยะได้อย่างไร
นิยามของ ขยะ หรือ มูลฝอย
“มูลฝอย” หมายความว่ า เศษกระดาษ เศษผ้ า
เศษอาหาร เศษสิ นค้ า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะทีใ่ ส่
อาหาร เถ้ า มูลสั ตว์ ซากสั ตว์ หรือสิ่ งอืน่ ใดทีเ่ ก็บกวาดจาก
ถนน ตลาด ทีเ่ ลีย้ งสั ตว์ หรือทีอ่ นื่ และหมายความรวมถึง
มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยทีเ่ ป็ นพิษหรืออันตรายจากชุมชน
(พรบ.การสาธารณสุข 2535)
Functional Element of
a Waste Management system
waste generation
separation/ storage
collection
transport
transformation
disposal
disposal
•
•
•
•
Composting
Incineration (680-1,100 0C)
Pyrolysis
Sanitary landfill
(High Density Polyethylene: HDPE)
หลักการ 3Rs
Reduce Reuse Recycle
ปัญหาทีเ่ กิดจากมูลฝอย
• บ้ านเมืองสกปรก ส่ งกลิน่ เหม็นรบกวนผู้อยู่ใกล้ เคียง
• เป็ นแหล่ งเพาะเชื้อโรค และเกิดสั ตว์ นาโรคสู่ คน เช่ น หนู
แมลงสาบ และยุง เป็ นต้ น
• ทาให้ เกิดมลพิษทั้งทางดิน ทางนา้ และทางอากาศ
• กีดขวางการระบายนา้ และเส้ นทางสั ญจรทางนา้
• ท่ อระบายนา้ อุดตัน เกิดนา้ ท่ วมขัง
• ทาให้ เสี ยค่ าใช้ จ่ายในการเก็บขนและกาจัดมูลฝอย
ประเภทมูลฝอย
มูลฝอยเศษอาหาร
หมักทาปุ๋ ย เลีย้ งสั ตว์
มูลฝอยรีไซเคิล
นาเข้ ากระบวนการ
ผลิตกลับมาใช้ ใหม่
7
มูลฝอยติดเชื้อ
(เผาที่อณ
ุ หภูมิ
760 -1,000 องศาเซลเซียส)
มูลฝอยอันตรายจากบ้านเรือน
(ปรับเสถียรแล้วนาไปฝังกลบ )
8
การจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อ
“มูลฝอยติดเชื้อ” หมายความว่า มูลฝอยที่มีเชื้อโรค
ปะปนอยูใ่ นปริ มาณหรื อมีความเข้มข้นซึ่ งถ้ามีการสัมผัส
หรื อใกล้ชิดกับมูลฝอยนั้นแล้วสามารถทาให้เกิดโรคได้
มูลฝอยที่เกิดขึ้นหรื อใช้ในกระบวนการตรวจวินิจฉัย
ทางการแพทย์และการรักษาพยาบาล การให้ภูมิคุม้ กันโรค
และการทดลองเกี่ยวกับโรค และการตรวจชันสู ตรศพหรื อ
ซากสัตว์ รวมทั้งในการศึกษาวิจยั เรื่ องดังกล่าว ให้ถือว่า
เป็ นมูลฝอยติดเชื้อ ได้แก่...
(1) ซากหรื อชิ้นส่ วนของมนุษย์หรื อสัตว์ที่เป็ นผลมาจาก
การผ่าตัด การตรวจชันสูตรศพหรื อซากสัตว์ และการใช้
สัตว์ทดลอง
(2) วัสดุของมีคม เช่น เข็ม ใบมีด กระบอกฉี ดยา หลอดแก้ว
ภาชนะที่ทาด้วยแก้ว สไลด์ และแผ่นกระจกปิ ดสไลด์
(3) วัสดุซ่ ึ งสัมผัสหรื อสงสัยว่าจะสัมผัสกับเลือด
ส่ วนประกอบของเลือด ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเลือด สารน้ าจาก
ร่ างกายของมนุษย์หรื อสัตว์ หรื อวัคซีนที่ทาจากเชื้อโรคที่มีชีวิต
เช่น สาลี ผ้าก๊อส ผ้าต่างๆ และท่อยาง
(4) มูลฝอยทุกชนิดที่มาจากห้องรักษาผูป้ ่ วยติดเชื้อร้ายแรง
การจัดการขยะอันตราย
Hazardous Waste
รวบรวมจากแหล่ งกาเนิดไม่ ให้ มกี ารแตกหรือรั่วไหล
โรงกาจัด
ทุบเพือ่ ย่ อยขนาด
ปรับเสถียร
ทาให้ เป็ นก้ อนแข็ง
ฝังกลบตามหลักสุ ขาภิบาล
คาถามทบทวนเพื่อเตรี ยมสอบ
ภาชนะและบริ เวณที่พกั ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อต้องมี
คุณสมบัติหรื อลักษณะอย่างไร
ผูป้ ฏิบตั ิงานขนย้ายมูลฝอยติดเชื้อต้องสวมอุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายส่ วนบุคคล อะไรบ้าง
การกาจัดมูลฝอยติดเชื้อจะใช้วธิ ี การใด อธิ บายได้หรื อไม่
นักศึกษาควรไปอ่ าน
กฎกระทรวงว่ าด้ วยการกาจัดมูลฝอยติดเชื้อ
ซึ่ง อ.สุ เวช ได้รวบรวมไว้ให้แล้ว
ประเด็นขยะมูลฝอย
อัตราการผลิตขยะมูลฝอยโดยเฉลี่ยอยูท่ ี่ 0.65 กิโลกรัม/คน/วัน
(กรมควบคุมมลพิษ 2552)
ปริมาณขยะมูลฝอยทีเ่ กิดขึน้ และได้ รับการจัดการอย่ างถูกต้ องตามหลักวิชาการ
ปี 2546 - 2552
ขยะมูลฝอยในเขตองค์ การบริหารส่ วนตาบล
(กรมควบคุมมลพิษ 2552)
ขยะมูลฝอยเกิดขึ้น
16,208 ตัน/วัน
กาจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ 1,485 ตัน/วัน
กาจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ร้อยละ 9 ของปริ มาณ
ขยะมูลฝอยในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบล
ส่ วนขยะมูลฝอยที่เหลือ ร้อยละ 91 จะถูกกาจัดด้วยวิธีการ
เผากลางแจ้งหรื อนาไปทิ้งในบ่อดินเก่าหรื อบนพื้นที่วา่ งต่างๆ
การใช้ ประโยชน์ ขยะมูลฝอย
ปี 2552 ขยะมูลฝอยทัว่ ประเทศ 15.11 ล้านตัน
มีการนากลับมาใช้ประโยชน์ประมาณ 3.86 ล้านตัน หรื อร้อยละ 26
สัดส่ วนการนาขยะมูลฝอยชุมชนกลับมาใช้ประโยชน์ ปี 2552
ขยะอันตราย
ปริ มาณของเสี ยอันตรายจากชุมชน ปี 2552 จาแนกตามรายภาค
ขยะอันตราย
ปริ มาณของเสี ยอันตรายจากอุตสาหกรรมปี 2552 จาแนกตามรายภูมิภาค