การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development) ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องกับการพัฒนาระบบ  ผูท้ ี่มีส่วนอย่างมากในการพัฒนาระบบ (System Development  นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)  นักโปรแกรม (Programmer) และ  ผูใ้ ช้ระบบ (User)

Download Report

Transcript การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development) ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องกับการพัฒนาระบบ  ผูท้ ี่มีส่วนอย่างมากในการพัฒนาระบบ (System Development  นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)  นักโปรแกรม (Programmer) และ  ผูใ้ ช้ระบบ (User)

การพัฒนาระบบสารสนเทศ
(Information System Development)
ผู้ทเี่ กีย่ วข้ องกับการพัฒนาระบบ
 ผูท้ ี่มีส่วนอย่างมากในการพัฒนาระบบ
(System Development
 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
 นักโปรแกรม (Programmer) และ
 ผูใ้ ช้ระบบ (User)
นักวิเคราะห์ ระบบ
 ผูท้ ี่เป็ นตัวกลางในการติดต่อระหว่างระบบสารสนเทศกับผูท้ ี่
เกี่ยวข้อง ได้แก่ เจ้าของระบบ ผูใ้ ช้ระบบ และผูส้ ร้างระบบ เพื่อ
พัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร
หน้ าทีข่ องนักวิเคราะห์ ระบบ
1. การวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis)
 ศึกษา วิเคราะห์ และแยกแยะถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบ
 เสนอแนวทางแก้ไขตามความต้องการของผูใ้ ช้งานและความ
เหมาะสมต่อสถานะทางการเงินขององค์กร
 อาจเสนอระบบใหม่ หรื อ แก้ไข ปรับปรุ งระบบเก่าให้ทางานได้ดี
ขึ้น
2. การออกแบบระบบ (System Design)
 การออกแบบและกาหนดคุณสมบัติทางเทคนิค
 นาระบบคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาที่ได้วิเคราะห์
มาแล้ว
หน้ าที่นักวิเคราะห์ ระบบสมัยใหม่
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
รวบรวมข้อมูล
จัดทาเอกสาร http://omi.net23.net/Data%20dictionary.pdf
ทาพจนานุกรมข้อมูล
สร้างแบบจาลอง
ทดสอบโปรแกรม
ติดตั้งและทาการปรับเปลี่ยนระบบ
จัดทาคู่มือ
จัดทาแบบสอบถาม
หน้ าที่นักวิเคราะห์ ระบบสมัยใหม่ (ต่ อ)
9. บารุ งรักษาและประเมินผลการทางานของระบบ
10. เป็ นผูใ้ ห้คาปรึ กษา
11. เป็ นผูป้ ระสานงาน
12. เป็ นผูแ้ ก้ไขปัญหา
13. เป็ นตัวแทนการเปลี่ยนแปลง
14. เป็ นผูเ้ ตรี ยมข้อมูลให้แก่องค์กร
คุณสมบัตขิ องนักวิเคราะห์ ระบบสมัยใหม่
1. มีความรู้และความชานาญหลากหลายในศาสตร์คอมพิวเตอร์ เช่น
2.
3.
4.
5.
6.
7.
เทคโนโลยีสารสนเทศโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมภาษา และ
ฮาร์ดแวร์ เป็ นต้น
มีความรู ้ในเรื่ องทฤษฎีของระบบ
เข้าใจระบบธุรกิจ ระบบการเงิน และการตลาด
เข้าใจความต้องการของผูใ้ ช้เป็ นอย่างดี
เป็ นนักสารวจที่ช่างสังเกต และสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ดี
มีจริ ยธรรม และมีจรรยาบรรณต่อองค์กรที่พฒั นาระบบให้
สามารถทางานเป็ นทีมได้เป็ นอย่างดี
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
มีความเป็ นผูน้ า
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
สามารถเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ ๆ ได้ดว้ ยตนเอง
มีความสามารถสูงในการนาเสนอข้อมูล
มีความสามารถในการติดต่อสื่ อสารเป็ นภาษาอังกฤษได้อย่างดี
สามารถทางานในสภาวะกดดันได้
เป็ นนักจิตวิทยา
มีทกั ษะในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
วัฏจักรของการพัฒนาระบบ
 แบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็ นระยะ (Phase)
1.
2.
3.
4.
ระยะการวางแผน (Planning Phase)
ระยะการวิเคราะห์ (Analysis Phase)
ระยะการออกแบบ (Design Phase)
ระยะการสร้างและพัฒนา (Implementation Phase)
รูปแบบขั้นนา้ ตก (Waterfall Model
การกาหนดปัญหา
(Problem Definition)
การศึกษาความเป็ นไปได้
(Feasibility Study)
การวิเคราะห์
(Analysis)
การออกแบบ (Design)
การสร้ างระบบ
(System Construction
การบารุ งรักษา
Maintenance)
วัฏจักรของการพัฒนาระบบ
1. การกาหนดปัญหา (Problem Definition)
2. การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
 ความเป็ นไปได้ทางเทคนิค (Technical Feasibility)
 ความเป็ นไปได้ทางด้านการปฏิบตั ิ (Operational
Feasibility)
 ความเป็ นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility)
3. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
4. การออกแบบระบบ (System Design)
 การออกแบบกว้าง ๆ (Broad Design)
 การออกแบบรายละเอียด (Detailed Design)
5. การสร้างระบบ (System Construction)
 การพัฒนาระบบ (System Development)
 การติดตั้งระบบ (System Implementation)
6. การบารุ งรักษา (Maintenance)
 การประเมินผลการทางานของระบบ (System Evaluation)
 การบารุ งรักษาระบบ (System Maintenance)