ระบบการกระจายสินค้า
Download
Report
Transcript ระบบการกระจายสินค้า
แนวทางการสร้ างเครือข่ ายขับเคลือ่ น
เมืองเกษตรสี เขียว
(Green Agriculture City)
1
Green Cityการพัฒนาเกษตร อาหาร
เพือ่ คุณภาพชีวติ ของเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่ งแวดล้ อม
คาถามเจ้ าหน้ าที่ ???????
จะทาได้ หรือ?
ทาทีไ่ หนดี หาเกษตรกรทาไม่ ได้ ?
จะแนะนาอะไร? อย่ างไร?
ขายอยู่ทไี่ หน?
มีปัญหาแก้ ไม่ ตกใครจะช่ วย?ถามใคร?
งบทีไ่ หน?ประสานกับใคร
ไม่ มขี ้ อมูล?ฯลฯ
3
คาถามผู้ปลูก??????????
ไม่ เชื่อว่ าทาได้ ?
ผลผลิตได้ น้อย?
ราคาเท่ ากับเกษตรทั่วไปทาทาไม?
ทาแล้ วไม่ คุ้มทุน ขาดทุน?
เสี ยเวลา? ยุ่งยาก?ขั้นตอนเยอะ?
ปลูกแล้ วไม่ มที ขี่ าย?ฯลฯ
4
คาถามผู้กระจายสิ นค้ าตลาด??????
ผลผลิตมีน้อยไม่ พอรวบรวม?
ใครทาบ้ างอยู่ทไี่ หน?
ใครรับรอง?
ผลผลิตไม่ ต่อเนื่อง ?
ตรวจสอบย้ อนกลับอย่ างไร?ฯลฯ
5
คาถามผู้บริโภค????????
หาซื้อทีไ่ หน?ไม่ สะดวก?
ติดต่ อใคร? อย่ างไร?
ราคาแพง?
เชื่อได้ อย่ างไรว่ าปลอดภัยจริง?
สิ นค้ าไม่ หลากหลายอยากกินหลายอย่ าง?
ฯลฯ
6
หากจะคลีค่ ลายปัญหา สิ่ งที่ต้องก้ าวข้ าม
การมองมุมเดียว
ทาด้ านเดียว
ทาหน่ วยงานเดียว
ทาวิธีการเดียว
ทาช่ วงเดียว
ทาแบบเดียว
ทาเดีย๋ วเดียว
7
หัวใจการพัฒนา เมืองเกษตรสี เขียว
พัฒนาพืน
้ ที่
ให้ ปลอดภัย ไร้ มลพิษ มีการจัดการของเสี ย
พัฒนาสิ นค้ า
ให้ มีคุณภาพ ได้ มาตรฐาน ปลอดภัย ใช้ ภูมิปัญญา
พัฒนาคน
ให้ มีความเป็ นอยู่ทดี่ ี มีรายได้ ผลิตยัง่ ยืนอยู่ในพืน้ ทีไ่ ด้
8
การขับเคลือ่ น.....เมืองเกษตรสี เขียว
ต้ องทาทุกระบบ
ระบบการเรียนรู้ (เกษตรกร ผู้บริโภค จนท.)และระบบฐานข้ อมูล
ระบบมาตรฐานความปลอดภัย
ระบบการผลิต
ระบบการจัดการกลุ่ม เครือข่ าย
ระบบการกระจายสิ นค้ า
ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่ อสารและประชาสั มพันธ์
9
ระบบการเรียนรู้
และระบบฐานข้ อมูล
10
การเรียนรู้ (ของทุกกล่ ุม)
เนือ้ หา ครบถ้ วน ทาได้ จริง ปรับทัศนะก่อน
กระบวนการ ไม่ น่าเบื่อ เห็นของจริง ได้ ลองทา
ผสมผสานวิธี หลายช่ องทาง ต่ อเนื่อง ผู้เรียนมีโอกาสจัดการ
เองได้ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ต่อเนื่อง
วิทยากร ตัวจริง รู้จริง ปรึกษาได้
กระบวนกร ออกแบบได้ ดี เชื่อมโยงได้ หาแหล่ งความรู้ได้
แนะนาได้
11
ระบบฐานข้ อมูลใคร ทาอะไร ทีไ่ หน
เท่ าไร ต้ นแบบต่ างๆ แหล่ งตลาด ความรู้
12
เรียนรู้ On line
ระบบการผลิต
14
การผลิต
วิธีการสอดคล้ อง บริบท พืน
้ ที่
สิ นค้ า คน
จัดการปัจจัยพึง่ ตนเองให้ มากทีส
่ ุด
ลดต้ นทุน เพิม
่ มูลค่ าด้ วยคุณค่ า
เพิม
่ ศักยภาพทุกขั้นตอน ก่อน ระหว่ าง หลังการผลิต
ผสมผสานภูมป
ิ ัญญาท้ องถิน่ กับ ความรู้ ภายนอก
15
ระบบการจัดการกล่ มุ เครือข่ าย
เพราะการผลิตต้ องปราณีต มีผลผลิตมากพอ สามารถ
จัดการได้ และรวมกันจัดการตลาด
16
กลุ่ม เครือข่ าย
เริ่มจากกลุ่มเล็ก
เชื่อมโยงเครือข่ าย
กลุ่มจัดการได้ จริง
มีกลไกประสาน
กลุ่มดูแล ควบคุม
กิจกรรมต่ อเนื่อง
สมาชิกได้
เรียนรู้ พบปะกัน
เสมอ
หลายด้ าน
17
ระบบรับรองมาตรฐาน
ความปลอดภัย
มาตรฐานความปลอดภัย
หลากหลาย (องค์ กรรับรอง มีส่วนร่ วมPGS)
อธิบายได้ ยืนยันได้ พิสูจน์ ได้ ผู้ซือ้ มั่นใจ
ตามความจาเป็ น เห็นประโยชน์
ไม่ กด
ี กัน แต่ เป็ นเครื่องมือพัฒนา
รู้ แหล่ งทีม
่ า ตรวจสอบย้ อนกลับ
19
ระบบการกระจายสิ นค้ า
20
การกระจายสิ นค้ า
สร้ างหลายช่ องทาง มีสินค้ าหลากหลาย วัตถุดบ
ิ แปรรูป
เริ่มใกล้ ตัว..หน้ าฟาร์ ม...ท้ องถิ่น....เมือง....ส่ งออก
จัดการเหมาะสมตั้งแต่ เกษตรกร....ผู้กระจาย
รณรงค์ หน่ วยงาน บริษัท สถาบันเข้ าร่ วมจัดการ
ผู้ซื้อสะดวก เข้ าถึงง่ าย ประหยัดเวลา
จนท.ลดบทบาท
เกษตรกรและกลุ่มได้ ประโยชน์ ไม่ ใช่ ปัจเจก ธุรกิจใหญ่
21
ผู้บริโภคสนับสนุนผู้ผลิต CSA
การจัดการตลาดในระบบสมาชิกกล่องผัก
ร ะ บ บ ส ม า ชิ ก ก ล่ อ ง ผั ก ห รื อ ร ะ บ บ ซี เ อ ส เ อ ( CSA
:Community Supported Agriculture)
เป็ นระบบที่ม่ ุงเน้ นการสร้ างความสั มพันธ์ ระหว่ างผู้ผลิต
และผู้ บริ โภคโดยมีการตกลงกันล่ วงหน้ าและแผนการ
ผลิต ร่ ว มกัน โดยผู้ บ ริ โ ภคที่ ส มั ค รเป็ นสมาชิ ก อาจต้ อ ง
จ่ ายเงินล่ วงหน้ าเพื่อเป็ นเงินทุนในการผลิต ซึ่ งผู้บริ โภค
จะได้ รับผลผลิตซึ่ งจะเป็ นผักสด ผลไม้ ตามฤดูกาลเป็ น
การตอบแทนในแต่ ละสั ปดาห์
รายการชุดผัก
•
•
•
•
•
•
•
•
ชุดแกงจืด
ชุดผัดผัก
ชุดแกงส้ม
ชุดแกงเลียง
ชุดแกงอ่อม
ชุดแกงป่ า
ชุดแกงเขียวหวาน
ชุดแกงเผ็ด
•
•
•
•
•
•
•
•
ชุดแกงเปรอะ
ชุดต้มยา
ชุดน้าพริก
ชุดส้มตา
ยาผัก
ชุดขนมจีน
ชุดสลัด
ชุดผักตามต้องการ
ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่ อสาร
และการประชาสั มพันธ์
25
เชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่ อสาร
และการประชาสั มพันธ์
สร้ างความเข้ าใจผู้บริโภค สั งคม
รณรงค์ ให้ ทุกฝ่ ายร่ วมรับผิดชอบ ร่ วมหนุน
สร้ างความสั มพันธ์ ผูกพันผู้ผลิต ผู้บริโภค
ปชส.หลายช่ องทาง หลายวิธีการ เหมาะและเจาะกลุ่มเป้าหมายได้
สื่ อสารต่ อเนื่อง
ส่ งเสริมให้ เห็นคุณค่ าของผู้ผลิต ชุ มชน
สิ นค้ า ผลิตภัณฑ์
26
แนวทางการดาเนินงาน GC.
เชื่ อมโยงกับโครงการ บริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ
วิเคราะห์ พนื้ ที่ โครงการ สมาร์ ทฟาร์ มเมอร์
เริ่มต้ นจากพืน
้ ทีท่ สี่ ามารถบูรณาการได้ (หมู่บ้าน ตาบล
อาเภอ)
มีความพร้ อมในการพัฒนาสิ นค้ าเกษตรที่สาคัญ
สู่ กระบวนการผลิต ปลอดภัย ผลผลิตดีมีคุณภาพ เพิม
่
มูลค่ า แปรรูป ใช้ เทคโนโลยีเ่ ป็ นมิตรต่ อสิ่ งแวดล้ อม
27
แล้ วเราจะเริ่มกัน
อย่ างไร?????
28
แนวคิด
การพัฒนาของ
พระบาทสมเด็จ
พระเจ ้าอยูห
่ วั
1. ภูมิสงั คม
การพัฒนาจะต้ องคานึงถึงความสอดคล้ องกับสภาพความ
เป็ นอยู่ ภูมิประเทศ และสภาพทางสั งคมวิทยาของชุมชนนั้นๆ
2. ทางานแบบบูรณาการ
ทรงเน้นการสร้างความรู ้ รัก สามัคคีและการร่วมมือ
ร่วมแรง ร่วมใจกัน ด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงาน
ที่เกีย่ วข้อง ที่มกั จะต่างคนต่างทาและยึดติด
กับการเป็ นเจ้าของเป็ นสาคัญ
3. พัฒนาและอนุรกั ษ์ทรัพยากรอย่างยังยื
่ น
การขับเคลือ่ นต้ องทาทุกระบบ
ระบบการเรียนรู้ และฐานข้ อมูล
ระบบมาตรฐานความปลอดภัย
ระบบการผลิตและ
ระบบการจัดการกลุ่ม เครือข่ าย
ระบบการกระจายสิ นค้ า
ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค สื่ อสารและประชาสั มพันธ์
จึงต้ องหาภาคี และสร้ างเครือข่ าย
33
การขับเคลือ่ น
เมืองเกษตรสี เขียว
เกีย่ วข้ องกับ
หลายเรื่อง หลายระดับ
จักรวาล
โลก
ภูมภิ าค กลุ่มประเทศ
ภาค ประเทศ
อาเภอ จังหวัด กลุ่มจังหวัด
ระดับหมู่บ้าน ภูมนิ ิเวศ
องค์ กร เครือข่ าย
กลุ่มพวกญาติ
ครอบครั วเกษตรกร
เกษตรกร
ปั จจัยที่เกี่ยวข้ องต้ องเชื่อมโยงหลายระดับ
ระดับครั วเรื อน
ระดับชุมชนหมู่บ้าน
•เกษตรผสมผสาน ประมง ยั่งยืน
•หัตถกรรมครั วเรื อน
•แปรรู ปผลิตภัณฑ์
•เพิ่มมูลค่ า ด้ วยคุณค่ า
•องค์ กรชาวบ้ าน
•กิจกรรมกลุ่ม สตรี เยาวชน
•ทุนหมุนเวียน
•วิสาหกิจชุมชน
การพึ่งตนเอง
ของชาวบ้ าน
ระดับท้ องถิ่น
•รั กษานิเวศ ทรั พยากรธรรมชาติ
•เครื อข่ ายชาวบ้ าน ภาคี
•การเรี ยนรู้ เท่ าทันการเปลี่ยนแปลง
•ตลาด การจัดการ
•สร้ างความร่ วมมือประสานภาคี
ขยายเครือข่ าย
เชื่อมโยง
ระดับเครือข่ าย
•วัตถุประสงค์ร่วม
ระดับกลุ่ม
ชุมชน
•ทาความเข้ าใจตระหนัก
กิจกรรมสนองสมาชิกส่ วนร่ วม
ขยายกิจกรรม
ตรวจตรา
ทาแผนดาเนินการ การตลาด
•สร้ างแกนนา
•กฎระเบียบดูแลนา้ ป่ าทรัพยากร
•กรรมการ
•ดูแล ใช้ ถูกวิธี
ลดละเลิกการทาลาย
รักษาความอุดมสมบูรณ์
การจัดการ
ระดับครัวเรือน
•ระบบผลิตยัง่ ยืน การเพิม่ มูลค่า
•ใช้ อย่ างรู้คุณค่า
•รักษาความหลากหลาย
รู ปแบบการจัดการระดับต่ างๆ
พลังพร้ อม
ขับเคลือ่ น
พลังเกษตรกร
พลังหน่ วยงาน
มีภม
ู ิปัญญา วัฒนธรรม
มีบุคลากรรั บผิดชอบระดับพืน
้ ที่
มีต้นแบบรู ปธรรมตัวอย่ าง
เจ้ าหน้ าที่หลายส่ วนเป็ นคนรุ่ น
มีศูนย์ เรี ยนรู้ ท่ ด
ี ี
ใหม่ มีพลัง
มีช่องทางสื่อสารใหม่ ๆ
มีหน่ วยงานองค์ กรวิจัย พัฒนา
ส่ งเสริมกระจายทุกพืน้ ที่
มีตัวอย่ างการทางานที่ดี
มีทรั พยากร
มีกลุ่ม มีเครื อข่ าย
ยังพอมีทรั พยากรดิน นา้
ป่ า ความหลากหลายเป็ น
ทุน
พลังสังคม
มีภาคี หน่ วยงาน รั ฐ เอกชน ประชาชนหลายหลาย
ทางานด้ านเกษตรและอาหาร
ผู้บริ โภคต้ องการอาหารดี มีคุณภาพ แสวงหาทางเลือก
ภาคสื่อเป็ นช่ องทางกระตุ้น จุดกระแส ช่ องทางเรี ยนรู้
และเชื่อมต่ อได้
เริ่ มตระหนักความมั่นคงทางอาหาร การถูกผูกขาด
สร้ างเครือข่ าย
ในการขับเคลือ่ น
อาหารปลอดภัย
เครือข่ ายคืออะไร??
การประสานความร่ วมมือ ระหว่ างบุคคล กลุ่ม
และองค์ กรที่มีกจิ กรรมคล้ายคลึงกันและเชื่อมโยง
ขยายผลการทางานไปสู่ กลุ่ม องค์ กรอืน่ ๆเพือ่
เสริมสร้ างพลัง ในการแก้ไขปัญหาโดยผ่ าน
กระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ระหว่ างกัน ที่จะ
นาไปสู่ การปฎิบัติ การเปลีย่ นแปลงตาม
วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายร่ วมกันของทุกฝ่ าย
เครือข่ าย(NETWORK)
NET คือ ตาข่ ายที่โยงใยถึงกัน
และพร้ อมที่จะ WORK
ทางานเมื่อต้ องการใช้ งาน
พืน้ ที่
หลากหลาย
ระดับ
หลาก
หลาย
กลุ่ม
องค์ กร
กิจกรรม
หลัก-ย่อย
หลากหลาย
แน่ น ใจ
เดียวกัน
ถักทอ
ไม่ ใช่ แค่
จับมารวม
รู ปแบบ
เครือข่ าย
•หลายรูปแบบ
•หลายลักษณะ
•หลายระดับ
แต่ มเี ป้ าหมายรวมกัน
และแลกเปลีย่ น
แบ่ งปัน
เนือ้ หา
การก่อตัว
ความจาเป็ นในการสร้ างเครือข่ าย
1. สถานการณ์ ปัญหาและสภาพแวดล้ อม
เกิดปั ญหาซา้ ซ้ อน หลากหลายและขยายตัว
เกินความสามารถของกลุ่ม
2. สร้ างโอกาสและให้ โอกาสในการพัฒนา
ศักยภาพของฝ่ ายต่ างๆ
3. เกิดการประสานผลประโยชน์ อย่ างเท่ าเทียม
องค์ประกอบของเครื อข่าย
1. สมาชิกของเครื อข่ าย
2. มีจุดมุ่งหมายร่ วมกัน
3. การทาหน้ าที่ต่อกันของสมาชิกอย่ างมีจติ สานึก
4. การมีส่วนร่ วมในกิจกรรมและการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
5. การมีปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสารร่ วมกัน
6. กระบวนการเสริมสร้ างซึ่งกันและกัน
7. ความเท่ าเทียมของฝ่ ายต่ างๆ
8. การแบ่ งปั นผลประโยชน์ ท่ เี กิดจากการทางานร่ วมกัน
เป็ นเครื อข่ายแล้วได้อะไร???
1. เกิดกระบวนการเรียนรู้
2. การเพิ่มโอกาสในการแก้ ไขปั ญหา
3. เกิดการพึ่งพาตนเอง
4. เกิดการจัดการทรัพยากรในท้ องถิ่น
5. เกิดกระบวนการผลักดันเชิงนโยบาย
6. เกิดพลังอานาจในการต่ อรอง
วิธีการสร้ างเครือข่ าย
o พบปะกัน
คุยกัน
o กาหนดเป้าหมายร่ วมกัน
o ออกแบบ วางแผนร่ วม
o สร้ างข้ อตกลงร่ วม
o ช่ วยกันทา ช่ วยกันกากับ ติดตาม ประเมิน
o มีผ้ ูประสาน ฯลฯ
48
กระบวนการทางานของเครื อข่าย
1. กระบวนการทางานที่เชื่อมประสานจากจุดเล็กและ
ขยายไปสู่หน่ วยใหญ่
- หาแนวร่ วม
- ประสานความร่ วมมือ
- สร้ างความพร้ อมในเรื่ องข้ อมูล การจัดการ
และแนวร่ วมที่หลากหลาย
- รั กษาพันธกรณี ความสัมพันธ์ และการสื่อสารที่เป็ น
ระบบเพื่อให้ เครื อข่ ายมีการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
กระบวนการทางานของเครื อข่าย
2. การรักษาสัมพันธภาพที่สร้ างความรู้ ความหมาย และโลก
ทัศน์ ร่วมกัน
- การสื่อสารระหว่ างสมาชิกและภาคีเพื่อให้ ฝ่ายต่ างๆ ได้
มีโอกาสเรียนรู้และทางานร่ วมกัน
3. การเสริมสร้ างกระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวเข้ าหา
กัน ทัง้ แนวคิดและวิธีปฏิบัติ โดยใช้ เทคนิควิธีการต่ างๆ
เช่ น การดูงาน การฝึ กอบรม การพัฒนาผู้นา การถอด
บทเรียนร่ วมกัน
4. การพัฒนากิจกรรมและการเคลื่อนไหวทางสังคม เช่ น
การกาหนดนโยบาย มาตรการทางกฎหมาย ฯลฯ
โครงการการเพิม่ ศักยภาพชุมชน
ด้ านเกษตรปลอดภัยด้ วย
กระบวนการเรียนรู้ ผ่าน ICT
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช ภาคี และ สสส.
51
วัตถุประสงค์
1.ส่ งเสริมการเรียนรู้ ของกลุ่มเกษตรกรให้ ลดต้ นทุน เพิม่ คุณภาพและ
ได้ มาตรฐานความปลอดภัย บริหารจัดการกลุ่มให้ เข้ มแข็งด้ วยการ
เรียนรู้ ผ่าน ICT
2 ส่ งเสริมให้ กลุ่มเกษตรกรและกลุ่มผู้บริโภคติดต่ อซื้อขายผลผลิต
ปลอดภัยผ่ านระบบธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ (e-transactions) โดย
ไม่ ต้องอาศัยคนกลาง
3.สนับสนุนการขยายตลาดและการเข้ าถึงผลผลิตปลอดภัยโดยอาศัย
บริษทั ไปรษณีย์ไทยจากัด เป็ นตัวกลาง
4.เชื่อมโยงห่ วงโซ่ อุปทานจากต้ นนา้ ถึงปลายนา้ สามารถตรวจสอบ
ย้ อนกลับถึงแหล่ งผลิตได้
52
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
๑.มีภาคีความร่ วมมือมีการเชื่อมโยงความรู้ ความเชี่ยวชาญ
ประสบการณ์ นามาพัฒนาต่ อยอดและบูรณาการงานร่ วมกัน
๒.ได้ ต้นแบบกลุ่มเกษตรกรทีส่ ามารถบริหารจัดการด้ านการ
ผลิต การตลาดและการบริหารจัดการเกษตรปลอดภัยสู่ ผ้ ูบริโภค
โดยตรง
๓.ได้ ใช้ ศักยภาพของบุคคลากร เครื่องมือ ความรู้ การสื่ อสาร
ทีม่ อี ยู่จากหน่ วยงาน/องค์ กรทีม่ ภี ารกิจโดยตรงเกิดประโยชน์ เต็ม
ศักยภาพ
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ (ต่ อ)
๔.มีฐานข้ อมูลผู้ผลิตและผู้บริโภคสิ นค้ าเกษตรปลอดภัยซึ่ง
จะเกิดความเชื่อมโยงและประสานงานร่ วมกัน อันนาไปสู่สุข
ภาวะทีด่ ตี ่ อไป
๕.สร้ างนวัตกรรมการเรียนรู้ ทมี่ ปี ระสิ ทธิภาพและขยายได้
อย่ างรวดเร็ว ทาให้ มคี วามพร้ อมรับการเปลีย่ นแปลงของโลก
โดยเฉพาะในประชาคมกลุ่มอาเซียน
๖.เกิดองค์ เชื่อมโยงประสานงานที่เป็ นอิสระ ไม่ ยดึ ติดพันธกิจ
หน่ วยงาน ในการขับเคลือ่ นงานต่ อไปในอนาคต
มีการเรียนรู้ การดารงชีวติ ตามวิถี
เกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ตามความสมัครใจ
ชื่อหลักสูตร
การดารงชีวิตตามวิถีเกษตรปลอดภัย เกษตร
อินทรีย์
ชื่อวุฒบ
ิ ัตร
วุฒบิ ัตร การดารงชีวิตตามวิถีเกษตรปลอดภัย
เกษตรอินทรีย์
55
ข้ อจากัดและปัญหาการพัฒนาเกษตรกรที่ผ่านมา
งบไม่ เพียงพอ
สถานการณ์ เปลี่ยนแปลงเร็ ว
ต้ องการความรู้ ท่ ห
ี ลากหลาย
ไม่ มีบุคลากรที่เก่ งๆไปสอน
อบรมได้ ไม่ ต่อเนื่อง
จะใช้ ศักยภาพของผู้ร้ ู ท้องถิ่นอย่ างไร
ข้ อจากัดและปัญหาการพัฒนาเกษตรกรกรที่ผ่านมา
ไม่ เห็นของจริ งเน้ นแต่ บรรยาย
บรรยากาศการเรี ยนรู้ น่าเบื่อ เรี ยนรู้ ไม่ เป็ นระบบ
เปลี่ยนทัศนะผู้เรี ยนไม่ ได้
ผู้เรี ยนไม่ มีแรงจูงใจ
ผู้เรี ยนรู้ จัดการเองไม่ ได้
ขาดการเชื่อมโยงระหว่ างนักวิชาการในสถาบันศึกษา
นักพัฒนา และผู้เรี ยน
ข้ อจากัดและปัญหาการพัฒนาเกษตรกรกรที่ผ่านมา
เชื่อมการอบรมกับการปฏิบัตจ
ิ ริงและวิถีชวี ิตไม่ ได้
เจ้ าหน้ าที่ขาดทักษะ ขาดสื่อช่ วย ไม่ ร้ ู จะหาที่ไหน
บุคคลเป้าหมายจานวนมากจัดได้ ไม่ ท่ วั ถึง ไม่ ทน
ั
ตามกาหนด
หน่ วยงานไม่ ร้ ู จะบูรณาการกันอย่ างไร ซา้ ซ้ อน
ผลจัดการขาดประสิทธิภาพ ไม่ เกิดประสิทธิผล
เชื่อมโยงสู่การพัฒนากลุ่ม ชุมชน สังคมไม่ ได้ ฯลฯ
วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร
เพื่อให้ ผ้ ูเรี ยนเข้ าใจและสามารถอธิบายหลัก แนวคิดเกษตรปลอดภัย
เกษตรอินทรีย์ และระบุคุณค่ า ความสาคัญ ประโยชน์ ได้
เพื่อให้ ผ้ ูเรี ยนรู้ เท่ าทันการเปลี่ยนแปลง รู้ จักคิด วิเคราะห์ เชื่อมโยง
อย่ างเป็ นระบบได้
เพื่อให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถบอกถึงความตัง้ ใจ และความคาดหวังที่จะ
ประพฤติปฏิบัตติ น ในวิถีเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์และนา
แผนการดาเนินชีวิตของตน ครอบครัว กลุ่ม และชุมชนไปปฏิบัตไิ ด้
เพื่อให้ ผ้ ูเรี ยนเกิดความภาคภูมิใจ มั่นใจ และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู้ การบูรณาการร่ วมกันขององค์ กรภาคีต่าง ๆ
ในการขับเคลื่อน
59
ระบบการเรียนรู้ และกาหนดเวลาการเรียนรู้
แบ่ งเป็ น 2 ช่ วงโดยมีลักษณะดังนี ้
ช่ วงระยะที่ 1 ระยะการเข้ าใจ เนือ้ หา อย่ างน้ อย 4 สัปดาห์ ( 1
เดือน) สัปดาห์ ละ1 วัน วันละ 3 ชั่วโมง รวม 4 วัน 12 ชั่วโมง เพื่อ
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และสรุ ปบทเรี ยนร่ วมกัน
ช่ วงระยะที่ 2 ระยะการเข้ าถึงและพัฒนา โดยการปฏิบัตกิ ารจริง
20 สัปดาห์ (5 เดือน)
1. การทากิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเองและครัวเรื อน
2. การเรี ยนรู้ เสริมจากการพูดคุย ศึกษาดูงาน (ถ้ ามี)
3.การเรี ยนรู้ โดยกระบวนการกลุ่มในการพูดคุย สรุ ป วิเคราะห์
สรุ ปบทเรี ยน
60
1.ใช้ ชุดสื่ อวีดที ศั น์ สื่อ On lineเป็ นเครื่องมือ
หลักในการเรียนรู้
การใช้ ชุดสื่ อวีดที ศั น์ เพราะอะไร?
1.
2.
3.
4.
5
6
ต้ นทุนจัดการตา่ แต่ ให้ ผลสั มฤทธิ์สูง
ไม่ ต้องเสี ยเวลาเดินทางไปเรียนในสถานที่ห่างไกล
ใช้ วทิ ยากรกระบวนการจากคนในแต่ ละหมู่บ้านได้
กาหนดตารางเวลา สถานที่เรียนที่เหมาะสมร่ วมกันได้
ไม่ กระทบต่ อวิถีการทามาหากิน
เรียนรู้ ร่วมกันอย่ างต่ อเนื่องเป็ นหลักสู ตรระยะยาว และได้ ความรู้
ครบถ้ วน
ไม่ มีข้อติดขัดด้ านตัวผู้สอนหรือวิทยากรเก่ ง ๆ ทีจ่ ะมีปัญหาในการ
เดินทางไปสอน
2. เน้ นการเรียนรู้ จากการลงมือประพฤติปฎิบัติ
การเรียนรู้ จากการลงมือประพฤติปฎิบัติ
อาศัยประเด็นปัญหาแต่ ละครอบครัว
แต่ ละชุมชนท้ องถิน่
เป็ นโจทย์
เรียนรู้ และแก้ ปัญหาผ่ านทางการทาโครงงานต่ าง ๆ
เน้ นผู้เรียนเป็ นศู นย์ กลาง
สามารถรองรับกลุ่มคนซึ่งมีพน
ื้ ฐานการศึกษาอันแตกต่ าง
หลากหลาย
สร้ าง “ระเบียบวินัยของการเรียนรู้ ” (discipline) ผ่ านการให้
ใบ “วุฒบิ ัตร
การเรียนรู้ ร่วมกันเป็ นกลุ่มเกิดอะไร?
การแลกเปลีย่ น วิเคราะห์ เกิดมุมมองทีห่ ลากหลาย
นาไปสู่ การรวมกลุ่มของคนทีม
่ ฐี านความรู้ความเข้ าใจ (ทิฎฐิ ) ที่ใกล้เคียงกัน
เกิด
การพึง่ พาช่ วยเหลือเกือ
้ กูลกันด้านการผลิต
การบริโภค การจัดการ
ทรัพยากร สิ่ งแวดล้อม
มิตรดี สหายดี สภาพสั งคมสิ่ งแวดล้ อมที่ด”ี ซึ่งเอือ้ ต่อการ
มี “
เสริมสร้ างความเจริญงอกงาม
การสร้ าง
ความเข้ มแข็งของชุมชนท้องถิ่น
4.เป็ นการเรียนรู้ และพัฒนาการอย่ างเป็ นขั้นตอน
บ ันได 3 ขนของการพ
ั้
ัฒนาด้านอาหาร
ปลอดภ ัย อินทรีย ์ (เอ็นนู ซอื่ สุวรรณ)
กิน
อโรคา
กินอร่ อย
กินอิ่ม
สร้ าง
มีประโยชน์
ข้ าวสวย
สุขภาพดี (พร้ อมบริโภค) สุขภาพ
เอือ้ เฟื ้ อ
แบ่ งปั น
พออยู่พอกิน
ข้ าวสาร
(พร้ อมปรุ ง)
ข้ าวเปลือก
(พร้ อมแปรรูป)
ปลอดภัย
สารพิษ
เพียงพอ
ไม่ ขาดแคลน
อาหาร
สุขภาพ
อาหาร
ปลอดภัย
อาหาร
มั่นคง
หลักสูตรการเรียนรู้
หมวดวิชาการจัดการเรี ยนรู้ และฐานข้ อมูล
(รหัส 01)
หมวดวิชามาตรฐานความปลอดภัยของผลผลิตทาง
การเกษตร (รหัส 02)
หมวดวิชาการผลิตและการจัดการกลุ่ม (รหัส 03)
หมวดวิชาการกระจายสินค้ า (รหัส 04)
หมวดวิชาการเชื่อมโยงผู้บริ โภค (รหัส 05)
หมวดวิชาการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (รหัส 06)
หมวดวิชาเสริ มและสาระบันเทิง (รหัส 07)
69
การสนับสนุนให้ ชุมชน
ชุดสื่อ VCD
1ชุดต่ อกลุ่ม
คู่มือ สมุดบันทึก เอกสารกรณีตวั อย่ างชุมชนต่ างๆ
การร่ วมสัมมนา กับชุมชนต่ างๆ การแลกเปลี่ยน เรี ยนรู้ ดูงาน
วุฒบ
ิ ตั รผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร จากมหาวิทยาลัยและหน่ าย
งานภาคี(สาหรับกลุ่มสมัครเรี ยนรู้ เป้นหลักสูตร)
การฝึ กอบรมเฉพาะกิจ ทา WEB การถ่ ายทาสื่อด้ วยตนเอง
การกาหนดมาตรฐานแบบมีส่วนร่ วม
70
ร่ วมวิเคราะห์ ในกระบวนการจัดการ เป็ นอยู่อย่ างไร จะพัฒนาอะไร
อย่ างไร ใครเกีย่ วข้ อง
ขาย
ผลิต
ร่ วม
จัดการ
Green
City
เรียนรู้ พัฒนาการผลิต เพิม่ มูลค่ า แปรรูป ลดมลพิษ
รวมกลุ่ม สร้ างเครือข่ าย จัดการตลาดหลากหลาย
ติดต่ อโครงการเกษตรปลอดภัย มสธ.
สานักงานโครงการ
02 5048083
รศ.ดร.เบญจมาศ อยู่ประเสริ ฐ
081 266 2434
รศ. บาเพ็ญ เขียวหวาน
081 8678270
72