สรุปความเป็นมา และการกำหนดประเด็นศึกษา คณะอนุกรรมการเทววิทยา และ

Download Report

Transcript สรุปความเป็นมา และการกำหนดประเด็นศึกษา คณะอนุกรรมการเทววิทยา และ

1.1 วันที่ 15 กันยายน 2009 สภาพระสังฆราชได้
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเทววิทยาฯ เพื่อศึกษา
เอกสารและนโยบายของพระศาสนจักรในด้าน
ต่างๆ พร้อมทั้งศึกษาสภาพความเป็ นจริงและ
แนวโน้มของสังคม โดยมีพระอัครสังฆราช
เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็ นประธาน คุณพ่อ
วัชรินทร์ สมานจิต เป็ นผูป้ ระสานงาน และ
กรรมการชุดแรก 8 ท่าน
1.2 คณะอนุกรรมการเทววิทยาฯ ได้มีการประชุม
ครั้งแรกที่บา้ นผูห้ ว่าน เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม
2009 มีวาระการประชุมดังนี้
1.2.1 ทาความเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของ
คณะอนุกรรมการฯ
1.2.2 แนวทางการกาหนดกรอบการศึกษา
ประเด็นต่างๆ
1.2.3 พิจารณาผูท้ รงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญเฉพาะ
เรื่องเพิ่มเติม
ข้อสรุปจากที่ประชุม
ก. เนื่องจากการกาหนดทิศทางงานอภิบาลฯ
ค.ศ.2010-2015 เป็ นการต่อยอดจากทิศทาง
งานอภิบาลฯ ค.ศ.2000-2010 เอกสาร
การศึกษาประเด็นต่างๆ ของสมัชชา ค.ศ.
2000 (เอกสารประกอบการประชุม สัมมนา ชุด
ที่ 3) ยังเป็ นเนื้อหาสาระสาคัญและเป็ นพื้นฐาน
สาหรับการทางานอภิบาลและงานธรรมทูตของ
พระศาสนจักรต่อไป สาหรับการศึกษาของ
คณะอนุกรรมการฯ ชุดนี้ จะเน้นจุดยืนและ
นโยบายของพระศาสนจักรหลัง ค.ศ. 2000
เป็ นต้นไป
ข. คณะอนุกรรมการฯ จึงได้กาหนดกรอบ
ช่วงเวลาสาหรับการศึกษาประเด็นต่างๆ ใน
รอบ 10 ปี ที่ผ่านมา (ค.ศ. 2000 – 2010)
เกี่ยวกับสถานการณ์สงั คมมนุษย์โลกทั้งใน
ระดับมหภาคและจุลภาค และการตอบสนอง
ของพระศาสนจักรทั้งในระดับสากลและ
ท้องถิ่น พร้อมกับศึกษาแนวโน้มและข้อท้าทาย
สาหรับการกาหนดทิศทางงานอภิบาลของ
พระศาสนจักรไทยในช่วงต่อไป
2010
2015
พระศาสนจักรสากล
2010
2015
สังคมไทย
2010
2015
พระศาสนจักรไทย
2010
2015
สังคมมนุษย์โลก ปี 2000
มหภาค
จุลภาค
หลังจากที่ได้ศึกษาสถานการณ์สงั คมไทย
แบบเชิงวิเคราะห์ ที่ประชุมร่วมกันกาหนด
ประเด็นศึกษา (Focused Agenda) สาคัญเร่งด่วน
และมอบหมายให้มีผปู ้ ระสานงานกลุม่ ศึกษา
ประเด็นต่างๆ พร้อมกับพิจารณาสรรหา
ผูท้ รงคุณวุฒิเชี่ยวชาญเฉพาะประเด็นเพิ่มเติม
และกาหนดให้นาเสนอร่างการเขียนประเด็น
ศึกษาในการประชุมครั้งต่อไป
ประเด็นศึกษามีดงั นี้
1) คุณค่าทางศีลธรรมที่ตอ้ งได้รบั การฟื้ นฟู อันเนื่องมาจากความเชื่อ
และมโนธรรม
(คุณพ่อวัชรินทร์ สมานจิต)
2) การเป็ นศิษย์พระเยซูเจ้า บนพื้นฐานความ
เชื่อ ความหวัง ความรัก (เป็ นธรรมทูต
ด้วยชีวิตในทุกชุมชนที่ตนดารงชีวิตอยู)่ …
(คุณพ่อฟรังซิส ไกส์)
3) ไตรเสวนา (คนยากจน วัฒนธรรม และ
ศาสนา)…. (คุณพ่อวัชรินทร์ สมานจิต)
4) ครอบครัว เด็กและเยาวชน (ในพระศาสนจักรระดับบ้าน) เน้นมิติ
ชีวิตจิตและปฏิสมั พันธ์ระหว่างพระเจ้า เพื่อนมนุษย์และสิ่งสร้าง
และการศึกษาคาทอลิก
(คุณพ่อเฉลิม กิจมงคล)
5) บทบาทผูอ้ ภิบาล (ตามหลักการ 3 ประการ)…
(คุณพ่อจาเนียร กิจเจริญ)
6) บทบาทฆราวาสในการประกาศข่าวดีในโลก
(ในอาชีพการงานของตน)…
(คุณพ่อจาเนียร กิจเจริญ)
7) บทบาทสื่อสารสังคมเพื่อบริการและ
ตอบสนองทุกประเด็น
(ม.ล.จตุรพิธ ชมพูนุท)
8) การประสานสัมพันธ์ของทุกส่วนงานในการนาทิศทางฯ ไปปฏิบตั ิ
(การบริหารจัดการ) …
(คุณพ่อจาเนียร กิจเจริญ)
9) การธรรมทูต (คุณพ่อจาเนียร กิจเจริญ)
แนวการเขียนประเด็นศึกษา (Format)
1) หัวข้อ
2) ประเด็น
3) อ้างอิง (เอกสารพระศาสนจักร ฯลฯ)
4) ความหมาย
5) ความสาคัญ / ประโยชน์ / ข้อท้าทาย
พระศาสนจักร
6) แนวทางปฏิบตั ิ
1.3 ประชุมคณะอนุกรรมการเทววิทยาฯ ครั้งที่ 2 วันที่ 30 พฤศจิกายน
2009 ณ ห้องประชุม ชั้น 10 สานักงานสภาพระสังฆราชฯ มี
ข้อสรุปสาระสาคัญที่ได้พิจารณาตกลงร่วมกันดังนี้
1.3.1 ให้มีทีมที่ปรึกษาด้านกฏหมายพระศาสนจักร
เพื่อหนุนช่วยให้การประชุมสมัชชาฯ ดาเนินไป
ตามแนวทางและจุดยืนของพระศาสนจักร โดย
มีคณ
ุ พ่อประจักษ์ บุญเผ่า เป็ นผูป้ ระสานงาน
และคุณพ่อสุเทพ วนพงศ์ทิพากร ร่วมทีมงาน
1.3.2 มีการจัดลาดับความสาคัญของประเด็นศึกษาทั้ง 9 ประเด็น
โดยเน้น การเป็ นศิษย์ เป็ นประเด็นหลัก ซึ่งมีหลักการ
พิจารณาดังนี้
ก. การเป็ นศิษย์ เป็ นพื้นฐานความเชื่อของคริสตชนทุกคน
ข. การฟื้ นฟูคณ
ุ ค่าทางศีลธรรมเป็ นสิ่งที่ตอ้ งแก้ไขปรับปรุง
ค. ประเด็นสังคม (ไตรเสวนา) ครอบครัว เด็ก-เยาวชน
การศึกษา การธรรมทูต เป็ นเนื้องานที่ตอ้ งทาใน
สนามงาน
ง. ประเด็นสื่อสารสังคมและการประสานสัมพันธ์
เป็ นเสมือนเครือ่ งมือในการทาพันธกิจให้บรรลุ
เป้าหมาย
ที่ประชุมได้กาหนดกรอบเวลาการทางานของ
คณะอนุกรรมการฯ โดยขอให้ทุกกลุม่ ที่ศึกษาประเด็น
ต่างๆ ส่งผลการศึกษาภายในวันที่ 30 มกราคม
2010 เพื่อทีมบรรณาธิการ (ผูป้ ระสานงานกลุม่ )
จะได้ประชุมสรุปเอกสารและเรียบเรียงประเด็น
ศึกษาต่างๆ ให้เป็ นเอกสารศึกษาฉบับเดียว ในวันที่
2 กุมภาพันธ์ 2010
1.4 ประชุมทีมบรรณาธิการ ครั้งที่ 1 วันที่ 2 กุมภาพันธ์
2010 ณ สานักงานสภาพระสังฆราชฯ ที่ประชุม
ได้พิจารณาจัดโครงสร้างของประเด็นศึกษาทั้ง 9
ประเด็น เพื่อให้สอดคล้องกับธรรมชาติงานของ
พระศาสนจักร ดังนี้
เป้าหมาย การเป็ นศิษย์แท้จริง
งานอภิบาล
การสร้างศิษย์
- ครอบครัว
- เด็ก เยาวชน (สตรี ผูส้ ูงอายุ ฯลฯ)
- ชุมชน
- ผูอ้ ภิบาล
งานธรรมทูต
ชีวิตเชิงประจักษ์พยาน
มีกิจกรรม...
เครื่องหมาย
- การศึกษา
- งานอภิบาลและพัฒนาสังคม
- ศาสนสัมพันธ์
เครื่องมือ
- สื่อสารสังคม
- การประสานสัมพันธ์
1.5 ประชุมทีมบรรณาธิการ ครั้งที่ 2 วันที่ 16
กุมภาพันธ์ 2010 ณ สานักงานสภาพระสังฆราชฯ
เพื่อติดตามความคืบหน้าและความสมบูรณ์ของ
เอกสาร
1.6 ประชุมคณะกรรมการยกร่างทิศทางฯ วันที่ 18
กุมภาพันธ์ 2010 ณ ห้องประชุม ชั้น 10 สานักงาน
สภาพระสังฆราชฯ ที่ประชุมได้รว่ มกันพิจารณา
จัดลาดับและเพิ่มประเด็นทาการศึกษาเพิ่มเติม
เพื่อให้เอกสารประกอบการประชุมสมัชชา ชุดที่ 3
และชุดที่ 4 สอดประสานและ หนุนเสริมกันและกัน
อันจะเป็ นแนวทาง ข้อท้าทายและข้ออ้างอิงสาหรับ
การกาหนดทิศทางงานอภิบาลฯ ค.ศ.2010–2015
ได้สมบูรณ์มากยิง่ ขึ้น
ภาคที่ 1
ภาคที่ 2
1. สรุปการศึกษาแนวโน้มพระศาสน
จักรและสภาพสังคม
2. สรุปผลการศึกษาวิจยั หลักการ 3
ประการ
ภาคผนวกของประเด็นศึกษา หัวข้อที่
1,5 และ 8
ส่วนที่ 1 อารัมภบท
บทนา
ก. สถานการณ์สงั คมมนุษย์โลกและ  วัตถุประสงค์
 บริบทสังคมและพระศาสนจักร
ประเทศไทย
ข. การตอบสนองของพระศาสนจักร
ในประเทศไทยในปั จจุบนั
ส่วนที่ 2
1. การเป็ นศิษย์พระเยซู
1.1 สร้างความเป็ นศิษย์และ
บทที่ 1
ดาเนินชีวิตความเป็ นศิษย์
1.2 การฟื้ นฟูคณ
ุ ค่าทางศีลธรรม
อภิบาลชุมชนศิษย์
พระคริสต์
การสร้างศิษย์และ
การพัฒนาความเชื่อโดย
อาศัยพระวาจาและ
ศีลศักดิ์สิทธิ์
2. การสร้างชุมชนศิษย์ / ชุมชนวัด
บทที่ 2 การสร้างและพัฒนา
ชุมชนวัด
3. ครอบครัว / เยาวชน
3.1 ครอบครัว
3.2 งานพันธกิจด้านเยาวชน /
งานเยาวชนเชิงอภิบาล
บทที่ 3 การอภิบาลครอบครัว
เด็กเยาวชน สตรี
ผูส้ ูงอายุ และคริสตชน
กลุม่ พิเศษต่างๆ
4. ผูอ้ ภิบาลที่ดีตามแบบพระ
คริสตเจ้า
บทที่ 4 การสร้างและพัฒนา
ผูอ้ ภิบาล
5. การธรรมทูตของพระศาสนจักร ส่วนที่ 3 ร่วมพันธกิจแบ่งปั นข่าวดี
บทที่ 5 การประกาศและ
การแบ่งปั นข่าวดี
6. การศึกษาคาทอลิก
บทที่ 6 การศึกษาอบรมแบบ
คาทอลิก
7. การเข้าสูว่ ฒ
ั นธรรม - ศาสน
สัมพันธ์
บทที่ 7 การเข้าสูว่ ฒ
ั นธรรม
และศาสนสัมพันธ์
8. งานอภิบาล / พัฒนาสังคม
บทที่ 8 พันธกิจ รัก -รับใช้
สังคมโลก
9. บทบาทสื่อสารสังคม
บทที่ 9 สื่อคาทอลิก พลังแห่ง
การประกาศข่าวดี
(การประสานสัมพันธ์ : วิถีชีวิต
ของพระศาสนจักรในการธรรม
ทูต) ข้อ 5
ส่วนที่ 4 บทสรุป
บทที่ 10 การประสานสัมพันธ์ใน
การดาเนินชีวิตและ
พันธกิจ
เอกสารประกอบการประชุมชุดที่ 3
แนวโน้มพระศาสนจักรและสภาพสังคม
บทนา
ก. สถานการณ์สงั คมมนุษย์โลกและประเทศไทย
ข. การตอบสนองของพระศาสนจักร
1. การเป็ นศิษย์พระเยซู
1.1 สร้างความเป็ นศิษย์และดาเนินชีวิตความเป็ นศิษย์
1.2 การฟื้ นฟูคุณค่าทางศีลธรรม
2. การสร้างชุมชนศิษย์ / ชุมชนวัด
3. ครอบครัว / เยาวชน
3.1 ครอบครัว
3.2 งานพันธกิจด้านเยาวชน/งานเยาวชนเชิงอภิบาล
4. ผูอ้ ภิบาลที่ดีตามแบบพระคริสตเจ้า
5. การธรรมทูตของพระศาสนจักร
6. การศึกษาคาทอลิก
7. การเข้าสู่วฒ
ั นธรรม - ศาสนสัมพันธ์
8. งานอภิบาล / พัฒนาสังคม
9. บทบาทสื่อสารสังคม
(การประสานสัมพันธ์ : วิถีชีวิตของพระศาสนจักรในการ
ธรรมทูต) ข้อ 5
ส่วนที่ 1 อารัมภบท
 วัตถุประสงค์
 บริบทสังคมและพระศาสนจักรในประเทศไทยในปั จจุบนั
ส่วนที่ 2 อภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์
บทที่ 1 การสร้างศิษย์และการพัฒนาความเชื่อโดยอาศัย
พระวาจาและศีลศักดิ์สิทธิ์
บทที่ 2 การสร้างและพัฒนาชุมชนวัด
บทที่ 3 การอภิบาลครอบครัว เด็กเยาวชน สตรี ผูส้ ูงอายุ
และคริสตชนกลุ่มพิเศษต่างๆ
บทที่ 4 การสร้างและพัฒนาผูอ้ ภิบาล
ส่วนที่ 3 ร่วมพันธกิจแบ่งปั นข่าวดี
บทที่ 5 การประกาศและการแบ่งปั นข่าวดี
บทที่ 6 การศึกษาอบรมแบบคาทอลิก
บทที่ 7 การเข้าสู่วฒ
ั นธรรมและศาสนสัมพันธ์
บทที่ 8 พันธกิจ รัก –รับใช้สงั คมโลก
บทที่ 9 สื่อคาทอลิก พลังแห่งการประกาศข่าวดี
ส่วนที่ 4 บทสรุป
บทที่ 10 การประสานสัมพันธ์ในการดาเนินชีวิตและพันธกิจ