Transcript Slide 1
ความหมายของการเมืองเปรียบเทียบ
การเมืองเปรี ยบเทียบ(Comparative Politics) เป็ นสาขาย่อย(sub-field)ของวิชารัฐศาสตร์
โดยเป็ นแนวทางประจักษ์นิยม(empirical approach) ที่เน้นระเบียบวิธีแบบเปรี ยบเทียบ
ในทางปฏิบตั ิ การเมืองเปรี ยบเทียบไม่ได้มีเนื้อหาที่มุ่งสนใจโดยเฉพาะ หากแต่โดดเด่น
ตรงที่วธิ ี การศึกษามากกว่า กล่าวคือ สนใจว่าจะวิเคราะห์ได้ “อย่างไร” มากกว่าการสนใจว่า
จะวิเคราะห์ “อะไร” ในอีกทางหนึ่ง การเมืองเปรี ยบเทียบไม่ได้ถกู ใช้เรี ยกตามสิ่ งที่มนั
กาลังศึกษา แต่ถกู เรี ยกเช่นนี้เพราะวิธีการที่ใช้ศึกษาการเมืองมากกว่า นอกจากนี้ การ
ประยุกต์ไปใช้ในสาขาเฉพาะการเมืองเปรี ยบเทียบอาจจะถูกเรี ยกใหม่ เช่น การปกครอง
เปรี ยบเทียบ(comparative government) หรื อ นโยบายต่างประเทศเปรี ยบเทียบ(comparative
foreign policy)
มีผใู ้ ห้ความหมายของการเมืองเปรี ยบเทียบอยูม่ ากมาย เช่น
Jeffrey Kopstein และ Mark Lichbach เสนอว่า “เป็ นวิชาพยายามจะทาความเข้าใจและ
อธิ บายความแตกต่างของการเมืองในประเทศต่าง ๆ ”
Mark Kesselman, Joel Krieger, and William A. Joseph เสนอว่า “การเมืองเปรี ยบเทียบ คือ
สาขาย่อยของวิชารัฐศาสตร์ ที่มีระเบียบวิธีหรื อแนวทางในการศึกษาการเมืองเป็ นแบบ
เฉพาะของตัวเอง”
John McCormick เสนอว่า “การเมืองเปรี ยบเทียบ คือ การศึกษาอย่างเป็ นระบบถึงความ
แตกต่างและความเหมือนท่ามกล่าวระบบการเมืองต่าง ๆ .... โดยการเมือง คือ กระบวนการ
ที่ผคู้ นตัดสิ นใจ – หรื อมีคนตัดสิ นใจให้ ในการที่จะบริ หารและแจกจ่ายทรัพยากรส่ วนรวม
ของสังคมเพื่อการใช้ชีวิตของคนเหล่านั้น”
Michael J. Sodaro เสนอว่า “การเมืองการปกครองเปรี ยบเทียบ เป็ นการค้นหาความจริ งทาง
การเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ในโลก ไม่วา่ จะเป็ นกระบวนการต่าง ๆ ที่รัฐบาลได้
กระทาลงไป และรู ปแบบชีวติ ทางการเมืองของผูค้ นในที่ต่าง ๆ ”
Hague และ Harrop เสนอว่า “เป้ าหมายของการเมืองเปรี ยบเทียบ คือ การเข้าใจความเหมือน
และความแตกต่างหลัก ๆ ท่ามกลางประเทศต่าง ๆ ”
การปกครองเปรียบเทียบ(Comparative Government) คือ วิชาทางรัฐศาสตร์ ที่สนใจ
ศึกษาหลักฐาน สถานการณ์ ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์โดยการเปรี ยบเทียบ
ระบอบการปกครองของประเทศต่าง ๆ , รู ปแบบของรัฐ ซึ่ งในบางครั้งก็เปรี ยบเทียบ
ระบอบการปกครองและรู ปแบบรัฐของประเทศประเทศเดียวแต่ต่างช่วงเวลากันก็มี
ในการศึกษาการเมืองการปกครองเปรี ยบเทียบนั้น มีหลากหลายวิธี(method) แต่
โดยรวม ๆ ก็จะมีวธิ ี หลักคล้ายกัน คือ การอธิ บายการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่
แตกต่างกันออกไปของตัวแปรตามว่ามาจากความแตกต่างของตัวแปรต้นอันไหน ซึ่ ง
ตัวแปรตาม(สิ่ งที่ถกู อธิ บาย) กับตัวแปรต้น(สิ่ งที่นามาใช้อธิ บาย)มีอย่างหลายหลากไม่
จากัด เช่น ตั้งแต่รูปแบบรัฐบาลไปถึงระบบการเลือกตั้ง หรื อ ตั้งแต่ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ถึงด้านวัฒนธรรม เป็ นต้น
ในยุคหลัง มีประเด็นหลักอื่นที่ได้รับความสนใจเพิ่มเติมขึ้น เช่น การทาให้เป็ น
ประชาธิปไตย, ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ-สังคม, การเมืองเรื่ องอัตลักษณ์และชาติพนั ธุ์,
ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม, การวิเคราะห์เชิงสถาบัน และเศรษฐศาสตร์การเมือง
อย่างไรก็ดี ปั จจุบนั มักจะอยูร่ วมในวิชาการเมืองเปรี ยบเทียบ
แนวทางหรื อแนวคิดทฤษฏีที่นามาใช้ในการศึกษาการเมืองเปรี ยบเทียบก็มีหลากหลาย
ที่นิยมก็มี ทฤษฏี rational choice, แนวทางวัฒนธรรมทางการเมือง, แนวทาง
เศรษฐศาสตร์ การเมือง และแนวทางสถาบัน ซึ่ งนักคิดสาคัญที่ริเริ่ มการศึกษาในแนว
เหล่านี้อาทิเช่น อริ สโตเติล, จัง จาก รุ สโซ, แมคคิอาเวลลี, มองเตสกิเออ
อีกแนวทางหนึ่งที่สาคัญคือ การพิจารณาปัจจัยเข้า(inputs) และปัจจัยออก(outputs)
ของระบบการเมือง(political system) โดยปั จจัยเข้ามีกระบวนการกล่อมเกลา
(socialization), การคัดสรรทางการเมือง(political recruitment), การเรี ยกร้อง
ผลประโยชน์, การรวบรวมผลประโยชน์, พรรคการเมือง และการสื่ อสารเรื่ องนโยบาย
เป็ นต้น ส่ วนปั จจัยออกมักจะเป็ นการสร้างนโยบาย(กฎหมาย-ระเบียบ), การนานโยบาย
ไปใช้ และการปรับเปลี่ยนการใช้นโยบาย.
หากเมื่อมองลงไปสู่รายละเอียดเฉพาะอาจจะแบ่งสาขาได้ดงั นี้
1. ด้านสถาบันการปกครอง(governmental institutions) – สนใจว่า การ
ปกครองมีโครงสร้างอย่างไร และโครงสร้างเหล่านั้น แจกแจงอย่างไร แต่ละ
ส่ วนมีหน้าที่อะไรบ้าง ทั้งที่อยูใ่ นประเทศประชาธิปไตยกับไม่ใช่ประชาธิปไตย
2. ด้านนโยบายสาธารณะ(public policy) – สนใจกระบวนการที่รัฐบาล
ตอบสนองความต้องการของประชาชน ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องเพิ่มคุณภาพชีวิต, ลด
การว่างงาน ฯลฯ และจัดการความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเด็นทางการเมือง,
เศรษฐกิจ และสังคม
3. ด้านพฤติกรรมทางการเมือง(political behavior) อุดมการณ์ทางการเมือง
(political ideologies)และการมีส่วนร่ วมทางการเมือง(political participation)
ของทั้งชนชั้นนา(elite)และมวลชน(Mass) - สนใจพฤติกรรมทางการเมือง
ของผูน้ าและประชาชนแสดงออกมา ไม่วา่ จะเป็ นความคิดทางการเมือง,
วิธีการเข้ามามีส่วนร่ วมในทางการเมือง ไม่วา่ จะเป็ นในส่ วนการเลือกตั้ง,
พรรคการเมือง, กลุ่มผลประโยชน์ และกิจกรรมทางการเมืองอื่น ๆ
4. ด้านวัฒนธรรมทางการเมือง(political culture) – สนใจความรู ้สึก และ
ความเข้าใจที่มีในทางการเมืองของทั้งผูน้ าการเมือง และมวลชน รวมถึง
สนใจว่าสิ่ งต่าง ๆ ข้างต้นส่ งผลต่อการแสดงพฤติกรรมอย่างไร
ความสาคัญของการศึกษาการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ
ในประวัติศาสตร์ การเมืองของมนุษย์มีความหลากหลาย ทั้งในส่ วนของ
ระบอบการปกครอง ระบบการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง
ความเป็ น-ไม่เป็ นประชาธิ ปไตย ฯลฯ ดังนั้น ในการศึกษาการเมืองโดยการใช้ตวั อย่าง
เพียงแค่ตวั อย่างรู ปแบบเดียว จะไม่สามารถทาเข้าใจได้เพราะเริ่ มต้นจากการมอง
การเมืองแบบแคบ
การศึกษาการเมืองในเชิงเปรี ยบเทียบ คือ การเริ่ มต้นจากการมองเห็นความ
หลากหลายของความเป็ นการเมืองในหลาย ๆ ส่ วนข้างต้น และพยายามหาข้อเหมือนแตกต่างของประเด็นทางการเมืองที่สนใจศึกษา และเชื่อมโยงหาคาตอบหรื อข้อสรุ ป
จากการศึกษา โดยหลัก ๆ จะพิจารณาว่า สภาพที่เหมือนกันนั้น เหมือนกันตรงไหน
เพราะอะไร และส่ งผลอย่างไรในทางการเมือง หากมีความแตกต่างกัน แตกต่างกัน
อย่างไร เหตุใดจึงแตกต่างกัน และส่ งผลอย่างไรในทางการเมือง ซึ่ งการศึกษาโดยใช้
วิธีการเปรี ยบเทียบมาใช้จะได้คาตอบในลักษณะดังกล่าวได้ง่ายและดีกว่าวิธีการอื่น
โดยคาตอบหรื อผลจากการศึกษาเหล่านี้สามารถจะไปเสริ มองค์ความรู ้ที่มีอยูเ่ ดิมทาง
รัฐศาสตร์
เป้าหมายในการศึกษาในการศึกษาการเมืองเปรียบเทียบ(purposes of studying
comparative politics)
• เพื่อขยายขอบเขตความเข้าใจการเมืองของประเทศต่าง ๆ ให้มากยิง่ ขึ้น
• เพื่อเพิ่มความเข้าใจข้อดี-ข้อเสี ยของระบบการเมืองในประเทศตนเอง ผ่านการเรี ยนรู้จาก
ประเทศอื่น
• เพื่อทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับส่ วนอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี,
สิ่ งแวดล้อม, การสาธารณสุ ขสาธารณะ, กฎหมาย, ธุรกิจ, ศาสนา, ชาติพนั ธุ์, วัฒนธรรม
ฯลฯ ที่เกิดขึ้นในที่ต่าง ๆ ของโลก
• เพื่อเสริ มสร้างการคิดเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ
เป้ าหมายของการศึกษาการเมืองเปรี ยบเทียบ
1.แสวงหาขอบเขตเพื่อความเข้าใจอย่างทัว่ ด้านให้มากขึ้นกว่าที่เป็ นอยู่
- ขยายองค์ความรู ้เกี่ยวกับระบบการเมืองเดิมที่กระจุกตัวอยูเ่ ฉพาะยุโรปและอเมริ กา
2. การแสวงหาความจริ ง
- การลดการศึกษาเชิงโครงสร้างของสถาบันทางการเมืองแล้วหันมามองส่ วนอื่น ๆ
โดยเฉพาะแนวพฤติกรรมศาสตร์
3. การแสวงหาความถูกต้อง
- การพยายามหาความถูกต้องในทางทฤษฏีทางด้านรัฐศาสตร์ เช่น การใช้วธิ ี การวิจยั เชิง
ปริ มาณเข้ามาศึกษา
4. การแสวงหาทฤษฏี
- การสร้างทฤษฏีนอกจากการมองเชิงคุณค่าแบบการศึกษาการเมืองคลาสสิ ค + สร้าง
ทฤษฏีของรัฐศาสตร์ เองที่ไม่ตอ้ งหยิบยืมมาจากศาสตร์ แขนงอื่น ๆ
ความแตกต่ างระหว่ างการเมืองเปรียบเทียบกับการเมืองระหว่ างประเทศ(The
difference between comparative politics and international politics)
การเมืองเปรี ยบเทียบจะเน้นการศึกษาการเมืองภายใน(internal)ของแต่ละประเทศ
แล้วนามาเปรี ยบเทียบหาข้อเหมือน-แตกต่าง เช่น สนใจศึกษาเปรี ยบเทียบ
กระบวนการประชาธิ ปไตยของกลุ่มประเทศประชาธิ ปไตย ก็ตอ้ งไปหาประเทศที่มี
ระบอบการปกครองภายในที่เป็ นประชาธิ ปไตยมาศึกษาเปรี ยบเทียบกัน
ส่ วนการเมืองระหว่างประเทศนั้น เน้นขอบเขตการศึกษาไปที่ความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ หรื ออาจจะเรี ยกว่าเป็ นการเมืองที่อยูภ่ ายนอก(external)ประเทศ
นั้นเอง เช่น การฑูต, กฎหมายระหว่างประเทศ, ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ, สงคราม, การสร้างสันติภาพของโลก ฯลฯ
อย่างไรก็ดี เส้นแบ่งระหว่างการเมืองเปรี ยบเทียบกับการเมืองระหว่างประเทศนั้น
อาจจะเรี ยกได้วา่ บางมาก โดยเฉพาะในภาวะปั จจุบนั ที่โลกถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันใน
หลายด้าน ทั้งทางเศรษฐกิจ, การเมือง และวัฒนธรรม กิจการภายในบางอย่างก็ส่งผล
ออกไปยังภายนอกประเทศ ในขณะเดียวกัน สิ่ งที่เกิดขึ้นภายนอกประเทศก็มีอิทธิพล
ต่อความเป็ นไปภายในประเทศก็อาจเป็ นได้ แต่กย็ งั พอพูดได้วา่ ทั้งสองสาขาก็ยงั มีตวั ตน
ทางวิชาการที่แตกต่างกันอยู่
วิวฒ
ั นาการของการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ
การศึกษาในลักษณะเปรี ยบเทียบรู ปแบบการปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบัน
การเมือง วัฒนธรรมการเมือง และพฤติกรรมทางการเมืองมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ แต่ที่
โดดเด่นและเป็ นที่กล่าวถึงมากที่สุดคือ The Politics ของอริ สโตเติล โดยอริ สโตเติลได้
พยายามรวบรวมรู ปแบบการปกครองโดยใช้วิธีการไปสังเกตจากเมือง/นครรัฐต่าง ๆ ใน
ยุคนั้น แล้วมาจัดประเภท การศึกษาเปรี ยบเทียบของอริ สโตเติลถือเป็ นแม่แบบของ
การศึกษารัฐศาสตร์ ในเชิงประจักษ์ในสมัยต่อ ๆ มา และถือเป็ นงานชิ้นแรก ๆ ที่ถอยห่าง
ออกมาจากการคิดภายใต้ความพยายามสร้างสังคมการเมืองในอุดมคติโดยเฉพาะของเพล
โต
หลังจากนั้นการศึกษาในเชิงเปรี ยบเทียบด้านการเมืองออกจะไปทางแนวเปรี ยบเทียบ
การปกครองเสี ยเป็ นส่ วนใหญ่ กล่าวคือ เน้นที่สถาบันการเมือง มากกว่าการมองระบบ
การเมืองอย่างเช่นในปั จจุบนั
ลักษณะของการศึกษาการเมืองการปกครองเปรี ยบเทียบในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
มีลกั ษณะที่สาคัญดังต่อไปนี้ หนึ่ง มักจะจากัดการศึกษาอยูใ่ นส่ วนประเทศยุโรปเป็ นส่ วน
ใหญ่ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมันนี อิตาลี และรัสเซี ย หากศึกษาการเมืองในประเทศ
เอเซี ยและแอฟริ กาก็จะเป็ นการศึกษาประเทศ ๆ เดียวหรื อเชิงภูมิภาคศึกษา ไม่ได้มีการใช้
วิธีการเปรี ยบเทียบเท่าใดนัก
สอง นักรัฐศาสตร์ อเมริ กาส่ วนใหญ่จะสนใจเฉพาะแต่การเมืองของประเทศตัวเอง และ
ยุโรปตะวันตกเป็ นส่ วนใหญ่ โดยจะศึกษาถึงระบบการเมืองหนึ่ ง ๆ เป็ นหลัก
สาม การศึกษาระบบการเมืองดังกล่าวมักเน้นไปที่ตวั สถาบันทางการเมือง รัฐธรรมนูญ
กฎและระเบียบต่าง ๆ และความคิดหรื ออุดมการณ์ทางการเมือง ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นทางการ
มากกว่าการมองการกระทา(action) สมรรถนะ(capacity) ความสัมพันธ์(relation) และ
พฤติกรรมทางการเมือง(political behavior) ฝ่ ายนักรัฐศาสตร์ อเมริ กนั ก็มุ่งหาจุดแข็งจุดอ่อนหรื อวิจารณ์ประชาธิ ปไตยของตัวเองเป็ นหลัก เช่น การศึกษากลุ่มอิทธิ พล กลุ่ม
ผลประโยชน์ อานาจ และการควบคุม สื่ อสารมวลชนของกลไกการเมือง ลักษณะอนุรักษ์
นิยมของฝ่ ายตุลาการ ปัญหาของภาวะผูน้ าในทางการเมือง ฯลฯ
อย่างไรก็ตาม Gabriel Almond กับ Bingham Powell เสนอว่า การศึกษารัฐศาสตร์ ใน
ระยะต้นของศตวรรษที่ 20 จัดได้วา่ เป็ นช่วงที่เริ่ มมีการแยกระหว่างการศึกษาคุณลักษณะ
อันพึงปรารถนาของระบบการเมือง ออกจากลักษณะในความจริ งของระบบการเมือง ซึ่ ง
ต่างกับการศึกษารัฐศาสตร์ ต้ งั แต่สมัยกรี กมาจนถึงศตวรรษที่ 19 ที่ถือว่าทั้งสองสิ่ งนี้
จะต้องศึกษาควบคู่กนั ไป ผลคือ ทฤษฏี+ปรัชญากลายเป็ นเรื่ องประวัติศาตร์ ไป ส่ วน
การเมืองเปรี ยบเทียบก็เป็ นเรื่ องของข้อมูลเชิงประจักษ์เป็ นส่ วนใหญ่
การศึกษาการเมืองการปกครองเปรี ยบเทียบได้รับความนิยมกว้างขวางมากยิง่ ขึ้นมาก
ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากหลายสาเหตุ
หนึ่ง ประเทศที่เคยเป็ นอาณานิคม ได้เอกราช และได้เข้าเป็ นสมาชิก UN และมี
สิ ทธิ เท่าเทียมกับเจ้าอาณานิคมเดิม ซึ่ งมีผลกระทบต่อการเจรจาต่อรองทางการเมือง
ระหว่างประเทศของประเทศมหาอานาจ เช่น อเมริ กา อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซี ย
สอง ประเทศเกิดใหม่เหล่านี้สามารถดาเนิ นกิจการภายในได้โดยอิสระ ซึ่ ง
ประเทศเหล่านี้มีทรัพยากรมากมายที่เจ้าอาณานิคมเดิมตักตวงออกไปยังไม่หมด รวมถึงยัง
กลายเป็ นตลาดในการระบายสิ นค้าที่สาคัญ ทาให้ประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ
กระตือรื อร้นที่จะเข้าใจการเมือง กระบวนการออกนโยบาย กิจกรรมทางการเมืองทั้งของ
รัฐและมวลชนในประเทศเหล่านี้ ซึ่ งรัฐบาล องค์กรธุรกิจ มูลนิธิต่าง ๆ ให้ทุนการศึกษา
อย่างกว้างขวาง
สาม อเมริ กากังวลว่าประเทศเหล่านี้ จะเข้าไปสู่ ค่ายคอมมิวนิสม์ที่สหภาพโซ
เวียตกาลังขยายประเทศบริ วาร นักวิชาอเมริ กนั จึงนิยมศึกษาประเทศที่มีแนวโน้มจะ
กลายเป็ นคอมมิวนิสม์ โดยการศึกษาออกจะเป็ นไปในทางการมองการพัฒนาการเมือง
แบบประชาธิ ปไตย ซึ่ งตัวรัฐบาลอเมริ กนั เองมักจะเอาองค์ความรู ้ที่ได้ไปเผยแพร่ ให้แก่
รัฐบาลและนักวิชาการในประเทศที่ถกู เลือกนั้น ๆ ด้วย
ในช่วงปี 1954 – 1967 ได้มีการประชุมวิชาการเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
เปรี ยบเทียบ และมีหนังสื อ บทความด้านนี้พิมพ์มากมาย
ในปี 1962 สมาคมรัฐศาสตร์ อเมริ กนั (The American Political Science Association) ลง
มติให้การเมืองเปรี ยบเทียบเป็ นแขนงหนึ่งในวิชารัฐศาสตร์ ในการประชุมเมื่ อปี ค.ศ. 1962
There are several different kinds of studies.
Among the types of studies that students of Comparative Politics actually do are
the following:
1. Studies of one country -- or a particular institution (political parties,
militaries, parliaments, interest groups), political process (decision making), or
public policy (e.g., labor or welfare policy) in that country.
When we focus on a single country or institution it is necessary to put the study
into a larger comparative framework.
That means we should tell why the subject is important and where it fits in a
larger context.
2. Studies of two or more countries -- Provides for genuine comparative studies.
(usually harder and more expensive in terms of research and travel costs).
3. Regional or area studies -- This may include studies of Africa, Latin
America, the Middle East, East Asia, Southeast Asia, South Asia, Europe, or
other subregions.
Such studies are useful because they involve groups of countries that may have
several things in common -- e.g., similar history, cultures, language, religion,
colonial backgrounds, an so on.
Regional or area studies allow you to hold common features constant, while
examining or testing for certain other features.
4. Studies across regions -- Often expensive and difficult to carry out.
Such studies might involve comparisons of the role of the military in Africa and
the Middle East, or the quite different paths of development of the East Asian
countries and Latin America.
5. Global comparisons -- With the improved statistical data collected by the
world bank, the UN, and other agencies, it is now possible to do comparisons on a
global basis.
6. Thematic studies -- Comparative politics focuses on themes as well as
countries and regions.
E.g., themes such as dependency theory, corporatism, role of the state, process of
military professionalization.
Thematic studies are often complex and usually carried out by more senior
scholars.