การจัดการศึกษาของสาธารณรัฐประชาชนจีน การศึกษาจีนยึดหลักการ “การศึกษาต้ องพัฒนาสู่ ความทันสมัย เปิ ดสู่ โลกและอนาคต” (教育要面向现代 化、面向世界、面向未来) ตามคากล่าวของนายเติง้ เสี่ ยวผิง อดีตประธานาธิบดีของจีน ที่กล่าวไว้ เมื่อปี ค.ศ.

Download Report

Transcript การจัดการศึกษาของสาธารณรัฐประชาชนจีน การศึกษาจีนยึดหลักการ “การศึกษาต้ องพัฒนาสู่ ความทันสมัย เปิ ดสู่ โลกและอนาคต” (教育要面向现代 化、面向世界、面向未来) ตามคากล่าวของนายเติง้ เสี่ ยวผิง อดีตประธานาธิบดีของจีน ที่กล่าวไว้ เมื่อปี ค.ศ.

การจัดการศึกษาของสาธารณรัฐประชาชนจีน
การศึกษาจีนยึดหลักการ
“การศึกษาต้ องพัฒนาสู่ ความทันสมัย เปิ ดสู่
โลกและอนาคต” (教育要面向现代
化、面向世界、面向未来)
ตามคากล่าวของนายเติง้ เสี่ ยวผิง
อดีตประธานาธิบดีของจีน
ที่กล่าวไว้ เมื่อปี ค.ศ. 1983
ระบบการศึกษาของจีน
(CHINA'S EDUCATIONAL SYSTEM)
จีนมีระบบการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ สถาบันการศึ กษามี
ระดับอนุ บาล ประถมศึ กษา มัธยมศึ กษา มหาวิทยาลัยและ
บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย กฎหมายการศึ ก ษาแห่ งสาธารณรั ฐ
ประชาชนจี น ก าหนดว่า รั ฐ บาลรั บ ผิด ชอบการศึ ก ษาภาค
บังคับ 9 ปี นัน่ คือ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา
ตอนต้ น โดยรั ฐ บาลกลางและรั ฐ บาลท้ อ งถิ่ น จั ด สรร
งบประมาณเพื่อสนับสนุ นการศึกษาให้สามารถพัฒนาขึ้นไป
ในทุกระดับทุกประเภท
ระบบการศึกษาของจีน
(CHINA'S EDUCATIONAL SYSTEM)
รั ฐ บาลจี น ได้ก าหนดนโยบาย "การพัฒ นาประเทศด้ว ย
วิทยาศาสตร์ และการศึกษา" มุ่งปฏิ รูประบบการศึกษาในแนว
ลึ ก โดยการจั ด การศึ ก ษาแบบให้ เ ปล่ า 9 ปี สนั บ สนุ น ให้
หน่ วยงานของรัฐในทุกระดับ เพิ่มการลงทุนทางด้านการศึกษา
และส่ ง เสริ มให้ ป ระชาชนทุ ก สาขาอาชี พ มี ส่ ว นร่ ว มในการ
บริ หารจัดการการศึกษาในทุกช่องทางและทุกวิถีทาง การศึกษา
ของจีนยึดมัน่ ในหลักการ " การพัฒนาสู่ ความทันสมัยเปิ ดสู่ โลก
และอนาคต" และยังใช้หลักการดังกล่าวนาไปสู่ การปฏิรูป และ
การสร้างการศึกษาให้กา้ วหน้าต่อไป
ระบบการศึกษาของจีน
(CHINA'S EDUCATIONAL SYSTEM)
ผูด้ ูแลการศึกษาของจีน
  กระทรวงศึกษาธิ การ ( Ministry of Education MOE ) กากับดูแล
  คณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ ( State
Education Commission - SEC ) เป็ นผูว้ างแผนการศึกษาตาม
นโยบายรัฐ และควบคุมคุณภาพการศึกษา
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของจีน
1. ระดับอนุบาล (Pre-School Education) เป็ นการศึกษา
สาหรับเด็กที่มีอายุระหว่าง 3-5 ปี มีระยะเวลาศึกษาประมาณ
3 ปี
2. ระดับประถมศึกษา (Primary Education) เป็ น
การศึกษาสาหรับนักเรี ยนที่ มีอายุระหว่าง 6-11 ปี มีระยะเวลา
ศึกษา 6 ปี โรงเรี ยนที่เปิ ดสอนในระดับนี้ ส่วนใหญ่ เป็ นของ
รัฐบาลท้องถิ่นระดับต่าง ๆ (Local Educational Authorities)
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของจีน
3. ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) เป็ นการศึกษา
ของเด็กที่ มีอายุระหว่าง 11-17 ปี ใช้เวลาศึกษาในระดับ 6 ปี
การศึกษาระดับมัธยมแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
3.1 มัธยมศึกษาทัว่ ไป (General Middle School) แบ่ง
ออกเป็ น 2 ตอน ๆ ละ 3 ปี ดังนี้
- มัธยมศึกษาตอนต้น (Junior Middle School)
- มัธยมศึกษาตอนปลาย (Senior Middle School)
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของจีน
3.2 มัธ ยมอาชี ว ศึ ก ษา (Vocational
School
3.3 มัธยมวิชาชี พพิเศษ (Secondary
Professional
Education)
Education)
โรงเรี ยนที่ เปิ ดสอนในระดับมัธยมศึ กษา ส่ วนใหญ่จะเป็ น
ของรัฐบาลท้องถิ่น โดยนักเรี ยนที่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ส่ วน
ใหญ่จะสมัครเข้าศึ กษาต่อไปชั้นมัธยมศึ กษาตอนปลาย ส่ วนที่
เหลื อ จะเข้า ศึ ก ษาในโรงเรี ย นมัธ ยมอาชี ว ศึ ก ษา และโรงเรี ย น
มัธยมวิชาชีพตามลาดับ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
การศึกษาระดับประถมศึกษา (6 ปี ) ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้นและมัธยมตอนปลาย (6 ปี )
รั ฐบาลจี นให้ความสาคัญกับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็ น
อย่างมาก หลังการประกาศใช้กฎหมายการศึกษาประเทศจีน
ในปี ค.ศ. 1986 เป็ นต้นมา พื้นที่ส่วนใหญ่ในประเทศจี นมี
โรงเรี ย นประถมอยู่ท วั่ ไป และในเมื องใหญ่ ห รื อ เมื อ งที่ มี
เศรษฐกิจค่อนข้างเจริ ญ จะมีโรงเรี ยนในระดับมัธยม
การศึกษาระดับประถมศึกษา
เริ่ มเมื่ออายุ 6 ปี เด็กที่เข้าเรี ยนตามเกณฑ์อายุ ไม่ตอ้ งจ่าย
ค่าเล่าเรี ยน เพียงแต่ จ่ายค่าหนังสื อบางส่ วน และค่าใช้จ่าย
อื่ น ๆ รวมแล้ว ไม่ กี่ ร้ อ ยหยวน เป็ นการศึ ก ษาภาคบัง คับ
โรงเรี ยนประถมจะเป็ นโรงเรี ยนของรัฐ โดยจัดให้นักเรี ยน
เข้าเรี ยนในโรงเรี ยนใกล้บา้ น รัฐบาลจีนพัฒนาให้ประชาชน
ทัว่ ประเทศได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน และ
สร้างศูนย์กลางการศึกษาในพื้นที่เขตชนบท
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
มีระยะเวลา 3 ปี
วิชาที่ เรี ยน ได้แก่ ภาษาจี น คณิ ตศาสตร์ ภาษาต่ างประเทศ
ฟิ สิ กส์ เคมี จริ ยธรรม สารสนเทศ และอื่นๆ
โรงเรี ยนมัธยมต้นในจีนส่ วนใหญ่จดั ตั้งโดยรัฐบาล หลังจาก
จบการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้วต้องสอบเข้าเพื่อศึกษาต่อใน
ระดับมัธยมต้น โดยโรงเรี ยนที่จะศึกษาต่อจะกาหนดจากที่อยูแ่ ละ
ความต้องการโดยส่ วนตัวของนักเรี ยนเอง ขณะเดี ยวกัน ในพื้นที่
ชนบทก็จะมีศูนย์กลางการศึกษาให้เด็กได้เข้าเรี ยน
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
แบ่ งออกเป็ นมัธยมปลายทัว่ ไป มัธยมปลายด้านวิชาชี พ
และอาชี วศึกษา ใช้เวลา 3 ปี เป็ นระดับการศึ กษาที่ ไม่บงั คับ
ดังนั้นนักเรี ยนจะต้องรับผิดชอบ ค่าเล่าเรี ยนเองประมาณปี ละ
ไม่กี่พนั หยวน
วิชาที่เรี ยนได้แก่ ภาษาจีน คณิ ตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ
ฟิ สิ กส์ เคมี ชีววิทยา สารสนเทศและอื่นๆ
โรงเรี ยนส่ วนใหญ่เป็ นของรั ฐ การเข้าเรี ยนต้องสอบเข้า
โดยดูจากระดับคะแนนที่ สอบได้ ซึ่ งข้อสอบที่ ใช้จั ดทาโดย
ส่ วนการศึกษาภูมิภาค
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของจีน
4.
ระดับอุ ดมศึ กษา (Higher
Education)
สถาบันการศึกษาที่สอนระดับอุดมศึ กษาประกอบด้ วย
มหาวิทยาลัย (Universities) สถาบัน (Institutes) และ
วิทยาลัย (Short-Cycle universities) การศึ กษา
ระดับอุดมศึกษาของจีนมีคุณภาพดีท้ งั การเรี ยนการสอน
และการวิจยั ผลสาเร็ จในการวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาระดับสู งของจีนมีประวัติศาสตร์ ยาวนาน
กว่าร้อยปี ปั จจุบนั มหาวิทยาลัยในจีนมีจานวนประมาณ
3,000 แห่ ง โดย 2 ใน 3 เป็ นมหาวิทยาลัยของรัฐ และ 1
ใน 3 เป็ นมหาวิทยาลัยเอกชน
การเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยของจีนจาเป็ นต้อ งผ่าน
การสอบเข้าศึกษา โดยดูจากระดับคะแนนในการสอบ
ข้อสอบที่ใช้กาหนดโดยส่ วนการศึกษาภูมิภาค และส่ วน
การศึกษาภูมิภาคจะเป็ นผูก้ าหนดเกณฑ์คะแนนด้วย
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ สู ง ข อ ง จี น ไ ด้ แ ก่
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ถ า บั น แ ล ะ ส ถ า บั น เ ฉ พ า ะ ท า ง
มหาวิทยาลัยของจี นแบ่งเป็ นมหาวิทยาลัยระดับมณฑล
ระดับเขตปกครองตนเอง และระดับมหานครในสังกัด
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร สถาบัน การศึ ก ษาระดับ สู ง ของ
ท้องถิ่ นและมหาวิทยาลัยเอกชน มหาวิทยาลัยจี นและ
ส ถ า บั น ที่ ตั้ ง เ ป็ น ขึ้ น เ ป็ น เ อ ก เ ท ศ จั ด ว่ า เ ป็ น
สถาบันการศึกษาระดับสูง
ปริญญาบัตรของจีน
ระดับปริ ญญาบัณฑิต (ปริ ญญาตรี ) (4 – 5 ปี ) ผูท้ ี่สามารถจบ
การศึ ก ษาตามหลัก สู ต รที่ ก าหนดไว้แ ละสารนิ พ นธ์ ที่ เ ขี ย นนั้น ผ่า น
เกณฑ์ ถือว่าได้ปริ ญญาบัตรระดับปริ ญญาบัณฑิต
ระดับมหาบัณฑิต (2 – 3 ปี ) ผูท้ ี่สามารถจบการศึกษาตาม
หลักสู ตรที่กาหนดไว้ สอบผ่านวิทยานิ พนธ์ และมีคะแนนในระดับที่
สอบผ่าน ถือว่าได้ปริ ญญาบัตรระดับมหาบัณฑิต
ระดับดุษฎีบณ
ั ฑิต (3 – 4 ปี ) ผูท้ ี่สามารถจบการศึกษาตาม
หลักสู ตรที่กาหนดไว้ สอบผ่านวิทยานิ พนธ์ และมีคะแนนในระดับที่
สอบผ่าน ถือว่าได้ปริ ญญาบัตรระดับดุษฎีบณ
ั ฑิต
การศึกษาระดับต่ าง ๆ ของจีน
5. การศึกษาผู้ใหญ่
การศึกษาประเภทต่างๆ ที่จดั ขึ้นสาหรับผูใ้ หญ่ และผูไ้ ม่รู้
หนัง สื อ หรื อ การศึ ก ษาอื่ น ที่ มี รู ป แบบใกล้เ คี ย งกัน ปี ค.ศ.
1999 มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาสาหรับการศึกษาผู้ใหญ่
จานวน 871 แห่ง และยังมีอีก 800 กว่าแห่ งที่เปิ ดการศึกษาทาง
ไปรษณี ย ์ และการศึกษาภาคค่า เป้ าหมายหลักของการศึ กษา
ผูใ้ หญ่ส่วนใหญ่คือประชาชนในภาคเกษตรกรรม
โครงสร้ างระบบการศึกษาจีน
ระบบการศึกษาของจี นวางแผนโดยรั ฐบาลกลาง โดยมี
กระทรวงศึกษาการควบคุมดูแลระบบการศึกษา กาหนดทิศทาง
ออกกฎหมาย รั บ ผิ ด ชอบโดยตรงในเรื่ อ งของการบัญ ญัติ
กฎหมาย กาหนดนโยบาย และแผนงานด้านการศึกษา ดูแลและ
วางแผนการพัฒนาระบบการศึกษาจีน ปรับเปลี่ยนนโยบายของ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาให้เป็ นแนวทางเดียวกันทั้ง
ประเทศเพื่ อ ให้ ก ารพัฒ นาระบบศึ ก ษาเดิ น หน้า ไปอย่า งไม่
สะดุด
โครงสร้ างระบบการศึกษาจีน
ระดับนโยบายของรั ฐทางการศึ กษา การศึ กษาไทยมี
หลายมาตรฐาน แต่จีนใช้มาตรฐานเดียว “คาว่าเรี ยนฟรี 9 ปี
ของจีน คือฟรี จริ ง ๆ” อุปกรณ์การเรี ยนก็ไม่ต่างกัน แม้จะ
อยู่ใ นพื้ น ที่ ห่ า งไกลแค่ ไ หน เพราะจี น ถื อ ว่า นัก ศึ ก ษาคื อ
พลเมื อ งของรั ฐ “ปั ญหาต าราปลอม อุ ป กรณ์ ไ ม่ ไ ด้
มาตรฐาน ไม่ค่อยมีปรากฏในสถานศึกษาของรัฐในจีน” ที่
สาคัญ “เงินเดือนของครู จะสูง” ถ้าเทียบกับครู ไทย
โครงสร้ างระบบการศึกษาจีน
ในส่ ว นของค่ า เล่ า เรี ย น รั ฐ บาลจะเป็ นผูอ้ อกค่ า เล่ า
เรี ยนในระดับ การศึ ก ษาภาคบัง คับ 9 ปี ได้แ ก่ ระดับ
ประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี
นอกจากความช่ วยเหลือดังกล่าวข้างต้นแล้ว รัฐบาล
จี น ยัง ริ เริ่ มโครงการให้ นั ก เรี ยนท างานหารายได้ ใ น
โรงเรี ยน เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของนักเรี ยนลง
จุดเด่ นการศึกษาประเทศจีน
ประเทศจีนสามารถจัดการศึกษาได้ทวั่ ถึง ครอบคลุม เป็ น
ผูน้ าทางด้านจัดการศึกษา โดยให้แต่ละมณฑลเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
โดยมีเมือง จังหวัด รับผิดชอบลดหลัน่ กันไป
โดยรั ฐบาลกลางเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการจัดการศึ กษา
ภาคบังคับทุกคน ตามทะเบียนบ้านเป็ นหลัก ผูเ้ รี ยนมี ทะเบียน
บ้านอยูเ่ ขตบริ การหรื อบริ เวณพื้นที่ใดต้องเข้าเรี ยนในโรงเรี ยน
นั้ นเป็ นหลัก ถ้า ไม่ ต้อ งการเรี ยนในโรงเรี ยนนั้ นจะออก
ค่าใช้จ่ายเอง
จุดเด่ นการศึกษาประเทศจีน
ส าหรั บ ชั้น เรี ย นที่ ไ ม่ ใ ช่ ก ารศึ ก ษาภาคบัง คับ (ม.ปลาย)
จะต้องมีการแข่งขันกันเข้าเรี ยนในโรงเรี ยนที่ดีมีคุณภาพ โดยใช้
วิธีการสอบเป็ นหลัก ไม่ใช้วธิ ีอื่น(จับฉลาก)
จีนได้วางยุทธศาสตร์ “การฟื้ นฟูประเทศด้วยวิทยาการและ
การศึ ก ษา”
โดยก าหนดให้ก ารพัฒ นาด้า นการศึ ก ษาเป็ น
ยุทธศาสตร์ อนั ดับต้นเพื่อการขับเคลื่อนระบบสังคมนิ ยมยุคใหม่
การผลักดันการปฏิรูปและพัฒนาทางการศึกษาได้ดาเนินไปอย่าง
ต่อเนื่ องบนหลักการที่ว่า “การศึกษาควรมุ่งสู่ ความทันสมัย ก้าว
ทันความเป็ นไปในโลกและอนาคต”
จุดเด่ นการศึกษาประเทศจีน
จี นดาเนิ น นโยบายที่ ก าหนดว่า “การศึ กษาต้องสามารถ
รองรั บ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ นระบบสั ง คมนิ ย มยุ ค ใหม่ โ ดย
ผสมผสานกั บ แรงงานที่ มี ผ ลิ ต ภาพสู ง ทั้ งนี้ เพื่ อ สานต่ อ
เจตนารมณ์ ของผูก้ ่ อตั้งและสื บทอดแนวทางการพัฒนาตาม
อุ ด มการณ์ สั ง คมนิ ย ม ทั้ง ด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณ แนวความคิ ด
กายภาพและสุ นทรี ยภาพอย่างสมบูรณ์”
จุดเด่ นการศึกษาประเทศจีน
จีนมุ่งส่ งเสริ มการศึกษาที่ “มุ่งเน้นคุณภาพเป็ นหัวใจ
สาคัญ” เพื่อบ่มเพาะคนรุ่ นใหม่ที่มีจิตวิญญาณแห่ งการ
สร้างสรรค์และเป็ นนักปฏิบตั ิเพื่อสามารถเผชิ ญหน้ากับ
ความท้าทายใหม่ๆ ในอนาคตข้างหน้า
การจัดการศึกษาจะจัดการศึกษาเต็มวันเช่นเดียวกับ
ประเทศไทย แต่ ช่ ว งพัก กลางวัน ผู ้เ รี ยนก็ จ ะกลับ ไป
รั บ ประทานอาหารกลางวัน ที่ บ้า น โรงเรี ย นไม่ มี ก าร
บริ การเรื่ องอาหาร
นาเสนอโดย
นายณรงค์ ศักดิ์ พรมวัง
นายพิเชษฐ เทอารุ ง
นางอรุณรุ่ ง โยธสิ งห์
รหัส 533JCe201
รหัส 533JCe207
รหัส 533JCe217
นิสิตปริญญาเอก ภาคปกติ
สาขาวิจยั หลักสู ตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร
ขอขอบคุณ สวัสดี.