การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต

Download Report

Transcript การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต

อิ นเทอร์เน็ต . . .
โครงสร้ างพืน้ ฐานของอินเทอร์ เน็ต
ประกอบด้วยเครื อข่ายระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดับชาติ
และระดับนานาชาติที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน อินเทอร์ เน็ตเชื่อมโยงข้อมูล
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ดว้ ยความเร็ วและคุณภาพที่แตกต่างกัน ขึ้นอยูก่ บั
รู ปแบบการสื่ อสาร และสื่ อที่ใช้ในการเชื่อมโยงเครื อข่าย
ความหมายของอินเทอร์ เน็ต
อินเทอร์ เน็ต เป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ขององค์กรธุรกิจ หน่วยงานของรัฐบาลสถานศึกษา ตลอดจน
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเข้าด้วยกัน ทาให้บริ การต่างๆ นาเสนอผ่าน
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถเข้าถึงได้จากคอม
พิว
เตอร์หรื ออุปกรณ์จากคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์
อื่นๆจากที่ต่างๆ
การเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ต
ผูใ้ ช้ที่เป็ นคนทางาน นักเรี ยน นักศึกษา มักจะเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
ผ่านเครื อข่ายของหน่วยงาน ซึ่ งเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง ผูใ้ ช้
ทัว่ ไปอาจใช้วธิ ี การเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตโดยใช้โมเด็มผ่านสายโทรศัพท์ ซึ่ ง
เป็ นอินเทอร์ เน็ตความเร็ วต่า หรื อเชื่อมต่อผ่านบรอดแบนด์อินเทอร์ เน็ต
การติดต่ อสื่ อสารบนอินเทอร์ เน็ต
คอมพิวเตอร์ ที่ติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน อินเทอร์ เน็ตมีคุณลักษณะ
ต่างกัน การที่อินเทอร์ เน็ตสามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ที่มีความแตกต่างกัน
ให้สามารถทางานร่ วมกันได้ เนื่องจากใช้โพรโทดอลเดียวกันในการสื่ อสาร
เรี ยกว่า TCP/IP
เลขทีอ่ ยู่ไอพี คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันอยูบ่ นอินเทอร์เน็ต จะมี
หมายเลขอ้างอิงในการติดต่อสื่ อสาร เรี ยกว่า เลขที่อยูไ่ อพีหรื อไอพีแอดเดรส
ซึ่ งจะต้องไม่ซ้ ากันเลย โดยใช้ไอพีแอดเดรสประกอบด้วยเลข 4 ชุด ซึ่ งแยกกัน
ด้วยจุด
ระบบชื่อโดเมน สามารถแปลงเลขที่อยูไ่ อพีให้เป็ นชื่อโดเมนที่อยู่
ในรู ปของชื่อย่อภาษาอังกฤษหลายส่ วนคัน่ ด้วยเครื่ องหมายจุด เช่น
www.ipst.ac.th
เวิล์ดไวด์ เว็บ (World Wide Web) เป็ นการให้บริ การข้อมูล
แบบ hypertext ประกอบด้วยเอกสารจานวนมากที่มีการเชื่อมโยงกัน เป็ น
แหล่งของข้อมูลขนาดใหญ่ที่ผใู ้ ช้อินเทอร์ เน็ตสามารถเข้าถึงผ่านโพร
โทดอล เรี ยกว่า HTTP
คาที่เกีย่ วข้ องกับ World Wide Web
- Web page
- Web site
- Web server
การเรียกดูเว็บ (Web brower) เป็ นโปรแกรมใช้สาหรับ
แสดงเว็บเพจและสามารถเชื่อมโยงไปยังส่ วนอื่นในเว็บเพจเดียวกัน
หรื อเว็บเพจอื่นผ่านการเชื่อมโยงหลายมิติ (Link)
ตัวอย่างการเข้ าเว็บบราว์ เซอร์
* Mozilla Firefox
* Microsoft Internet Explorer
ทีอ่ ยู่ของเว็บ ในการอ้างอิงตาแหน่งของแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
ที่ผใู ้ ช้ร้องขอ มีรูปแบบดังนี้
* โพรโทดอล ใช้สาหรับระบุมาตรฐานที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเว็บ
* ชื่อโดเมน ใช้สาหรับระบุชื่อโดเมนของเว็บเซิร์ฟของผูใ้ ห้บริ การข้อมูล
* เส้นทางเข้าถึงไฟล์ ใช้สาหรับระบุตาแหน่งของไฟล์จากเว็บเซิร์ฟเวอร์
* ชื่อข้อมูล ชื่อไฟล์ที่ร้องขอ เช่น ไฟล์รูปภาพ เป็ นต้น
การค้ นหาผ่ านเว็บ
* โปรมแกรมค้ นหา (search engines) ใช้
สาหรับค้นหาเว็บเพจที่ตอ้ งการ โดยระบุคาหลักหรื อคา
สาคัญ เพื่อนาไปค้นในฐานข้อมูลขนาดใหญ่
* ตัวดาเนินการในการค้ นหา การค้นหา
ประกอบกับคาหลัก จะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ในการค้นหาดี
ยิง่ ขึ้น
เว็บ 1.0 และ เว็บ 2.0
เว็บ 1.0 เป็ นเว็บในยุคแรกเริ่ มมีลกั ษณะให้ขอ้ มูลแบบทางเดียว ผูส้ ร้างได้
ให้รายละเอียดไว้เพียงอย่างเดียว ไม่ค่อยมีการปรับปรุ งข้อมูลให้ทนั สมัย
ต่อมาได้พฒั นาเทคโนโลยีที่สนับสนุนการใช้งานบนอินเทอร์ เน็ต ทาให้ผใู้ ช้
ทัว่ ไปสามารถเป็ นส่ วนหนึ่ งของผูใ้ ห้ขอ้ มูลในรู ปแบบต่างๆ ปรากฏบนเว็บเพจ จึงมี
การเรี ยกว่า เว็บ 2.0
เว็บ 2.0 ต่ างจาก เว็บ 1.0 คือ
- มีการสร้างเครื อข่ายทางสังคมผ่านเว็บไซต์
- มีการพัฒนาความร่ วมมือแบบออนไลน์
- มีการแบ่งปั นข้อมูลและแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น
- ใช้งานอินเทอร์ เน็ตผ่านอินเทอร์ เน็ต
การสื่ อสารในเวลาจริง
* แชท (chat) เป็ นการสนทนาผ่านอินเทอร์ เน็ต ระหว่าบุคคล 2 คน
หรื อระหว่างกลุ่ม เช่น Windows Live และ Yahoo messenger
* ห้ องคุย (chat room) เป็ นการสนทนาที่ผใู้ ช้สามารถเลือกประเภท
ของหัวข้อที่สนใจซึ่ งแบ่งไว้เป็ นห้องต่างๆ เพื่อพูดคุยกันระหว่างบุคคลหรื อเป็ น
กลุ่ม เช่น CHATABLANCA
* วอยซ์ โอเวอร์ ไอพี หรือวีโอไอพี (Voice over IP: VoIP) เรี ยกอีก
อย่างว่า อินเทอร์ เน็ตเทเลโฟนี (Internet telephony) ซึ่ งช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถคุย
กับผูอ้ ื่นผ่านทางอินเทอร์ เน็ตได้ ในการเชื่อมต่อเข้ากับคู่สนทนาที่อาจอยูใ่ น
พื้นที่เดียวกัน หรื อพื้นที่ที่ห่างไกลออกไป โดยเสี ยงของผูพ้ ดู จะถูกแปลงให้อยู่
ในรู ปสัญญาณดิจิทลั
ข้ อควรระวังในการสนทนากันคนแปลกหน้ า
* ไม่ควรให้รายละเอียดส่ วนตัว เช่น ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และ
รู ปภาพ ที่อาจนามาสู่ การคุกคามที่ไม่พึงประสงค์
* ไม่ควรหลงเชื่อคาพูด โดยขาดการไตร่ ตรองถึงเหตุผลที่เหมาะสม
* ไม่ควรเปิ ดเผยข้อมูลส่ วนตัวของเพื่อน หรื อคนที่รู้จกั โดยไม่ได้รับ
อนุญาต
* ไม่ควรไปพบกับคู่สนทนาที่ไม่รู้จกั มาก่อนแบบต่อหน้า ถ้าจาเป็ นควร
ปรึ กษาผูป้ กครองหรื อคุณครู
* ไม่ควรรับแฟ้ มข้อมูลที่ส่งมา โดยไม่มีการยืนยันจากผูส้ ่ ง เพราะอาจ
เป็ นแฟ้ มที่ส่งโดยไวรัส
บริการบนอินเทอร์ เน็ต
* ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรืออีเมล (e-mail) เป็ นบริ การรับส่ งจดหมาย
ในรู ปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับความนิยมจากผูใ้ ช้ โดยสามารถส่ งได้ท้ งั ข้อความ
และไฟล์ต่างๆ ซึ่ งผูร้ ับและผูส้ ่ งต้องมีที่อยูอ่ ีเมล (e-mail-address) เพื่อระบุตวั ตนบน
เครื อข่าย เปรี ยบเสมือนกับเป็ นที่อยูท่ ี่ใช้รับและส่ งจดหมาย
** มารยาทของการสื่ อสารผ่ านอีเมล
- ใช้หวั เรื่ องสรุ ปข้อความสาคัญของเนื้อหาในอีเมล
- เขียนเนื้อหาให้มีสาระในการอ่านชัดเจน
- เขียนข้อความให้กระชับ และลงชื่อผูเ้ ขียนทุกครั้ง
- จัดระเบียบข้อความเป็ นย่อหน้าเพื่อสะดวกต่อการอ่าน
- ใช้ bcc ในการระบุผรู้ ับ เมื่อส่ งข้อความถึงผูร้ ับจานวนมาก
เพื่อปกป้ องความเป็ นส่ วนตัวของผูร้ ับที่ระบุใน bcc
ฯลฯ
* เว็บไซต์ เครือข่ ายทางสั งคม (social networking Web sites) เป็ น
ชุมชนออนไลน์ที่สมาชิกในชุมชนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยมีเป้ าหมายใน
การเป็ นจุดเชื่อมโยงระหว่างผูใ้ ช้ โดยอาจเชื่อมโยงผ่านกิจกรรมอย่างใดอย่าง
หนึ่งที่ผใู ้ ช้มีความสนใจร่ วมกัน ตัวอย่างเว็บไซต์เครื่ อข่ายทางสังคม เช่น
facebook,myspace,Linkedin,hi5 และ GotoKnow
* บล็อก (blog) เป็ นระบบการบันทึกข้อมูลลาดับเหตุการณ์ในแต่ละวัน
ประสบการณ์ความคิดของผูเ้ ขียนบล็อกผ่านเว็บไซต์ ในรู ปแบการนาเสนอ
หัวข้อ ซึ่ งผูอ้ ื่นสามารถอ่านและแสดงความคิดเห็ฯได้ ตัวอย่างบล็อก เช่น
Blogger,GoogleBlog และ BLOGGANG
* ไมโครบล็อค (microblog) เป็ นบล็อกที่มีการแสดงหัวข้อและ
ความคิดเห็นที่กระชับ กะทัดรัด ผูใ้ ช้ที่เป็ นสมาชิกสามารถเลือกหัวข้อจาก
บล็อคอื่นให้มาปรากฏในไมโครบล็อคของตนเอง หรื อเลือกตามสมาชิ กอื่น
ได้ เช่น twitter,yammer,jaiku
* วิกิ (wiki) เป็ นรู ปแบบการเผยแพร่ ขอ้ มูลที่บุคคลต่างๆ ซึ่ งเป็ นผู้
มีความรู ้ความชานาญเฉพาะเรื่ อง สามารถมีส่วนร่ วมในการเป้ ฯผูใ้ ห้ขอ้ มูล
ใหม่ หรื อเป็ นผูป้ รับปรุ งข้อมูลที่มีอยูเ่ ดิมให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น
* อาร์ เอสเอส (Really Simple Syndication: RSS) เป็ น
เทคโนโลยีที่ใช้สาหรับเผยแพร่ ขอ้ มูลที่ถกู ปรับปรุ งให้ทนั สมัยอยูเ่ ป็ น
ประจาได้แบบอัตโนมัติ โดยผูใ้ ช้ตอ้ งขอรับบริ การ (subscribe) ผูใ้ ช้ไม่ตอ้ ง
เข้าไปยังเว็บไซต์ที่สนใจต่าง ๆ โดยตรง
*พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิส์ (electronic commerce หรือ e-commerce)
เป็ นการทาธุรกรรมซื้ อขาย หรื อแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การบนอินเทอร์เน็ต
โดยใช้เว็บไซต์เป็ นสื่ อในการนาเสนอสิ นค้าและบริ การต่างๆ รวมถึงการ
ติดต่อกันระหว่างผูซ้ ้ื อและผูข้ าย ทาให้ผเู ้ ข้าใช้บริ การจากทุกที่ทวั่ โลกสามารถ
เข้าถึงร้านค้าได้ง่ายและตลอก 24 ชัว่ โมง
โปรแกรมทีไ่ ม่ พงึ ประสงค์
* ไวรัส (virus) แนบโปรแกรมแปลกปลอมเข้าไปกับโปรแกรมอื่น
แพร่ ตวั เองจากเครื่ องหนึ่ งไปอีกเครื่ องหนึ่ ง โดยผ่านสื่ อบันทึกข้อมูล
* เวิร์ม (worm) อาศัยการเจอผ่านช่องโหว่ของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
หรื ออินเทอร์ เน็ตที่ไม่มีการป้ องกันที่ดีพอ
* ม้าโทรจัน (trojan hores) แอบแฝงตัวเองว่าเป็ นโปรมแกรมอื่น
* สปายแวร์ (spyware) ถูกออกแบบมาให้คอยติดตาม บันทึกข้อมูล
ส่ วนบุคคล รายงานข้อมูลการใช้งานของผูใ้ ช้แต่ละคนบนอินเทอร์ เน็ต
ฯลฯ
ผลกระทบจากการใช้ งานอินเทอร์ เน็ต
* ปัญหาสุ ขภาพและความสัมพันธ์ทางสังคม
* ปัญหาอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มีผใู้ ช้อินเทอร์เน็ต
เป็ นช่องทางการก่ออาชญากรรมหลายรู ปแบบ เช่น
- เจาะระบบรักษาความปลอดภัย
- ขโมยข้อมูลส่ วนบุคคล
- เผยแพร่ ภาพอนาจาร
* ปั ญหาการล่อลวงในสังคม
บัญญัติ 10 ประการในการใช้ งานคอมพิวเตอร์
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ทาร้ายผูอ้ ื่น
2. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ รบกวนผูอ้ ื่น
3. ต้องไม่เปิ ดดูไฟล์ของผูอ้ ื่นก่อนได้รับอนุญาต
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการโจรกรรมข้อมูล ข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ สร้างหลักฐานเท็จ
6. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการคัดลอกหรื อใช้โปรแกรมที่มีลิขสิ ทธิ์ โดย
ไม่ได้รับอนุญาต
7. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดย
ที่ตนเองไม่มีสิทธ์
8. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อนาเอาผลงานของผูอ้ ื่นมาเป็ นของตกเอง
9. ต้องคานึงถึงผลกระทบที่เกิดจากโปรแกรมที่พฒั นาขึ้น
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์ โดยเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยของ
สังคมนั้น
รายชื่อสมาชิก 
นางสาวผาณิต แก้วประสิ ทธิ์ เลขที่ 7
นางสาวพรพิมล อารยะธรรมโสภณ เลขที่ 10
นางสาวสรัญญา พลสั สดี เลขที่ 14
นางสาวศิริอนงค์ พลซา เลขที่ 27
นางสาววริศรา บรรเทา เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/14