ดาว์นโหลด

Download Report

Transcript ดาว์นโหลด

การพัฒนาระบบสารสนเทศ
1. การพัฒนาระบบสารสนเทศ



ใช้เทคนิ คการศึกษา การวิเคราะห์ และการออกแบบระบบสารสนเทศของ
องค์กร
เรียกการดาเนิ นงานว่า “การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System
Analysis and Design”
ผูพ้ ฒ
ั นาระบบศึกษาวิเคราะห์การไหลเวียนของข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่าง
ปั จจัยนาเข้า ทรัพยากร และผลลัพธ์ เพื่ออกแบบระบบสารสนเทศใหม่
2. ความสาคัญของผูใ้ ช้ต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ผูใ้ ช้ไม่พอใจขั้นตอนการ
ทางานระบบปั จจุบนั
สารสนเทศที่องค์การต้องการ แต่ยงั ไม่มีระบบใดให้ได้
ความต้องการ
ความไม่พอใจ
ผูใ้ ช้
ระบบที่ตอ้ งการ
พัฒนาระบบ
รูปแบบและความสามารถของระบบใหม่
3. ข้อบกพร่องของระบบสารสนเทศในการดาเนิ นงาน
เทคโนโลยีไม่เหมาะสม/ล้าสมัย
เทคโนโลยี
ความ
ซับซ้อน
ขั้นตอนการใช้งานระบบยุง่ ยาก
ซับซ้อน
ความ
ผิดพลาด
กลยุทธ์
ระบบ
ดาเนิ นการ
ผิดพลาดบ่อย
ระบบไม่สนับสนุ นการ
ดาเนิ นงานระดับกลยุทธ์
ความ
ต้องการ
ระบบไม่สามารถตอบสนองความ
ต้องการของผูใ้ ช้งาน
ปั ญหา
ระบบ
สารสนเทศ
มาตรฐาน
เอกสารที่ได้จากระบบมีมาตรฐานตา่
4. ปั จจัยในการพัฒนาระบบ
ระบบยืดหยุน่ และพัฒนาได้ในอนาคต
มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ
ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสมบูร์์
วางแผนที่เป็ นขั้นตอนชัดเจน
ผูใ้ ช้ระบบ
การวางแผน
อนาคต
สอดคล้องกับการออกแบบ
การบารุงรักษา
ปั จจัยในการ
พัฒนาระบบ
การทดสอบ
บารุงรักษาได้สะดวก ง่าย และประหยัด
การตรวจสอบและ
ประเมินผล
ประเมินผลระบบสารสนเทศใหม่
เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ
ผูใ้ ช้
การจัดเก็บเอกสาร
การเตรียมความพร้อม
สร้างความเข้าใจและฝึ กอบรมผูใ้ ช้
จัดเก็บเอกสารที่ง่ายต่อการ
ค้นหาและอ้างอิง
5. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst : SA)
ที่ปรึกษา (Consultant)
ให้คาปรึกษาด้านการปรับระบบงานขององค์กร
บทบาท SA
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
ให้คาแนะนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
แก้ปัญหาการปฏิบตั ิงานของหน่ วขงานอื่น
ตัวแทนการเปลี่ยนแปลง
สร้างทัศนคติที่ดีแลฝึ กอบรมผูใ้ ช้ระบบ
นักวิเคราะห์ระบบกับผูเ้ กี่ยวข้องในการพัฒนาระบบ
ผูข้ ายซอฟต์แวร์
(Software Buyer)
นักโปรแกรม
(Programmer)
ทีมงานด้านเทคนิ ค
(Technical Support)
ผูจ้ ดั การ (Manager)
เจ้าของระบบ (System
Owner)
วิศวกรระบบ (System
Engineer)
นักวิเคราะห์
ระบบ
(System
Analyst)
ผูใ้ ช้ระบบ (System
User)
6. หน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ


หน้าที่หลัก : การวางแผน การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
หน้าที่อื่นๆ :
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
ติดต่อประสานงานกับผูใ้ ช้ระบบตลอดระยะเวลาการพัฒนาระบบ
รวบรวมข้อมูลระบบเดิม ปั ญหาระบบงานเดิม
วางแผนในแต่ละขั้นตอนให้สอดคล้องกับความต้องการปั จจุบนั และอนาคต
ออกแบบการทางานของระบบใหม่ให้ตรงกับความต้องการผูใ้ ช้
วิเคราะห์เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่จะได้รบั
วิเคราะห์ขอ้ กาหนดด้านฐานข้อมูล
ทาเอกสารประกอบโดยละเอียด
กาหนดลักษ์ะเครือข่ายและมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยระบบ
สร้างแบบจาลอโปรแกรม
ติดตั้งและปรับเปลี่ยนระบบ
ทาแบบสอบถามและผลการดาเนิ นงาน
บารุงรักษาและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
ให้คาปรึกษา ประสานงาน และแก้ปัญหาให้ผใู้ ช้ระบบ
7. ทีมงานในการพัฒนาระบบ
• กาหนดรูปแบบและวัตถุประสงค์ระบบ
• จัดตั้งขึ้ นจากบุคคลหลายสาขา
• ให้ขอ้มลู เกี่ยวกับปั ญหาของระบบเดิม
• กาหนดความต้องการระบบใหม่
ค์ะกรรมการดาเนิ นงาน
(Steering Committee)
ผูใ้ ช้และผูจ้ ดั การทัว่ ไป
(User and General Manager)
• ให้ขอ้ มูลในการพัฒนาระบบ
• รวบรวมข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลเป็ นระบบ
เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล
(Information Center Personal)
นักเขียนโปรแกรม
(Programmer)
• การพัฒนาชุดคาสัง่ ของระบบ
• ดูและประสานงานการวางแผน
โครงการต่างๆ ด้าน MIS
ผูจ้ ดั การระบบสารสนเทศ
(MIS Manager)
• วางแผน จัดการ และควบคุม
โครงการให้ราบรื่นและสาเร็จ
ผูจ้ ดั การโครงการ
(Project Manager)
นักวิเคราะห์ระบบ
(System Analyst)
• การวิเคราะห์ความต้องการ
การออกแบบ และพัฒนาระบบ
8. วิธีพนฐานในการพั
ื้
ฒนาระบบ
•วิธีเฉพาะเจาะจง
(Ad Hoc Approach)
• การแก้ปัญหางานใดงานหนึ่ ง
• รวดเร็ว แต่ขาดมาตรฐานและเก็บข้อมูลซ้าซ้อน
2
•วิธีสร้างฐานข้อมูล
(Database Approach)
• การพัฒนาฐานข้อมูลสาหรับเก็บข้อมูลและ
ประมวลผล
• ระบบไม่บรู ์าการเข้ากับกลยุทธ์
3
•วิธีจากล่างขึ้ นบน
(Bottom-Up Approach)
• พัฒนาระบบเดิมโดยตรวจสอบสิ่งที่มีอยู่ และ
พัฒนาเพิ่มเติมเป็ นระบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพ
4
•วิธีจากบนลงล่าง
(Top-Down Approach)
• พัฒนาจากนโยบายหรือความต้องการของ
ผูบ้ ริหารระดับสูง โดยไม่ดูระบบปั จจุบนั
• สารวจกลยุทธ์ ความต้องการ และปั จจัย
สนับสนุ นและพัฒนาระบบให้ตรงกับความ
ต้องการของผูบ้ ริหาร
1
9. ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
สารวจปั ญหา ความเป็ นไปได้ และค่าใช้จา่ ยระบบ
สารวจเบื้ องต้น
(Preliminary Investigation)
วิเคราะห์ความต้องการ
(Requirement Analysis)
ออกแบบระบบ
(System Design)
ออกแบบการแสดงผลลัพธ์
การป้อนข้อมูล การเก็บรักษา
การปฏิบตั ิงาน และบุคลากร
ค้นหาความต้องการผูใ้ ช้ การใช้งานแต่ละด้าน
ระบบใหม่ ข้อเด่นข้อด้อยเสนอฝ่ ายจัดการตัดสินใจ
จัดหา Hardware และ
Software
จัดหาอุปกร์์
(System Acquisition)
• ทดสอบระบบเป็ นไปตามวัตถุประสงค์
• ติดตั้งตามตารางเวลาที่กาหนด
• กาหนดเก์ฑ์ประเมินและบารุงรักษาระบบ
ติดตั้งและบารุงรักษา
(System Implement and
Maintenance)
10. รูปแบบการพัฒนาวงจร
1
• รูปแบบน้ าตก (Waterfall Model)
2
• รูปแบบวิวฒ
ั นาการ (Evolution Model)
3
• รูปแบบค่อยเป็ นค่อยไป (Incremental Model)
4
•รูปแบบเกลียว (Spiral Model)
รูปแบบน้ าตก (Waterfall Model)
การวางแผนระบบ(Systems Planning)
การวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis)
การย้อนกลับไปแก้ไขในขั้นตอนก่อนหน้า
หากพบข้อผิดพลาดเรียกว่า
Adapted Waterfall Model
การออกแบบระบบ (Systems Design)
การปรับใช้ระบบ (Systems Implementation)
การบารุงรักษา(Systems Maintenance)
รูปแบบวิวฒ
ั นาการ (Evolution Model)
•
•
•
•
การพัฒนาระบบในเวอร์ชนั แรก
ทดสอบและประเมิน
พัฒนาระบบเป็ นเวอร์ชนั ใหม่
ต้องกาหนดจานวนเวอร์ชนั ตั้งแต่เริ่ม
โครงการให้ชดั เจน
ระบบที่สมบูรณ์ที่สุด
ระบบที่สมบูรณ์
วิเคราะห์
ระบบ
วิเคราะห์
ออกแบบ
วิเคราะห์
ออกแบบ
พัฒนา
ออกแบบ
พัฒนา
เวอร์ชั ่นที่ 3
พัฒนา
เวอร์ชั ่นที่ 2
เวอร์ชั ่นที่ 1
รูปแบบค่อยเป็ นค่อยไป (Incremental Model)
• คล้ายรูปแบบวิวฒ
ั นาการแต่ระบบที่ได้จะยังไม่สมบูร์์
• พัฒนาเพิ่มเติมแต่ละส่วนเพื่อให้ระบบสมบูร์์ขึ้น
ระบบที่สมบูรณ์
ยังไม่ได้ระบบที่สมบูรณ์
ยังไม่ได้ระบบที่สมบูรณ์
วิเคราะห์
วิเคราะห์
วิเคราะห์
ออกแบบ
ออกแบบ
ออกแบบ
พัฒนา
พัฒนา
พัฒนา
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 3
รูปแบบเกลียว (Spiral Model)
• การทางานวนกลับมา
ในทิศทางเดิม
• แต่ละรอบไม่
จาเป็ นต้องได้ระบบที่
สมบูร์์
• รูปแบบที่ยดื หยุน่ มาก
ที่สุด
ระบบรอบที่ 3
ระบบรอบที่ 2
ระบบรอบที่ 1
พัฒนา
วิเคราะห์
ออกแบบ
การปรับเปลี่ยนระบบ
1.
การปรับเปลี่ยนโดยตรง (Direct Conversion)
2.
การปรับเปลี่ยนแบบขนาน (Parallel Conversion)
3.
การปรับเปลี่ยนแบบเป็ นระยะ (Phased Conversion)
4.
การปรับเปลี่ยนแบบนาร่อง (Pilot Conversion)
การปรับเปลี่ยนโดยตรง (Direct Conversion)
ระบบเก่า


ระบบใหม่
การหยุดใช้ งานระบบเดิม และเปลี่ยนมาใช้ ระบบใหม่ทนั ที
ง่าย แต่เสี่ยงสูงกับข้ อผิดพลาด
การปรับเปลี่ยนแบบขนาน (Parallel Conversion)
ระบบเก่า
ระบบใหม่


การใช้ งานระบบงานเดิมและระบบงานใหม่ควบคูก่ นั ไป จนกระทัง่ ระบบใหม่
ไม่มีปัญหา แล้ วจึงยกเลิกระบบงานเดิม
สร้ างภาระงานแก่ผ้ ใู ช้ แต่มีความปลอดภัยสูง
การปรับเปลี่ยนแบบเป็ นระยะ (Phased Conversion)
ระบบเก่า


ระบบใหม่
การติดตังระบบที
้
ละระบบย่ อย แล้ วดาเนินการไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะครบทัง้
ระบบ
เหมาะกับระบบงานที่มีขนาดใหญ่
การปรับเปลี่ยนแบบนาร่อง (Pilot Conversion)
ระบบใหม่
ระบบเก่า


การติดตังที
้ ละส่วนงาน ทีละฝ่ าย และประเมินโครงการ
ถ้ าประสบความสาเร็จก็จะติดตังในส่
้ วนงานอื่น
เช่น ติดตังที
้ ละสาขาขององค์การ