พรบ.ควบคุมอาคาร

Download Report

Transcript พรบ.ควบคุมอาคาร

“เนื่ อ งด้ วยในภาวะปั จ จุ บั น การติ ด ต่ อสื่ อสารผ่ า นระบบคอมพิ ว เตอร์ หรื อ ระบบ
อิเล็กทรอนิ กส์ ไ ด้ เป็ นส่ วนสาคัญของการประกอบกิจการรวมถึงการดารงชี วิต และเริ่ มเข้ าไปมี
บทบาททวีค วามส าคัญ เพิ่ม ขึ้น ตามล าดับ ต่ อ ระบบเศรษฐกิจ และคุ ณ ภาพชี วิต ของประชาชน
ในทุกวงการ
แต่ ในขณะเดียวกันการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มีแนวโน้ ม
ขยายวงกว้ างและทวีความรุ นแรงเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งการใช้ งานคอมพิว เตอร์ โดยมิชอบ
โดยบุคคลใดๆก็ตาม ทีส่ ่ งผลเสี ยหายต่ อบุคคลอืน่
รวมไปถึงการใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในการเผยแพร่
ข้ อมูลทีเ่ ป็ นเท็จ หรือเข้ าล่ วงรู้ ข้อมูล แก้ ไข
และทาลายข้ อมูลคอมพิวเตอร์ ย่ อมก่ อให้ เกิดความเสี ยหาย
กระทบ กระเทือนต่ อเศรษฐกิจ สั งคม และความมั่นคงของรัฐ
รวมทั้งความสงบสุ ขและศีลธรรมอันดีของประชาชน”
กฎหมายเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่ าด้ วยการกระทาความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ ๒๕๕๐
มาตรา 5 , 6 , 7 , 8 กลุ่มความผิดเรื่ องของแฮกเกอร์ (Hacker)
คือ การเจาะเข้ าไปใน"ระบบ"คอมพิวเตอร์ ของบุคคลอืน่ ไม่ว่าจะเป็ นบุคคล
ธรรมดา หรื อนิติบุคคล ซึ่งระดับความร้ายแรงของโทษ ไล่ข้ ึนไปจากการใช้
mail ของคนอื่น เข้าไปในระบบ หรื อเผยแพร่ mail ของคนอืน่ การเข้าไป
ใน "ข้อมูล" คอมพิวเตอร์ ของบุคคลอื่ น จนกระทัง่ การเข้าไปโจรกรรม
ข้อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล โดยวิ ธี ก ารทางอิ เ ล็ ค ทรอนิ ก ส์ เช่ น ข้อ มู ล ส่ ว นตัว
ข้อมูลทางการค้า
กฎหมายเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่ าด้ วยการกระทาความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ ๒๕๕๐
มาตรา 9 , 10 ความผิดเรื่ องทาลายซอฟท์แวร์
คือลักษณะความผิดเช่นเดียวกับความผิดฐานทาให้เสี ยทรัพย์
มาตรา ๙ "ผู้ใดทาให้ เสี ยหาย ทาลาย แก้ไข เปลีย่ นแปลง หรือเพิม่ เติมไม่ ว่า
ทั้งหมด หรือบางส่ วน ซึ่งข้ อมูลคอมพิวเตอร์ ของผู้อนื่ โดยมิชอบ ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ"
มาตรา ๑๐ "ผู้ใดกระทาด้ วยประการใดๆ โดยมิชอบ เพือ่ ให้ การทางานของระบบ
คอมพิวเตอร์ ของผู้อนื่ ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่ สามารถทางาน
ตามปกติได้ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรื อปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรื อ
ทั้งจาทั้งปรับ"
กฎหมายเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่ าด้ วยการกระทาความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ ๒๕๕๐
มาตรา 11 เรื่ องความผิดปกปิ ด หรื อปลอมชื่อส่ ง Mail
คือ เป็ นการส่ งข้อมูล หรื อ Mail โดยปกปิ ดหรื อปลอมแปลงชื่อ รบกวน
บุคคลอื่น เช่น จดหมายลูกโซ่ ข้อมูลขยะต่างๆ
มาตรา ๑๑ "ผูใ้ ดส่ งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรื อจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
แก่บุคคลอื่น โดยปกปิ ดหรื อปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่ งข้อมูล
ดังกล่าว อันเป็ นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอืน่ โดย
ปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินไม่เกินหนึ่งแสนบาท"
กฎหมายเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่ าด้ วยการกระทาความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ ๒๕๕๐
มาตรา 13 ความผิดเรื่ องผูค้ า้ ซอฟท์แวร์ สนับสนุนการทาผิด
คือ เป็ นความผิดที่ลงโทษผูค้ า้ ซอฟท์แวร์ ที่นาไปใช้เป็ นเครื่ องมื อกระทาความผิด
มาตรา ๑๓ "ผูใ้ ดจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ชุดคาสั่งที่จดั ทาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อ
นาไปใช้เป็ นเครื่ องมือ ในการกระทาความผิดตามมาตรา ๕ - ๖ - ๗ - ๘ - ๙ - ๑๐
และ ๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่ งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรื อทั้ง
จาทั้งปรับ"
กฎหมายเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่ าด้ วยการกระทาความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ ๒๕๕๐
มาตรา 16 ความผิดเรื่ องการตัดต่อ เผยแพร่ ภาพอนาจาร
คือ เป็ นเรื่ องของการตัดต่อ หรื อตกแต่งภาพดารา ภาพบุคคลอื่นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในลักษณะอนาจาร และ
เผยแพร่ ไปยังบุคคลที่สาม คาว่าประการที่น่าจะทาให้ผอู ้ ื่นนั้น เสี ยชื่อเสี ยง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรื อได้รับ
ความเสี ยหายนั้น เพียงเห็นภาพก็น่าเชื่อแล้ว ไม่จาเป็ นต้องยืนยันด้วยหลักฐาน หรื อบุคคลโดยทัว่ ไปจะต้อง
เข้าใจในทันทีวา่ บุคคลที่สามนั้นจะต้องได้รับความเสี ยหายอย่างแน่นอน จากการเผยแพร่ ภาพนั้น
สาหรับผูท้ ี่ได้รับภาพ ไม่มีความผิด ยกเว้นจะ Forward หรื อเผยแพร่ ต่อ ความผิดตามมาตรานี้เป็ นความผิด
อันยอมความได้
มาตรา ๑๖ "ผูใ้ ดนาเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทัว่ ไป อาจเข้าถึงได้ซ่ ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฎ
เป็ นภาพของผูอ้ ื่น และภาพนั้นเป็ นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรื อดัดแปลงด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์หรื อวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผอู ้ ื่นนั้น เสี ยชื่อเสี ยง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง
หรื อได้รับความเสี ยหาย ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่ง เป็ นการนาเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุ จริ ต ผูก้ ระทาไม่มีความผิด
ปัญหาการดาเนินคดีความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ :
ทาอย่ างไรเมื่อเป็ นผู้เสี ยหาย ?
แจ้ งความ
ฟ้องคดีต่อศาล
อายุความ 3 เดือนนับแต่ รู้ ถงึ การกระทาผิดและรู้ ผู้กระทาผิด
นายจ้ าง/ผู้บังคับบัญชาจะเปิ ดดู e-mail ของเราได้ หรือเปล่ า?
e-mail account ของหน่ วยงาน
นายจ้ างจะเปิ ดดู เช็คดูได้ เพราะเขาถือว่า e-mail account ที่เขาให้กบั
พนักงานนั้นก็เพื่อประโยชน์ในการปฏิบตั ิงาน การที่นายจ้างไปเปิ ดดู
ไม่ใช่การละเมิดสิ ทธิ ความเป็ นส่ วนตัว รวมไปถึงการตรวจดูแฟ้ มข้อมูล
ในฮาร์ดดิสก์คอมพิวเตอร์ของบริ ษทั นายจ้างสามารถจะเปิ ดดูได้
แต่ ถ้าเป็ น e-mail account อืน่
นายจ้างจะเปิ ดดูไม่ได้ ลูกจ้างสามารถฟ้ องร้องได้
ส่ ง e-mail ไปใส่ ความคนอืน่ กฎหมายเอาผิดได้ ไหม ?
ตามกฎหมายการหมิ่นประมาทคือการใส่ ความผู้อนื่ ต่ อบุคคลที่สาม ในลักษณะที่จะทาให้ เขาเสี ยชื่อเสี ยง ถูกดูหมิ่นหรือ
ถูกเกลียดชัง
โทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรื อปรับไม่เกิน 20,000 บาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ
แต่ถา้ เป็ นการหมิ่นประมาทโดยการโฆษณาตามสื่ อต่าง ๆ ไม่วา่ ทางใด
โทษหนักขึ้นคือจาคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 2 แสนบาท
ข้อความอะไรจะเป็ นหมิ่นประมาทหรื อดูหมิ่น ??
หลักก็คอื ถ้ าไม่ ใช่ การยืนยันข้ อเท็จจริงก็ไม่ ใช้ หมิ่นประมาท เช่น ถ้าบอกว่า “ครู ชาติหมา” “ตารวจหมา” “ไอ้หน้าผีเปรต”
อย่างนี้ไม่ใช่หมิ่นประมาท แต่อาจผิดฐานดูหมิ่นได้ หากเป็ นการพูดต่อหน้าหรื อใช้การโฆษณา
“การใส่ ความ” คือ การเอาจดหมายที่มีขอ้ ความหมิ่นประมาทผูอ้ ื่นให้บุคคลที่ 3 อ่านก็มีความผิดฐาน
ซึ่ งก็อาจตีความไปได้ว่า การที่ส่ง e-mail ที่มีขอ้ มูลหมิ่นประมาทผูอ้ ื่นไปถึงบุคคลที่ 3 ก็เป็ นการใส่ ความเหมือนกัน
ปัญหาคือ ถ้าเป็ นส่ง e-mail ไปให้คนหลาย ๆ คน จะมีความผิดฐานหมิ่นประมาทธรรมดา (ซึ่ ง มีโทษน้อยกว่า) หรื อ
ความผิดฐานหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา ครับ เพราะอินเทอร์เน็ตก็เป็ นสื่ ออื่น ๆ เช่นกัน
หมิ่นประมาททางอินเทอร์ เน็ตกับความรับผิดทางแพ่ง
หมิ่นประมาททางแพ่ง
หมายถึง การกล่าวหรื อไขข่าวแพร่ หลายซึ่ งข้อความอันฝ่ าฝื นความจริ ง
(คือข้ อความเท็จจริงเท่ านั้นถึงจะผิด ถ้ าจริงก็ไม่ ผดิ )
ต่างกับทางอาญาที่หลักคือ จริงหรือไม่ จริงก็ผดิ
(หากว่าควรจะรู ้ได้กต็ อ้ งรับผิดในความเสี ยหายที่เกิดขึ้นครับ)
คดีหมิ่นประมาท
ส่ วนใหญ่จะฟ้ องร้องเป็ นคดีแพ่งกันแล้วก็เรี ยกค่าเสี ยหาย
แสดงความคิดเห็นทางเว็บไซต์ จะมีความผิดอาญา
ฐานหมิน่ ประมาทหรือเปล่ า ?
เหตุยกเว้ นความผิดความหมิ่นประมาทตามกฎหมายไทย
ซึ่งมีเหตุหนึ่งทีก่ ฎหมายบัญญัติว่าถ้ าเป็ นการแสดงความคิดเห็นหรือ
ข้ อความเพือ่ ติชมด้ วยความเป็ นธรรมตามวิสัยของประชาชนย่ อมกระทา
ก็คือ การติชมตามความรู ้สึกของคนทัว่ ๆ ไปโดยสุ จริ ตไม่มีความผิด
กฎหมายที่เกีย่ วข้ องกับการโฆษณา
ป้ ายบนอาคาร
ป้ ายบนดิน
พรบ.ควบคุมอาคาร
ข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร
ข้อยกเว้นบัญญัติกรุ งเทพมหานคร
- ป้ ายหรื อสิ่ งก่อสร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายที่อาคารต้องไม่บงั ช่องระบายอากาศ
หน้าต่าง ประตู หรื อทางหนีไฟ
- ป้ ายหรื อสิ่ งก่อสร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายบนหลังคาหรื อดาดฟ้ าของอาคารต้องไม่ล้ า
ออกนอกแนวผนังรอบนอกของอาคาร และส่ วนบนสุ ดของป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับ
ติดหรื อตั้งป้ ายต้องสู งไม่เกิน 6 เมตรจากส่ วนสู งสุ ดของหลังคาหรื อดาดฟ้ าของอาคารที่
ติดตั้งป้ ายนั้น
- สิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายให้ทาด้วยวัสดุทนไฟทั้งหมด
- ป้ ายหรื อสิ่ งก่อสร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายที่อาคารต้องไม่บงั ช่องระบาย
อากาศหน้าต่าง ประตู หรื อทางหนีไฟ
- ป้ ายที่ยนื่ จากผนังอาคารให้ยนื่ ได้ไม่เกินแนวกันสาด และให้สูงได้ไม่เกิน 60 เซนติมเตร
หรื อมีพ้นื ที่ป้ายไม่เกิน 2 ตารางเมตร
- ป้ ายที่ติดตั้งเหนือกันสาดหรื อไม่ได้ยนื่ จากผนังอาคาร ให้ติดตั้งได้โดยมีความสู งของป้ าย
ไม่เกิน 60 เซนติเมตรวัดจากขอบบนของปลายกันสาดนั้นหรื อมีพ้นื ที่ป้ายไม่เกิน
2 ตารางเมตร
-ป้ ายที่ติดตั้งใต้กนั สาดให้ติดตั้งแนบผนังอาคาร และต้องสู งจากพื้นทางเท่านั้น
ไม่นอ้ ยกว่า 2.50 เมตร
- ป้ ายโฆษณาสาหรับโรงมหรสพให้ติดตั้งขนานกับผนังอาคารโรงมหรสพ แต่จะยืน่ ห่าง
จากผนังได้ไม่เกิน 50 เซนติเมตร หรื อหากติดตั้งป้ ายบนกันสาดจะต้องไม่ยนื่ ล้ าแนว
ปลายกันสาดนั้นและความสู งของป้ ายทั้งสองกรณี ตอ้ งไม่เกินความสู งของอาคาร
- สิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายให้ทาด้วยวัสดุทนไฟทั้งหมด
- ป้ ายที่ติดตั้งอยูบ่ นที่ดินโดยตรง ต้องมีความสู งไม่เกินระยะที่วดั จากจุดที่ติดตั้งป้ ายไป
จนถึงกึ่งกลางถนนสาธารณะ และสู งไม่เกิน 30 เมตร มีความยาวไม่เกิน 32 เมตร
และต้องห่างจากที่ดินต่างเจ้าของไม่นอ้ ยกว่า 4 เมตร เฉพาะในพื้นที่กรุ งเทพมหานคร
พรบ.ควบคุมอาคาร
ป้ายหรือสิ่ งทีก่ ่อสร้ างขึน้ สาหรับติดหรือตั้งป้ าย ที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้
ถือว่า เป็ น อาคารตามกฎหมายควบคุมอาคาร
(1) ที่ติดหรื อตั้งป้ ายไว้เหนือที่สาธารณะและมีขนาดเกินหนึ่งตารางเมตร
หรื อ น้ าหนักรวมทั้งโครงสร้างเกินสิ บกิโลกรัม หรื อ
(2) ที่ติดหรื อตั้งห่างจากที่สาธารณะ ซึ่งเมื่อวัดในทางราบแล้วมีระยะห่าง
จากที่สาธารณะน้อยกว่าความสูงของป้ ายนั้นเมื่อวัดจากพื้นดิน และต้อง
มีขนาดพื้นที่ หรื อ น้ าหนัก 4 ลักษณะ คือ
(2.1) ขนาดความกว้างของป้ ายเกิน 50 เซนติเมตร หรื อ
(2.2) ยาวเกินหนึ่งเมตร หรื อ
(2.3) เนื้อที่ของป้ ายเกิน 5,000 ตารางเซนติเมตร หรื อ
(2.4) มีน้ าหนักของป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดตั้งป้ ายอย่างใดอย่าง
หนึ่งหรื อทั้งสองอย่างรวมกันเกินสิ บกิโลกรัม ( ทีม่ า : พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 )
พรบ.ควบคุมอาคาร
กรณี ที่ป้ายที่มีลกั ษณะดังกล่าวเป็ นอาคาร การก่อสร้างป้ ายโฆษณา จึงต้องขออนุญาต กับ
พนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนดาเนินการก่อสร้าง ทั้งนี้ในการก่อสร้างป้ ายหรื อสิ่ งที่ก่อสร้างเพื่อติด
หรื อตั้งป้ าย ต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
(1) ป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายบนหลังคาหรื อดาดฟ้ าของอาคารต้องไม่ล้ าออกนอกแนว
ผนังรอบนอกของอาคาร และส่ วนบนสุ ดของป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งต้องสู งไม่เกิน
6 เมตร จากส่ วนสูงสุ ดของอาคารหรื อดาดฟ้ าของอาคารที่ติดตั้งป้ ายนั้น
(2) ป้ ายที่ติดตั้งอยูบ่ นพื้นดินโดยตรง ต้องมีความสูงไม่เกินระยะที่วดั จากจุดที่ติดตั้งป้ ายไปจนถึงกึ่งกลาง
ถนนสาธารณะที่อยูใ่ กล้ป้ายนั้นมากที่สุด และมีความยาวของป้ ายไม่เกิน 32 เมตร
(3) ป้ ายหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับติดหรื อตั้งป้ ายที่อาคารให้ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของอาคารและต้องไม่บงั ช่อง
ระบายอากาศ หน้าต่าง ประตู หรื อทางหนีไฟ
(4) ป้ ายที่ติดผนังอาคารที่อยูร่ ิ มทางสาธารณะ ให้ยนื่ ได้โดยไม่ตอ้ งล้ าที่สาธารณะส่ วนต่าสุ ดของป้ ายต้อง
ไม่นอ้ ยกว่า 3.25 เมตร จากระดับทางเท้าและสูงไม่เกินความสูงของอาคาร
(5) ป้ ายที่ติดตั้งอยูบ่ นที่ดินโดยตรง ต้องมีความสู งไม่เกินระยะที่วดั จากจุดที่ติดตั้งป้ ายไปจนถึงกึ่งกลางถนน
สาธารณะ และสูงไม่เกิน 30 เมตร มีความยาวไม่เกิน 32 เมตรและต้องห่างจากที่ดินต่างเจ้าของไม่นอ้ ย
กว่า 4 เมตร
( ที่มา : (1) - (2) กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543 ) ,
(3) – (5) ข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร เรื่ องควบคุมอาคาร พ.ศ.2544 )
ข้ อบัญญัตกิ รุ งเทพมหานคร
ข้ อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร เรื่ อง กาหนดบริ เวณห้ ามก่ อสร้ าง
ดัดแปลงอาคารประเภทป้ายหรื อสิ่ งที่สร้ างสาหรั บติด หรื อตั้ง
ป้าย ในพืน้ ทีบ่ างส่ วนในท้ องทีก่ รุงเทพมหานคร พ.ศ.2549
(1) ภายในระยะ 50 เมตร จากแนวเขตทางพิเศษ เขตทางรถไฟ
เขตแม่ นา้ เจ้ าพระยา และเขตทางถนนสายหลักทีก่ าหนด
(2) ภายในระยะ 200 เมตร จากศูนย์ กลางอนุสาวรีย์
ประชาธิปไตย อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ และอนุสาวรีย์
พิทกั ษ์ รัฐธรรมนูญ
ข้ อยกเว้ นข้ อบัญญัตกิ รุ งเทพมหานคร
ข้ อ (4) ภายใน 5 บริ เวณดังกล่ าว ห้ ามบุคคลใดก่ อสร้ างอาคาร
ประเภทป้ายหรื อสิ่ งที่สร้ างขึ้นสาหรั บติดหรื อตั้ งป้ายทุกชนิด
เว้ นแต่ ป้าย ดังต่ อไปนี้
(1) ป้ ายชื่ อถนน ตรอก ซอย ป้ ายของทางราชการที่ ใ ช้ เพื่ อ
ประโยชน์ สาธารณะ ป้ายตามกฎหมายว่ าด้ วยการเลือกตั้ง
(2) ป้ ายเครื่ องหมายหรื อสั ญลั ก ษณ์ ของสถานประกอบการ
( logo ) และป้ายบอกชื่อสถานที่ เช่ น ป้ายชื่ออาคาร ป้ายชื่ อ
สถานประกอบการ ป้ายชื่อหมู่บ้าน โดยมีพนื้ ทีร่ วมกัน ไม่ เกิน
5 ตารางเมตร มีความสู งไม่ เกิน12 เมตร แต่ มิใช่ ป้ายหรือสิ่ งที่
สร้ างขึน้ สาหรับติดหรือตั้งป้ ายบนหลังคาหรือดาดฟ้าของอาคาร
ความหมายของภาษีป้ายประเภทที่ 1
ป้ ายที่มีอกั ษรไทยล้วน โดยไม่มีภาพหรื อสัญลักษณ์
หรื อภาษาต่างประเทศ
ยกเว้น ตัวเลขอารบิคเป็ นตัวเลขที่ไม่เข้าข่าย
ต่างประเทศ เช่น เบอร์โทรศัพท์ เป็ นต้น
อัตรา 3 บาท ต่ อห้ าร้ อยตางรางเซนติเมตร
หรือ 60 บาท ต่ อตารางเมตร
ความหมายของภาษีป้ายประเภทที่ 2
ป้ ายที่มีอักษรไทยปนกับต่ างประเทศหรื อ
ปนกับภาพและหรือเครื่องหมายอืน่
อัตรา 20 บาท ต่ อห้ าร้ อยตางรางเซนติเมตร
หรือ 400 บาท ต่ อตารางเมตร
ความหมายของภาษีป้ายประเภทที่ 3
ป้ ายที่ ไ ม่ มี อั ก ษรไทย ไม่ ว่ า จะมี ภ าพหรื อ
เครื่ องหมายใดๆ
หรื อไม่ หรื อป้ ายที่มี
อักษรไทยบางส่ วนหรื อทั้งหมดอยู่ใต้ หรื อ
ต่ากว่ าอักษรต่ างประเทศ
อัตรา 40 บาท ต่ อห้ าร้ อยตางรางเซนติเมตร
หรือ 800 บาท ต่ อตารางเมตร