บทที่ 11 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

Download Report

Transcript บทที่ 11 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

บทที่ 11 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทนา
ปัจจัยชี้วดั ความสาเร็ จของการดาเนินธุรกิจอย่างหนึ่ง คือการมีระบบสารสนเทศที่สมบูรณ์และมี
ประสิ ทธิภาพเหนือคู่แข่งขัน เพื่อช่วยจัดการบริ หารข้อมูลที่มีอยูภ่ ายในองค์การและภายนอกองค์การ
ให้มีประสิ ทธิภาพ ดังนั้นจะต้องมีการพัฒนาระบบสารสนเทศ ซึ่ งถือว่ามีความสาคัญในการ
ดาเนินการธุรกิจอย่างมาก
ความจาเป็ นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
1. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการบริ หารและการปฏิบตั ิงาน โดยนาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ใน
ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานต่างๆ
2. การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ราคาของเทคโนโลยีที่ถูกลง ส่ งผลให้มีการนาเทคโนโลยี
ใหม่ๆ มาใช้แทนของเดิมที่ลา้ สมัยและมีราคาแพง
3. การปรับองค์การและการสร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขัน โดยนาระบบสารสนเทศมาใช้
เพื่อขั้นการทางานขั้นตอนที่ยงุ่ ยาก ซับซ้อน ไม่ได้มาตรฐาน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ประกอบไปด้วย
1. กระบวนการทางธุรกิจ (Business Process)
 วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และขั้นตอนการดาเนินธุรกิจขององค์การ เช่น การลงทุนทางการเงิน การ
ลงทุนด้านเครื่ องจักร วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ค่าแรง
 ใช้กาหนดแนวทางของระบบสารสนเทศที่จะพัฒนา
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
Business Process
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
Business Process
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
2. บุคลากร
การได้รับความร่ วมมือ และการทางานร่ วมกันเป็ นทีมจากบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ไม่วา่ จะเป็ นกลุ่ม
ผูใ้ ช้ เจ้าของระบบ ทีมงานพัฒนาระบบ รวมทั้งการสนับสนุนจากผูบ้ ริ หาร
3. วิธีการและเทคนิค
เลือกใช้วธิ ีให้เหมาะสมกับลักษณะของระบบ เพราะวิธีการและเทคนิคต่างๆ จะช่วยให้ได้
สารสนเทศที่ดีและมีขอ้ จากัดที่แตกต่างกัน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
4.4.เทคโนโลยี
ต้องพิต้จอารณาอย่
างรอบคอบในการเลื
อกใช้เทคโนโลยีเอพืกใช้
่อให้ไเด้ทคโนโลยี
ประโยชน์มากที่สุด
เทคโนโลยี
งพิจารณาอย่
างรอบคอบในการเลื
เพื่อ5.ให้งบประมาณ
ได้ประโยชน์มากที่สุด
6. ข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐานภายในองค์การ องค์การควรมีโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบ
เครื อ5.ข่ายงบประมาณ
ระบบฐานข้อมูล ระบบรักษาความปลอดภัย เป็ นต้น เพื่อสนับสนุนและอานวยความสะดวก
ในการใช้
6. ข้รอะบบ
มูลและโครงสร้างพื้นฐานภายในองค์การ องค์การควรมีโครงสร้าง
พื้นฐาน เช่น ระบบเครื อข่าย ระบบฐานข้อมูล ระบบรักษาความปลอดภัย
เป็ นต้น เพื่อสนับสนุนและอานวยความสะดวกในการใช้ระบบ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
7. การบริ หารโครงการ วัตถุประสงค์คือป้ องกันไม่ให้การพัฒนาระบบเสร็ จล่าช้า และมีค่าใช้จ่าย
เกินงบที่กาหนด
การพัฒนาระบบสารสนเทศนั้น มีหลายวิธีดว้ ยกัน เช่น แบบวงจรชีวติ (System Development
Life Cycle: SDLC), การสร้างต้นแบบ (Prototyping), การเน้นผูใ้ ช้เป็ นหลัก (End-User
Development), การจ้างบุคคลภายนอก (Outsourcing), และการใช้โปรแกรมสาเร็จรู ป (Application
software package) เป็ นต้น
วิธีพ้นื ฐานในการพัฒนาระบบ




1. วิธีเฉพาะเจาะจง (Adhoc Approach)
แก้ปัญหาในงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ
มีการดาเนินการอย่างรวดเร็ ว โดยไม่คานึงถึงงานหรื อปั ญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น
เหมาะสมกับหน่วยงานที่มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ วและบ่อยครั้ง
อาจก่อให้เกิดการซ้ าซ้อนกับระบบ TPS
วิธีพ้นื ฐานในการพัฒนาระบบ (ต่อ)
2. วิธีสร้างฐานข้อมูล (Database Approach)
 นิยมใช้ในองค์การที่ยงั ไม่มีความต้องการระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
 ผูพ้ ฒ
ั นาระบบจัดเก็บข้อมูลไว้ ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
 ระบบฯ ยังไม่บูรณาการเข้ากับกลยุทธ์ขององค์การ
 ชุดคาสัง่ ที่ใช้กบั ระบบนี้มกั เป็ นชุดคาสัง่ เฉพาะที่มีลกั ษณะสั้นๆ และปฏิบตั ิงานกับข้อมูลอย่างใด
อย่างหนึ่งโดยเฉพาะ
วิธีพ้นื ฐานในการพัฒนาระบบ (ต่อ)
3. วิธีจากล่างขึ้นบน (Bottom-up Approach)
 พัฒนาจากระบบเดิมไปสู่ ระบบใหม่ที่ตอ้ งการ
 ทีมงานพัฒนาต้องตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพร่ องที่มีอยูใ่ นระบบปั จจุบน
ั
 พัฒนาระบบใหม่ข้ ึนมาตามข้อมูลที่วเิ คราะห์ได้
วิธีพ้นื ฐานในการพัฒนาระบบ (ต่อ)





4. วิธีจากบนลงล่าง (Top-down Approach)
พัฒนาจากนโยบายหรื อความต้องการของผูบ้ ริ หารระดับสูง
ไม่คานึงถึงระบบที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั
เริ่ มจากการสารวจกลยุทธ์ ความต้องการและปั จจัยที่สนับสนุนการทางานของผูบ้ ริ หารระดับสูง
พัฒนาระบบใหม่ให้ตรงกับความที่ตอ้ งการของผูบ้ ริ หาร
ปรับปรุ งระบบเดิมที่มีอยูภ่ ายในองค์การให้เป็ นไปตามแนวทางของระบบหลัก
หลักในการพัฒนาระบบ
ต้องคานึงถึงสิ่ งต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ ดังต่อไปนี้
1. เจ้าของระบบ
2. เข้าถึงปัญหาให้ตรงจุด
3. กาหนดขั้นตอนหรื อกิจกรรมในการพัฒนาระบบ
4. กาหนดมาตรฐานในการพัฒนา
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
มีวธิ ีการที่เป็ นขั้นตอนชัดเจน แบ่งออกเป็ น 5 ระยะ หรื อ 5 เฟส ได้แก่
1. การสารวจเบื้องต้น (Preliminary Investigation)
2. การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirements Analysis)
3. การออกแบบระบบ (System Design)
4. การจัดหาอุปกรณ์ของระบบ (System Acquisition)
5. การติดตั้งและดูแลรักษา (System Implementation and Maintenance)
Waterfall Model
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
Waterfall Model
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
หากต้องการย้อนกลับไปขั้นตอนก่อนหน้าเพื่อก้ไขข้อผิดพลาด
Adapted Waterfall Model
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
การพัฒนาระบบอย่างรวดเร็ ว (Rapid Application Development) ซึ่ งเป็ นรู ปแบบ
การพัฒนาที่มีการทาซ้ าบางขั้นตอน
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
การพัฒนาระบบแบบขดลวด (Spiral Model) เป็ นการพัฒนาแบบวนรอบเพื่อให้
การพัฒนาระบบมีความรวดเร็ ว โดยการพัฒนาจะเริ่ มจากแกนกลาง โดยรอบแรกจะได้
ระบบรุ่ น (version) แรกออกมา และจะปรับปรุ งให้ดีข้ ึนในรุ่ นที่สอง และดาเนินการ
แบบนี้ไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะได้รุ่นที่สมบูรณ์
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
เฟสที่ 1 การสารวจเบือ้ งต้ น (Preliminary Investigation)
 ทาการสารวจเกี่ยวกับปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
 นาปั ญหาและข้อมูลที่ได้เสนอต่อผูบ้ ริ หารเพื่อตัดสิ นใจ
 ผลที่ได้จากการนาเสนอต่อผูบ้ ริ หารอาจเป็ นได้ ดังนี้
อนุมตั ิโครงการ ดาเนินโครงการต่อไป
ชะลอโครงการ เนื่องจากองค์การยังไม่มีความพร้อม
ทบทวนโครงการ ปรับแก้ไข แล้วนาเสนอใหม่อีกครั้ง
ไม่อนุมตั ิโครงการไม่มีการดาเนินโครงการนั้นต่อไป
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
เฟสที่ 2 วิเคราะห์ ความต้ องการ (Requirements Analysis)
 วิเคราะห์ความต้องการของระบบ
 จัดตั้งทีมงาน
 ศึกษาความความเป็ นไปได้
1. ความเป็ นไปได้ในด้านเทคนิค
2. ความเป็ นไปได้ในการปฏิบตั ิงาน
3. ความเป็ นไปได้ในด้านระยะเวลาดาเนินงาน
4. ความเป็ นไปได้ในด้านการเงิน
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
 วิเคราะห์ความคุม้ ทุน
1. วิธีมูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value Method; NPV)
2. วิธีดชั นีผลกาไร
3. อัตราส่ วนผลตอบแทนจากการลงทุน
4. การวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
 เก็บรวบรวมข้อมูล
1. Fact-Finding Technique
2. Joint Application Design (JAD)
3. Prototype
 ผลที่ได้คือรายงานการวิเคราะห์ระบบที่แสดงรายละเอียดในการวิเคราะห์ระบบงานปั จจุบนั
ความต้องการระบบใหม่ ค่าใช้จ่าย แผนงาน
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
เฟสที่ 3 การออกแบบระบบ (System Design)
 ออกแบบรายละเอียดต่างๆ เช่น การป้ อนข้อมูล การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การ
เก็บรักษา
 แบ่งการออกแบบเป็ น 2 ส่ วน คือ
การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) การรออกแบบโครงสร้าง ขอบเขตการทางาน
เช่น การออกแบบฟอร์มข้อมูล รู ปแบบรายงานหรื อผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ รวมถึงฐานข้อมูล
ในระดับตรรกะ (Logical Database)
การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) ออกแบบรายละเอียดการทางานของระบบ
โดยคานึงถึงเทคโนโลยีและลักษณะของอุปกรณ์ที่นามาใช้ โปรแกรมภาษา ระบบปฏิบตั ิการ
และฐานข้อมูลในระดับกายภาพ
 โดยผลลัพธ์ที่ได้จากเฟสนี้คือ รายงานการออกแบบระบบซึ่ งแสดงการออกแบบระบบ
ทั้งหมด
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
เฟสที่ 4 การจัดหาอุปกรณ์ ของระบบ (System Acquisition)
 พิจารณาอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
 ทีมงานต้องเป็ นผูจ้ ดั หาสิ่ งเหล่านี้มา
 อาจใช้วธิ ีการเปิ ดการประมูล หรื อจ้างบริ ษทั ภายนอก
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)




เฟสที่ 5 การติดตั้งและบารุงรักษา (System Implementation and Maintenance)
ติดตั้งระบบใหม่เพื่อใช้งานจริ ง
ต้องมีการควบคุมดูแลการติดตั้ง
ทดสอบการใช้งานของระบบใหม่
อบรมให้แก่ผใู้ ช้งาน
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
วิธีการติดตั้งระบบ ทาได้ 4 วิธี คือ
1. การถ่ายโอนแบบคู่ขนาน (Parallel Conversion)
 ติดตั้งระบบใหม่ควบคู่ไปกับระบบเก่าภายในระยะเวลาหนึ่ ง
 เมื่อแน่ใจว่าระบบใหม่ทางานได้อย่างถูกต้อง จึงยกเลิกระบบเก่า
 มีความปลอดภัยสู ง
 ค่าใช้จ่ายวิธีน้ ี ค่อนข้างสู ง
2. การถ่ายโอนแบบทันที (Direct Cutover Conversion)
 ติดตั้งระบบงานใหม่และยกเลิกระบบงานเก่าทันที
 ค่าใช้จ่ายต่า
 มีความเสี่ ยงสู ง
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
3. การใช้ระบบทดลอง (Pilot Study)
 นาระบบใหม่มาใช้ทน
ั ที แต่เฉพาะส่ วนงานที่กาหนดเท่านั้น
 เมื่อใช้งานได้ตามต้องการ จึงนาไปใช้กบั ส่ วนอื่นขององค์การต่อไป
4. การถ่ายโอนทีละขั้น (Training)
 ฝึ กอบรมให้กบั ผูใ้ ช้ก่อนเริ่ มใช้ระบบ
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
การบารุ งรักษาระบบ แบ่งได้เป็ น 4 ประเภท คือ
 Corrective Maintenance เป็ นการบารุ งรักษาระบบเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้อง
 Adaptive Maintenance เป็ นการบารุ งรักษาระบบเพื่อให้สามารถรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้น
เนื่องจากเงื่อนไขหรื อเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง
 Perfective Maintenance เป็ นการบารุ งรักษาระบบเพื่อให้ระบบสามารถทางานได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
 Preventive Maintenance เป็ นการบารุ งรักษาระบบเพื่อป้ องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
วิธีอื่นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 การสร้างต้นแบบ (Prototyping)
 การพัฒนาระบบโดยผูใ้ ช้ (End-User Development)
 การจ้างบริ ษทั จากภายนอก (Outsourcing)
 การใช้ซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ปประยุกต์ (Application Software Package)
ข้อดี-ข้อเสี ยของการพัฒนาแต่ละวิธี
ข้อดี
SDLC
เหมาะกับระบบที่มีรูปแบบชัดเจน หรื อใช้
สาหรับงานประจา
ข้อเสี ย
ใช้เวลานาน, ไม่มีความยืดหยุน่ ,
ใช้งบประมาณมาก
Prototyping
พัฒนาเร็ วกว่าวิธี SDLC, ค่าใช้จ่ายน้อย, เปิ ด
ผูใ้ ช้มกั พอใจกับตัวต้นแบบ จน
โอกาสให้ผใู ้ ช้มีส่วนร่ วมในการพัฒนาระบบ ไม่ตอ้ งการตัวระบบสารสนเทศที่
มากขึ้น, ได้ระบบที่ตรงตามความต้องการ
เต็มรู ปแบบ
ข้อดี-ข้อเสี ยของการพัฒนาแต่ละวิธี (ต่อ)
ข้อดี
End-User Computing
พัฒนาได้เร็ ว, ตรงความต้องการมากกว่าวิธี
อื่น, ให้ความรู ้สึกไม่ต่อต้านระบบ
ข้อเสี ย
โปรแกรมหรื อมาตรฐานต่างๆ
ไม่มีมาตรฐาน, อาจมีผลกระทบต่อ
ระบบรักษาความปลอดภัยของ
องค์การโดยรวม
Software Package
ลดต้นทุน เวลา และกาลังคน, โปรแกรมส่ วน
อาจไม่ตรงกับความต้องการของ
ใหญ่มีขอ้ ผิดพลาดน้อย, บารุ งรักษาง่าย,
ผูใ้ ช้อย่างแท้จริ ง, อาจทาให้ตน้ ทุน
สามารถทดลอง หรื อทดสอบการใช้โปรแกรม สู งและเสี ยเวลามากขึ้น, ไม่ได้รับ
ก่อนตัดสิ นใจซื้ อได้
การสนับสนุนจากผูข้ ายที่ดี
ข้อดี-ข้อเสี ยของการพัฒนาแต่ละวิธี (ต่อ)
ข้อดี
ข้อเสี ย
Outsourcing
ต้นทุนลดลง, ได้รับคุณภาพของการบริ การ
สูญเสี ยการควบคุม, ต้องพึ่งพา
ตามที่ตอ้ งการ, มีความยืดหยุน่ ในการ
บริ ษทั ภายนอกมากขึ้นในการจัดการ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่ใช้, ลดเวลาของคนใน ด้านสารสนเทศ, เสี่ ยงต่อการรั่วไหล
องค์การที่จะต้องไปทางานด้านระบบ
ของข้อมูลภายในองค์การ
สารสนเทศได้
กิจกรรมเสริ ม
“ถ้าคณะวิทยาการจัดการ ต้องการพัฒนาระบบสารสนเทศ สาหรับอาจารย์และนักศึกษาในคณะ”
หากนักศึกษาเป็ นเจ้าของโครงการในการพัฒนาระบบสารสนเทศนี้ จะเลือกใช้วธิ ีใดในการ
พัฒนา จงอธิบายเหตุผลประกอบอย่างน้อย 5 บรรทัด (เลือกเพียง 1 วิธีเท่านั้น) [10 pts.]
 การสร้างต้นแบบ (Prototyping)
 การพัฒนาระบบโดยผูใ้ ช้ (End-User Development)
 การจ้างบริ ษทั จากภายนอก (Outsourcing)
 การใช้ซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ปประยุกต์ (Application Software Package)