โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ การพัฒนาโปรแกรมการใช้

Download Report

Transcript โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ การพัฒนาโปรแกรมการใช้

การพัฒนาโปรแกรมการใช้
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ICNP คืออะไร
ICNP = International Classification for Nursing Practice
= ระบบจาแนกการปฏิบัติการพยาบาลในระดับสากล
ประกอบด้ วย
1. Nursing Phenomena ปรากฏการณ์ ทางการพยาบาล
(Nursing Diagnosis)
2. Nursing Actions การกระทาการพยาบาล (Nursing Interventions)
3. Nursing Outcomes ผลลัพธ์ ทางการพยาบาล
ในแต่ ละองค์ ประกอบจะมีการกาหนดคาและ Code อย่ างเป็ นระบบ
ให้ ผู้ปฏิบัติการเลือกใช้
ทาไมต้ องทา ICNP
• ต้ องการพัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาล
– ให้มค
ี ณ
ุ ภาพ
– เป็ นระบบ
– มีความเป็ นสากล
โดยนาระบบสารสนเทศมาใช้ เพื่อ
– สะดวก ประหยัดเวลาในการบันทึกข้ อมูล
– เกิดประโยชน์ สูงสุ ดทั้งด้ านคลินิก ด้ านบริหาร และการวิจัย
Nursing Phenomena และ Nursing Actions
Nursing Phenomena
ประกอบด้ วย 8 แกนดังนี้
A. Focus of Nursing Practice
B. Judgement
C. Frequency
D. Duration
E. Topology
F. Body Site
G. Likelihood
H. Bearer
Nursing Actions
ประกอบด้ วย 8 แกนดังนี้
A. Action Type
B. Target
C. Means
D. Time
E. Topology
F. Location
G. Routes
H. Beneficiary
Nursing Outcomes
เป็ นการประเมินปรากฎการณ์ ทางการพยาบาล (ข้ อวินิจฉัยการพยาบาล)
ภายหลังได้ รับการกระทาการพยาบาล (การปฏิบัตกิ ารพยาบาล)
การจาแนกแกนย่ อยจึงสอดคล้ องกับแกนย่ อยของ
ปรากฎการณ์ ทางการพยาบาล
แนวทางในการประกอบคาศัพท์ตามแกน
เพื่อให้เกิดปรากฎการณ์ทางการพยาบาล
• ปรากฏการณ์ทางการพยาบาล (Nursing
Phenomena)
1. จะต้ องมีคาศัพท์ จากแกนจุดเน้ นของการปฏิบัติการพยาบาล
2. จะต้ องมีคาศัพท์ จากแกนการตัดสิ น หรื อแกนโอกาสจะเกิด
3. คาศัพท์ จากแกนอื่นเป็ นการเลือก (ไม่ จาเป็ นต้ องมีกไ็ ด้ )
เพื่อขยายการบาบัดให้ ชัดเจนและเฉพาะเจาะจง
4. เลือกคาศัพท์ จากแต่ ละแกนได้ เพียงคาเดียวเท่ านั้น
แนวทางในการประกอบคาศัพท์ตามแกน
เพื่อให้เกิดการกระทาการพยาบาล
• การกระทาการพยาบาล (Nursing Actions)
1. จะต้ องมีคาศัพท์ ในแกนชนิดของการกระทา
2. คาศัพท์ จากแกนอื่นเป็ นตัวเลือกเพื่อขยายการบาบัดให้ ชัดเจน
และเฉพาะเจาะจง
3. แต่ ละแกนเลือกคาศัพท์ ได้ เพียงตัวเดียวเท่ านั้น
คณะกรรมการจัดทาและพัฒนาโปรแกรม ICNP
1. กรรมการที่ปรึกษา
2. กรรมการจัดทาฐานข้ อมูล ICNP
3. โปรแกรมเมอร์
4. หน่ วยสารสนเทศทางการพยาบาล
1. กรรมการที่ปรึ กษา
1. นางสาวบุญเฉลา สุ ริยวรรณ หัวหน้ าฝ่ ายการพยาบาล
2. นางสุ ธาดา โกมลฐิติ ทีป่ รึกษาหน่ วยสารสนเทศทางการพยาบาล
3. นางลาเนาว์ เรื องยศ ที่ปรึกษาหน่ วยสารสนเทศทางการพยาบาล
4. นางสาวผาณิต สกุลวัฒนะ หัวหน้ าหน่ วยสารสนเทศทางการ
พยาบาล
2. กรรมการจัดทาฐานข้ อมูล ICNP
งานการพยาบาลผู้ป่วย
1 นอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน
2 อายุรศาสตร์
3 ศัลยศาสตร์
4 กุมารฯ
5 ออร์ โธฯ
6 สูติศาสตร์ ฯ
7 พิเศษ
8 ทั่วไปฯ
9 ผ่ าตัดและพักฟื ้ น
10 วิชาการฯ
ปี 2543 - 2544
นางสาวปริ นยาพร ศรี สุโข
นางสุชาดา บุญแก้ ว
นางสาวรุ จิพร เทพอาพันธุ์
นางสาวจันทร์ เพชร บุษบงไพรวัลย์
นางสาวโสภี วิระรั งษิยากรณ์
นางจงรั กษ์ ชลานันท์
นางณัฐยา พั่วทัด
นางประไพพรรณ วงศ์เครื อ
นางพัชรี สิทธิไตรย์
นางสาววันเพ็ญ จันทร์ แจ่ ม
นางนฤมล บุลยเลิศ
ปี 2545 - 2546
นางสาวปริ นยาพร ศรี สุโข
นางสุนิสา อนุชาตระกูล
นางลาวัลย์ อู่เงิน
นางสาวปั ทมา กาคา
นางสาวโสภี วิระรั งษิยากรณ์
นางณัฐยา พั่วทัด
นางอุทยั วรรณ หุตะโชค
นางสาวเมทินี จิตรอ่อนน้ อม
นางพิจิตร รอดบ้ านสวน
นางสาวนรั ชพร ศศิวงศากุล
3. โปรแกรมเมอร์
• นางสาวแน่ งน้ อย หน่ อคา
• นายจิตติ วราพุธ
4. หน่ วยสารสนเทศทางการพยาบาล
• นางสาวนรัชพร ศศิวงศากุล
• นายขรรค์ ชัย เกตุสอน
• นางทัยรัตน์ พันธุ์แพ
กระบวนการจัดทา ICNP
ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
1. ปี 2543 ตั้งคณะกรรมการ ICNP จากแต่ ละงานการพยาบาล
2. ปี 2544 รวบรวมข้ อวินิจฉัยการพยาบาลของแต่ ละงานการ
พยาบาลมาจัดหมวดหมู่ และทาเนื้อหา
3. ปี 2545 - 2546 พัฒนาการทาฐานข้ อมูล ICNP ให้ ครอบคลุม
และสามารถใช้ งานได้ มากทีส่ ุ ด
4. ปี 2546 พัฒนาโปรแกรมการออกรายงานจากฐานข้ อมูล ICNP
ทั้งทางด้ านคลินิก ด้ านบริหารและการวิจัย
5. ปี 2547 ทดลองการใช้ โปรแกรม ICNP ในหอผู้ป่วย
6. ปี 2547 ประเมินผลและปรับปรุงการใช้ โปรแกรม ICNP
1. ปี 2543 ตั้งคณะกรรมการ ICNP
จาก 9 งานการพยาบาลและหน่ วยสารสนเทศทางการพยาบาล เพื่อจัด
หมวดกิจกรรมการพยาบาล ให้ สามารถคิดต้ นทุนทางการพยาบาลได้
2. ปี 2544 รวบรวมข้ อวินิจฉัยการพยาบาลของ
แต่ ละ
งานการพยาบาลมาจัดหมวดหมู่
• สารวจข้ อวินิจฉัยการพยาบาล 10 อันดับแรกของหอผู้ป่วยได้
จานวน 84 ข้ อวินิจฉัย
• นามาจัดหมวดหมู่พบว่ ายังขาดส่ วนทีจ่ าเป็ นจึงจัดทาเพิม่ เติมเป็ น
จานวน 202 ข้ อวินิจฉัย
3. ปี 2545 - 2546 พัฒนาการทาฐานข้ อมูล ICNP ให้
ครอบคลุม
และสามารถใช้ งานได้ มากทีส่ ุ ด
• ทา Nursing Phenomena และ Nursing Actions และใส่ Code
ตามระบบ ICNP
• จานวน Nursing Phenomena ทั้งหมด 203 หัวข้ อ
- ด้ านการทาหน้ าที่ (Function) 185 หัวข้ อ
- ด้ านบุคคล (Person) 18 หัวข้ อ
• จานวน Nursing Actions ระดับ 1 ทั้งหมด 543 หัวข้ อ
1. ด้ านการทาหน้ าที่ (Function) 185 หัวข้ อ
แบ่ งเป็ น 14 ระบบ ดังนี้
1. Respiration
2. Circulation
3. Body Temperature
4. Nutrition
5. Digestion
6. Fluid Volume
7. Elimination
8. Integument
9. Restoration
10. Motor Activity
11. Sensation
12. Immune System
13. Reproduction
14. Physical Development
2. ด้ านบุคคล (Person) 18 หัวข้ อ
• Nursing Phenomena
ใช้ แนวคิดแบบแผนสุ ขภาพ
เป็ นเครื่ องมือประเมินปัญหา
• Nursing Actions เนื้อหารวบรวมจากมาตรฐาน
การพยาบาล
• จัดกลุ่ม Nursing Phenomena กับ 10 อันดับโรคแรกของ
โรงพยาบาลและ 8 หัตถการทีพ่ บบ่ อย
Nursing Outcomes
• ประเมินปรากฎการณ์ ทางการพยาบาล เป็ น 3 ระดับ
คือ
ดีขนึ้ คงเดิม เลวลง
• สรุปผลการดูแลตามเป้ าหมาย
• สรุปผลการให้ สุขศึกษา
10 อันดับโรคแรกของ
โรงพยาบาล
1. Senile Cataract
2. Hypertension
3. Pneumonia
4. DM
5. Renal Failure
6. CA Cervix
7. Myocardial Infarction
8. Angina Pectoris
9. CA Lung
10. Acute Appendicitis
11. COPD
12. CVA
13. Pulmonary TB
14. Septicemia
8 หัตถการทีพ่ บ
บ่ อย
1. Post regional Block
2. Post general Anesthesia
3. Chemotherapy
4. Radiotherapy
5. Hemodialysis
6. Peritoneal Dialysis
7. Cardiac catheterization
8. Amputation
ตัวอย่ าง Nursing Phenomena และ Nursing Actions
ปรากฎการณ์ ทางการพยาบาล :ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
1A.1.1.1.2.2.1.1 Hypertension / 1B.1.1 Yes
การกระทาการพยาบาล (Nursing Actions)
1. ค้ นหาสาเหตุและปั จจัยเสี่ยงที่ทาให้ ความดันโลหิตสูง
2A.1.1 Identifying / 2B.1.1.1.1.2.2.1.1 Hypertension
2. ประเมินอาการและอาการแสดงของความดันโลหิตสูง
2A.1.4 Assessing / 2B.1.1.1.1.2.2.1.1 Hypertension
3. เฝ้ าระวังอาการและอาการแสดงของความดันโลหิตสูง
2A.1.3 Monitoring / 2B.1.1.1.1.2.2.1.1 Hypertension
ฯลฯ
4. พัฒนาโปรแกรมการออกรายงานจากฐานข้ อมูล
ICNP ทั้งทางด้ านคลินิก ด้ านบริหารและการวิจัย
ตัวอย่างรายงาน
ด้านคลินิก
ตัวอย่างรายงาน
ด้านคลินิก
ตัวอย่ างโปรแกรม
ตัวอย่ างโปรแกรม
ตัวอย่ างโปรแกรม
ตัวอย่ างโปรแกรม
ตัวอย่ างโปรแกรม
ตัวอย่ างโปรแกรม
ตัวอย่ างโปรแกรม
แผนงานที่จะทาต่อไป
1. ปี 2547 ก.พ. - เม.ย. ทดลองการใช้ โปรแกรม ICNP ในหอ
ผู้ป่วย
2. ปี 2547 พ.ค. ประเมินผลและปรับปรุงการใช้ โปรแกรม ICNP
3. สรุปรายงานการพัฒนาการใช้ โปรแกรม ICNP
ปัญหาและอุปสรรคทีพ่ บ
1. ข้ อจากัดของคาและ Code ของ ICNP
• ตัวอย่ างความหมายของคาในภาษาอังกฤษและไทยต่ างกัน
• ใน ICNP Mobility = การเคลื่อนที่
Body Movment = การเคลื่อนไหว
• ในทางปฏิบัติจริงเราใช้
Impaired Mobility = การเคลื่อนไหวร่ างกายบกพร่ อง
• เลือดออกทางจมูก : คาว่ า จมูก ไม่ม ี Code ในระบบ ICNP
้ งใช้คาว่า ช่ องจมูก ซึงมี
่ Code ในระบบ
ดังนันจึ
ICNP
เลือดออกในช่ องจมูก = Nasal Cavity Bleeding
ปัญหาและอุปสรรคทีพ่ บ
2. ใช้ เวลาทาฐานข้ อมูลนาน และต้ องทาต่ อเนื่อง เนื่องจาก
– ปริมาณข้ อมูลมาก
– เมื่อมีการปรับเปลีย่ นข้ อมูลจะต้ องย้ อนกลับไปตรวจสอบแก้ไขข้ อมูล
ทั้งหมดให้ ตรงกัน
– ต้ องเรียนรู้ควบคู่ไปกับการปฏิบัติโดยใช้ กระบวนการวิจัย
– ถ้ าขาดความต่ อเนื่องจะทาให้ ทางานได้ ช้าลงเพราะต้ องเสี ยเวลาทบทวน
ข้ อมูลและข้ อตกลงเดิม