Transcript CAMT
CAMT
Assignment
2
หลักการการวิจ ัยการ
จัดการความรู ้ (Principles of
Knowledge Management
Research)
KM704
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
การพัฒนาระบบสารสนเทศ คลัง
ความรู ้ชุมชน
่
เพือการจั
ดการความรู ้ สาหร ับการ
ช่วยเหลือฟื ้ นฟู ผู ป
้ ระสบภัยน้ าท่วม
หลังน้ าลด
จังหวัดเชียงใหม่
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
การทบทวนวรรณกรรม
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
่
(ศิริววั ศรีทบ
ั ทิม,2552) ได ้ศึกษาเรืองการพั
ฒนาระบบ
การรวบรวมความรู ้
ด ้านคหกรรมศาสตร ์ กรณี ศก
ึ ษา
่ งหวัดกาญจนบุร ี เพือการจั
่
ภูมป
ิ ัญญาท ้องถินจั
ดบรรยากาศและ
่ านวยความสะดวกให ้ นักวิชาการ ครู-อาจารย ์ นักเรียน
เครืองอ
นั ก ศึก ษา ภู มิปั ญ ญาท อ้ งถิ่น ปราชญ ช
์ ม
ุ ชน และประชาชน
่ ดคุยแลกเปลียนความคิ
่
่
สามารถเข ้าถึงเพือพู
ดเห็ น แลกเปลียน
เรียนรู ้ดา้ นวิชาคหกรรมศาสตร ์ไดอ้ ย่างสะดวกผ่านทางวิธก
ี าร
ด า้ นอิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์ การพัฒ นาระบบเป็ นรู ป แบบของ Web
่
Application เป็ นแหล่งความรู ้เกียวกั
บวิชาชีพ 3 ด ้าน คือ ผ้า
่
่ม ผลิต ภัณ ฑ จ์ าก
และผลิต ภัณ ฑ จ์ ากผ้า อาหารและเครืองดื
สมุนไพร โดยแบ่งระบบย่อยเป็ น 5 ระบบ ไดแ้ ก่ 1) ข่าว 2)
่ 4) ผลิตภัณฑ ์ชุมชน 5)
ชุมชนคนทางาน 3) ภูมป
ิ ัญญาท ้องถิน
กระทู ้ ถาม-ตอบ และแบ่งออกเป็ น 3
กลุ่ม คือ ผูด้ ูแลระบบ
่
สมาชิก และบุคคลทั่วไป ผลการศึกษา วิเคราะห ์ข ้อมูลเกียวกั
บ
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
่
(มาโนช ์ ตนสิงห ์, 2552) ไดศ้ ก
ึ ษาเรืองการพั
ฒนา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการติดตามโครงการ/กิจกรรม ตาม
แผนปฏิบต
ั ก
ิ าร คณะวิทยาศาสตร ์ มหาวิทยาลัยแม่ โจ ้ โดย
้
่อเพิ่ มประสิท ธิภ าพในการ
ได อ้ อกแบบและพัฒ นาขึนเพื
ทางาน การติดตามโครงการ การอนุ มต
ั โิ ครงการ และลด
้
่อเพิ่มประสิท ธิภ าพในการท างาน ระบบ
การพัฒ นาขึนเพื
้
พัฒ นาขึนบนระบบปฏิ
บ ัต ิก ารวินโดวส เ์ อ็ ก ซพี โปรเฟส
ชัน แ น ล เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช ใ้ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ ก อ บ ด ้ว ย
โปรแกรมไมโครซอฟท ์ วิชวลสตูดโี อ
ดอตเน็ ต เวอร ์ชัน
2005
ส าหร บ
ั ติด ต่อ ผู ใ้ ช ้งานและประมวลผลข อ้ มู ล
โปรแกรมไมโครซอฟท ์ เอสคิด วแอล เซิร ์ฟเวอร ์ 2005
ส าหร บ
ั ระบบฐานข อ้ มู ล ผลการศึก ษาจากผู ใ้ ช ้ระบบ 12
คน จากแบบสอบถาม พบว่า ผู ใ้ ช ้งานมีค วามพึง พอใจใน
Ratchapong
Horchairat
่
่
่
้ ้
No 542
CAMT
(สิรล
ิ ก
ั ษณ์ ไชยวงศ ์, 2552) ไดศ้ ก
ึ ษาการพัฒนาระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัด การกองทุ น หมู่ บ า้ น ป่ าพร ้าวนอก
ต าบลป่ าแดด อ าเภอเมื อ ง จัง หวัด เชีย งใหม่ โดยการ
อ อ ก แ บ บ พั ฒ น า ร ะ บ บ เ พื่ อ เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พใ น ก า ร
บริหารงาน การจัดเก็บขอ้ มูล การกู ้ยืมเงินของสมาชิ การ
จัด การรายได ้ และค่ า ใช จ้ ่ า ย การจัด สรรเงิน ก าไร การ
้ ง
คานวณเงินปันผล และการออกรายงานทางบัญชี อีกทังยั
ช่ว ยลดปั ญ หาการสืบ คน
้ และการสูญ หายของข อ้ มู ล ด ว้ ย
ผลการศึ ก ษา การประเมิ น การท างานของระบบจาก
คณะกรรมการ กองทุนหมู่บา้ นจานวน 5 คน และสมาชิก
่
กองทุนจานวน 32 คน พบว่าค่าเฉลียความพึ
งพอใจโดย
่ าเฉลีย
่ 3.72 คือระบบสามารถใช ้
รวมอยู่ในระดับมาก ทีค่
งานได ้จริงและตอบสนองความต ้องการของผูใ้ ช ้
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
่ ฒนาระบบ
(พิไลพร ฟุ่ มเฟื อย, 2552) ได ้ศึกษาเพือพั
สารสนเทศของร ้านม่ อ นทรายค า จัง หวัด เชีย งใหม่ โดย
่
ศึกษาออกแบบและพัฒนาระบบเพื่อเพิมประสิ
ทธิภาพการ
ทางานของทางร ้านค ้า ทาให ้สามารถนาขอ้ มูลมาใช ้ให ้เกิด
่
ประโยชน์ ซึงประกอบไปด
ว้ ยระบบการท างานหลัก 10
้ ต ถุ ด ิ บ
ระบบได แ้ ก่ ระบบงานดู แ ลระบบ ระบบงานซือวั
้
ระบบงานขอ้ มูลพืนฐาน
ระบบงานสินคา้ คงคลัง ระบบงาน
ขอ
้ มู ล ลู ก ค า้ ระบบงานขายสิ น ค า้ ระบบงานการเงิ น
ระบบงานบุคลากร ระบบงานรายงานสารสนเทศและระบบ
้
สนั บ สนุ นการตัด สินใจในการตังราคาขาย
ผลการศึก ษา
โดยการใช ้แบบสอบถามจากกลุ่มผูใ้ ช ้งานระบบ 10 คน
่ ่ในระดับ มี
พบว่าระดับความพึงพอใจมีค่า 3.92
ซึงอยู
ประสิทธิภาพในการทางานมาก
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
่
(ธนกร เคหา, 2551) ได ้ศึกษาเรืองการพั
ฒนาระบบ
สารสนเทศของฟาร ์มสุกร ภาควิชาเทคโนโลยีทางสัตว ์
มหาวิทยาลัยแม่โจ ้ โดยใช ้ระบบสารสนเทศสามารถ
สนับสนุ นรายงานและการจัดการฟาร ์มสุกรของสาขาสุกร
่ ้เป็ นเกณฑ ์ในการ
ภาควิชาเทคโนโลยีทางสัตว ์ เพือใช
กาหนดมาตรฐานฟาร ์มสุกร ตามประกาศกระทรวงเกษตร
่ ฒนาขึน้ ประกอบด ้วย
และสหกรณ์ ระบบสารสนเทศทีพั
กระบวนการหลักของระบบสารสนเทศ 4 กระบวนการคือ
ระบบสาหร ับผูบ้ ริหาร ส่วนการจัดการระบบ ส่วนของการ
บันทึก/แก ้ไข/ลบข ้อมูล และระบบรายงาน สาหร ับรูปแบบ
ของระบบเป็ นการดาเนิ นการบนระบบเครือข่ายภายใน ที่
ง่ายต่อการใช ้ระบบ ผลการศึกษา พบว่า รายงานผลจาก
่ ฒนาขึนสอดคล
้
ระบบทีพั
้องกับความต ้องการของ
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
่
(ประยู ร แก้วมา, 2551) ได ้ศึกษาเรืองการพั
ฒนาระบบ
สารสนเทศงานสารบรรณอิเล็กทรอนิ กส ์ โรงเรียนบา้ นกาด
วิทยาคม อ าเภอแม่ วาง จัง หวัดเชียงใหม่ โดยการพัฒ นา
ระบบได ้กาหนดผูใ้ ช ้งานเป็ น 4 กลุ่ม คือ ผูด้ แู ลระบบ เจ ้าที่
ธุรการ ผูบ้ ริหารและบุคลากร ผูใ้ ช ้งานแต่ละกลุ่มไดร้ บั สิทธิ ์
การใช ้งานในระบบที่แตกต่ า งกัน และระบบสารสนเทศนี ้
้ ว้ ยภาษาพีเอชพีในรูปเว็ บแอพพลิเคชัน
่ จาก
พัฒนาขึนด
การประเมินความพึงใจ ของผูใ้ ช ้ระบบจานวน 35
คน
่ ด
พบว่ามีผูใ้ ช ้ความพึงพอใจระดับมากทีสุ
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
่
(กรณ์ดนัย วิทยานุ การุณ, 2551) ได ้ศึกษาเรืองการ
่
่
ออกแบบสารสนเทศเพือการจั
ดการความรู ้เรืองเรื
อนกาแล
ใหเ้ ป็ นหมวดหมู่ โดยการดาเนิ นงานเป็ น 2 ช่วง ช่วงแรก
่
่ ยวข
่
เป็ นการเก็บความรู ้จากผูเ้ ชียวชาญที
เกี
อ้ ง จานวน 3
ท่าน โดยการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็ นทางการ ขอ้ มูลเหล่านี ้
น ามาจัด หมวดหมู่ พ ร ้อมกับ ข อ้ มู ล ที่จัด เก็ บ รวบรวมจาก
แหล่ ง ข อ้ มู ล และท าการประเมิน คุณ ภาพสารสนเทศที่ได ้
่
่เกี่ยวข อ้ งจ านวน 5
โดยขอความเห็ น จากผู เ้ ชียวชาญที
่ อทีใช
่ ้ในการวิจยั ช่วงที่ 2 นี ใช
้ ้การสัมภาษณ์
ท่าน เครืองมื
แบบไม่เป็ นทางการร่วมกับแบบประเมินคุณภาพสารสนเทศ
่
เพื่ อการจัด การความรู เ้ รืองกาแล
ผลการศึ ก ษา การ
ประเมิ น คุ ณ ภาพอยู่ ใ นเกณฑ ด
์ ี ผลการประเมิ น เท่ า กั บ
่
่
4.03 ส่วนเบียงเบนมาตรฐานของค่
าเฉลียรวมเท่
ากับ 0.28
Ratchapong Horchairat No 542
่
CAMT
่
(ภคณัฐ ฌายีเนตร, 2551) ได ้ศึกษาเรืองการพั
ฒนา
ระบ บต น
้ แบบการจั ด การความรู ส้ าหร บ
ั ฝ่ ายบ ริห าร
โครงข่ายจังหวัดลาปาง บริษท
ั ทีทีแอนด ์ที จากัด (มหาชน
้
วิธก
ี ารศึกษามี 6 ชันตอนคื
อ 1) การวางแผนกลยุทธ ์การ
จัด การความรู ้ขององค ก์ ร 2) การศึก ษากลุ่ ม เป้ าหมาย
พนั ก งานในฝ่ ายงานบ ารุง ร ก
ั ษา โครงข่ า ยจัง หวัด ล าปาง
จานวน 36 คน 3) การรวบรวมเอกสาร 4) การออกแบบ
และพัฒนาระบบต ้นแบบการจัดการความรู ้ 5) การนาไปใช ้
งานและการแบ่งปันความรู ้
6) การประเมินผลเว็บไซต ์
ผลการศึกษาในภาพรวมพบว่ากลุ่มผูใ้ ช ้มีความรู ้และทักษะ
ในการท างานอยู่ ใ นระดับ ค่ อ นข า้ งสู ง และเต็ มใจที่ จะ
ถ่า ยทอดความรู ้ของตนเองออกมาหากเป็ นประโยชน์ใ น
การพัฒนาประสิทธิภาพของบริษท
ั และจากการประเมินผล
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
(อรวรรณ อุทย
ั มณี ร ัตน์, 2551) ได ้ศึกษาการจัดการ
่ ฒนาการปฏิบต
ความรู ้เพือพั
ั งิ าน
ดา้ นกิจการนั กศึกษาของมหาวิทยาลัย นอร ์ท-เชียงใหม่ ผู ใ้ ห ้
้ั ้ คือ บุคลากรทีปฏิ
่ บต
ขอ้ มู ลในการวิจยั ครงนี
ั งิ านดา้ นกิจการ
นั กศึกษาและผูใ้ ช ้บริการดา้ นกิจการนั กศึกษา สานั กกิจการ
่ อทีใช
่ ้ใน
นักศึกษา ปี การศึกษา 2549 จานวน 30 คน เครืองมื
การวิจ ย
ั คือ แบบสัม ภาษณ์แ ละใช ้วิธ ีก ารสัม ภาษณ์แ บบลึก
วิ เ คราะห ข
์ อ้ มู ล ที่ มี เ ป็ นลัก ษณะของการบรรยาย ใช ก้ าร
้
่
วิเคราะห ์เนื อหา
เพืออธิ
บายผลการศึกษาตามความเป็ นจริงถึง
่
การจัดการความรู ้เพือการปฏิ
บต
ั งิ านด ้านกิจการนักศึกษา ยัง
่
เป็ นลักษณะของการทางานแบบลองผิดลองถูก เพือหาวิ
ธก
ี าร
ในการท างาน และพัฒ นาวิธ ีก ารปฏิบ ต
ั ิง านให ด
้ ีที่สุ ด โดยมี
่ การปรบั ปรุงรูปแบบในการทางานต่าง ๆ อย่าง
วิธก
ี ารทางานทีมี
Ratchapong Horchairat No 542
่
CAMT
่
(สุรศ ักดิ ์ สันติสถิตพงศ ์, 2551) ได ้ศึกษา เรืองการน
า
ระบบจัดการองค ์ความรู ้เขา้ มาช่วยใหก้ ารจัดกิจกรรมและ
การด าเนิ นงานต่ า ง ๆ ของโครงการศู น ย พ
์ ั ฒ นาเด็ ก
่
คริสตจักรเวียงทอง โดยการพัฒนาระบบจัดการความรู ้เพือ
่
ใช ้สาหรบั แลกเปลียนและแบ่
งปันในองค ์กร 4 ส่วน คือ 1)
ระบบการจัดการองค ์ความรู ้ในรูปแบบแผนภาพ 2) ระบบ
คลังขอ้ มูล 3) ระบบการแบ่งปันความรู ้ 4) การนาระบบ
้ อ่ ผลการศึกษา การ
ควบคุมตน้ ฉบับและระบบกฎการตังชื
พัฒ นาระบบ โดยใช ้วงจรชีวิต การพัฒ นาซอฟต ์แวร ์แบบ
Incremental Model จุดสาคัญของการพัฒนาระบบคือ
การวางแผนการพัฒ นาระบบ ผู บ
้ ริห ารโครงการจะต อ้ ง
่ ธน
้
บริหารเวลาสาหรบั การพัฒนาระบบ ซึงวิ
ี ี จะต
้องแบ่งการ
พัฒนาออกเป็ นหลาย ๆ ส่วน (ระบบย่อย)
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
่
(ไกลสน แตงโสภา, 2551) ไดศ้ ก
ึ ษา เรืองการระบบ
ส า ร ส น เ ท ศ ง า น ส า ธ า ร ณ สุ ข คื อ เ ป็ น ร ะ บ บ จั ด ก า ร
่ ฒนาใหส้ ามารถเชือมโยงกั
่
ฐานขอ้ มูลทีพั
บระบบงานต่าง ๆ
้ั
ของโรงพยาบาล โดยมีข นตอนดั
งนี ้ 1)
คน
้ หาความ
ต ้องการ 2) การวิเคราะห ์
3) การออกแบบและสร ้าง
้
ระบบ 4) การติดตังระบบและการบ
ารุงรกั ษา 5) การนาออก
ผลการศึกษา โดยการทดสอบการใช ้งานกรณี ศก
ึ ษาของ
โรงพยาบาลดอยสะเก็ ด โดยได ท
้ ดสอบกับ ระบบบริห าร
จัด การคลัง ยาและวัส ดุ ก ารแพทย ์ พบว่ า ระบบสามารถ
น าไปใช ป้ ระกอบการตัด สิ นใจในการวางแผนทางด า้ น
สาธารณสุขของโรงพยาบาลดอยสะเก็ดได ้
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
(ศรณ์พชร ดวงแก้ว, 2550) ไดศ้ ก
ึ ษาการพัฒนาระบบ
สารสนเทศ เพื่อการเฝ้ าระวังและควบคุมโรคไข เ้ ลือดออก
่ ฒนาระบบ
ของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาปาง เพือพั
สารสนเทศให ส้ ามารถจัด เก็ บ ข อ้ มู ล ประมวลผล ร บ
ั ส่ ง
ข ้อ มู ล แ ล ะ ก า ร ร า ย ง า น ข ้อ มู ล ผ่ า น ท า ง เ ค รื อ ข่ า ย
อินเตอร ์เน็ ตไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสนับสนุ นการ
ใช ้งานของผู บ
้ ริห ารของส านั ก งานสาธารณสุ ข จัง หวั ด
ลาปาง ใหท
้ ราบสถานการณ์และสนั บสนุ นการใช ้งานของ
้
ประชาชนทั่วไป ให ส้ ามารถเข า้ ถึงข อ้ มู ล เนื อหาวิ
ช าการ
่
ความรู ้เรืองโรคไข
เ้ ลือ ดออกและทราบอัต ราป่ วยด ว้ ยโรค
ไขเ้ ลือดออกในจังหวัดลาปาง ผลการศึกษา จากผูใ้ ช ง้ าน
่ งพอใจการใช ้งานและประสิทธิภาพ
จานวน 44 คน เป็ นทีพึ
่
ของระบบโดยเฉลียอยู
ใ่ นเกณฑ ์ระดับดี
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
่
(เมฆิน มะโนแก้ว , 2550) ได ศ
้ ึก ษา เรืองการแก
ไ้ ข
ปั ญหาการบริหารจัดการน้าท่วมขององค ์การบริหารส่วน
ตาบลป่ าแดด อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดย
การใช ้แบบสอบถาม จานวน 390 คน ผลการศึกษา คือ 1)
ข ้อจากัดและแนวทางการแก ้ไขปัญหา 2) ประชาชนได ้รบั
ผลกระทบจากปัญหาน้าท่วม ในระดับสูง 3) ประชาชนกลุ่ม
่ าน
ตัวอย่างเห็นว่าวิธก
ี ารป้ องกนและแก ้ไขปัญหาน้าท่วมทีผ่
มาอยู่ในระดับดี 4) ประชาชนกลุ่มตัวอย่างแสดงความเห็น
ด ้วยกับแนวทางการป้ องกันแก ้ไขปัญหาน้าท่วมขององค ์กร
บริหารส่วนตาบลป่ าแดดในอนาคต ในระดับมาก
Ratchapong Horchairat No 542
CAMT
(ธ น
ั ยพร วณิ ชฤทธา, 2550) ได ศ
้ ึ ก ษา การพั ฒ นา
่
รูปแบบการจัดการความรู ้ด ้านการจัดการท่องเทียวเชิ
งนิ เวศใน
ชุม ชน จัง หวัด สมุ ท รสงคราม เพื่อศึก ษา รูป แบบการจัด การ
่
ความรู ้ดา้ นการท่องเทียวเชิ
งนิ เวศในชุมชน มีองค ์ประกอบและ
ขั้นตอนอย่ า งไร กระบวนการจัด การความรู ส้ อดคล อ้ งกับ
แบบจาลองปลาทูหรือไม่ ชุมชนมีกระบวนการจัดการความรู ้
่
ด ้านการท่องเทียวอย่
างไร โดยกลุ่มตัวอย่างจานวน 44 คน ผล
การศึ ก ษา พบว่ า รู ป แบบการจัด การความรู ใ้ นชุ ม ชน มี
่ าคัญคือ ความรู ้ คน และกระบวนการ ความรู ้
ส่วนประกอบทีส
่ ยวกั
่
่
คือความรู ้ทีเกี
บการจัดการ โดยมี คนเป็ นกลไกสาคัญทีจะ
ทาใหเ้ กิดกระบวนการหรือกิจกรรมต่าง ๆ และกระบวนการจึ ง
่
เป็ นวิธเี ชือมประสาน
คน ความรู ้และกระบวนการเข ้าไว ้ด ้วยกัน
่ ปแบบการจัดการความรู ้มีความสอดคลอ้ งกับแบบจาลอง
ซึงรู
Ratchapong Horchairat No 542
่
CAMT
(ภร ัณยา อามฤคร ัตน์, 2549) ได ้ศึกษา การพัฒนาระบบ
สารสนเทศด า้ นการประกัน คุณ ภาพการศึก ษา กรณี ศึก ษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม” การดาเนิ นการวิจยั ไดพ
้ ฒ
ั นา
้ั
้
โดยมีขนตอน
5 ขันตอน
คือ การวิเคราะห ์ปัญหาและความ
ต ้องการ การออกแบบ การสร ้างและพัฒนา การทดสอบระบบ
การวิเคราะห ์ และการประเมินผล โดยใช ้เทคนิ คการออกแบบ
คลั ง ข อ
้ มู ล แบบสตาร ์ จัด เก็ บ ข อ
้ มู ลโดยใช ร้ ะบบจัด การ
ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพันธ ์ MySQL ใช ้โปรแกรมภาษา PHP ใน
่ ้ในมี
กรติดต่อกับผูใ้ ช ้และกับฐานขอ้ มูล โดยกลุ่มตัวอย่ างทีใช
2 กลุ่ม จานวน 10 คน ผลการศึกษาพบว่ามีประสิทธิภาพใน
ระดับดี
Ratchapong Horchairat No 542