แนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุข

Download Report

Transcript แนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุข

แนวทางในการป้องกันและแก้ ไข
ปั ญหาสาธารณสุข
สุวสั สา เพ็งสี แสง
สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
คณะวิทยาศาสาตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ปั ญหาสาธารณสุข
1. ผู้รับบริการ
◦ มีมาก กระจาย รับบริการได้ ไม่ทวั่ ถึง
การเสียชีวิตด้ วยโรคที่ป้องกันได้ เพิ่มขึ ้น
 ประชาชนมีอายุยืนยาว
 อัตราการเกิดลดลง

ปั ญหาสาธารณสุข
2. ผู้ให้ บริการ
 ไม่กระจาย
 ไม่ทวั่ ถึง
 ไม่เพียงพอ
 ไม่เชี่ยวชาญ ในเรื่ องที่จาเป็ น
 รักษาเฉพาะด้ าน ไม่เป็ นองค์รวม
ปั ญหาสาธารณสุข
3. กระบวนการผลิตบุคลากรทางสาธารณสุข
 มีการผลิต บุคลากรได้ ไม่ตรงสายงานด้ านที่มีความต้ องการใน
ประเทศ
 กระบวนการผลิตไม่เน้ นกระบวนการ เข้ าใจ เข้ าถึงผู้รับบริ การ
 ผู้จบการศึกษาไม่มีความต้ องการทางานในพื ้นที่ยากลาบาก
ปั ญหาสาธารณสุข

ปั ญหาสาธารณสุขในชนบท
การดาเนินงานป้องกัน ควบคุม
o ระดับ 1 ระดับเฉพาะตัวบุคคล
oฉี ดวัคซี น
o ระดับ 2 ระดับชุมชนในท้องถิ่น
oป้ องกันโรคติดต่อในชุมชน เท้าช้าง คอตีบ
o ระดับ 3 ระดับชาติ
oไข้เลือดออก กามโรค
o ระดับ 4 ระดับนานาชาติ หรื อระดับโลก
oอหิ วาตกโรค ไข้หวัดใหญ่
มาตรการป้องกันควบคุม
1.
2.
มาตรการหลัก หรื อ มาตรการเฉพาะโรค
มาตรการรอง หรื อ มาตรการสนับสนุน
มาตรการป้องกันควบคุม
ปัญหาสาธารณสุ ข
อุบตั ิเหตุ
มาตรการหลัก
การป้ องกันการเกิดโรค การป้ องกันความพิการและเสี ยชี วติ
ให้ การศึกษา
ยกระดับเศรษฐกิจและสั งคม
โรคอุจจาระร่ วงในเด็ก ปรับปรุ งสุ ขาภิบาล สวล.
จัดหานา้ สะอาด
กาจัดของเสี ย สิ่ งปฏิกูล
ยกระดับสุ ขวิทยาบุคคล และ
ชุ มชน
โรคคอตีบ
ฉีดวัคซีน
ปฐมพยาบาลขั้นต้ น
รักษาป้ องกันความพิการ
รักษาอาการขาดนา้ เกลือแร่ ทางเส้ นเลือด
การกิน
ป้ องกัน รักษาโรคแทรกซ้ อนและการขาด
สารอาหาร
รักษาโดยยาปฏิชีวนะ
แนวทางแก้ ปัญหา
1. การมีส่วนร่ วมของชุ มชน (People Participation = P.P หรื อ
Community Participation, Community Involvement = C.I)
การเตรี ยมเจ้าหน้าที่
เตรี ยมชุมชน
การฝึ กอบรม
การติดตามดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้ประชาชนในหมู่บา้ น
ได้รู้สึกเป็ นเจ้าของและเข้ามาร่ วมช่วยเหลืองานด้านสาธารณสุ ข
ทั้งด้านกาลังคน กาลังเงิน และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
แนวทางแก้ ปัญหา
ประชาชนในชุมชนนั้นเป็ นผูต้ ระหนักถึงปัญหาของชุมชนของ
ตนเป็ นอย่างดี
 เป็ นผูก้ าหนดปั ญหาสาธารณสุ ขของชุมชนนั้นเอง
 เป็ นผูว้ ิเคราะห์ปัญหา ตลอดจนแนวทางแก้ไขปั ญหาของชุมชน
 ชุมชนมีความสามารถในการแยกแยะได้วา่ วิธีการแก้ปัญหาใด
ประชาชนในชุมชนสามารถแก้ไขได้
่ อกเหนือความสามารถของชุมชน ให้เจ้าหน้าที่ของ
 วิธีการใดอยูน
รัฐ บุคคลหรื อองค์กรภายนอกเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหา

แนวทางแก้ ปัญหา

รู ปแบบการมีส่วนร่ วมของประชาชนมีได้หลายรู ปแบบ ได้แก่
- การสารวจและใช้ผลการสารวจความจาเป็ นพื้นฐาน (จปฐ.)
- การจัดตั้งกองทุนหมุนเวียนในหมู่บา้ นเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุ ข
- การจัดตั้งศูนย์สาธารณสุ ขมูลฐานชุมชน (ศสมช.)
- การคัดเลือกและฝึ กอบรม อสม.
แนวทางแก้ ปัญหา
2. การใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology = AT)
เป็ นเทคนิควิธีการที่ง่ายไม่ซบั ซ้อน ยุง่ ยาก เหมาะสมกับแต่
ละสภาพท้องถิ่นและประชาชนสามารถปฏิบตั ิได้
แนวทางแก้ ปัญหา
เช่น
 การทาระบบประปาด้วยปล้องไม้ไผ่ การใช้สมุนไพรในชุมชน
 การใช้ระบบการนวดไทยเพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อย
 อาจเป็ นภูมิความรู ้ด้ งั เดิมในชุมชน ที่ชุมชนมีการถ่ายทอดในการ
แก้ไขปัญหาสาธารณสุ ขของตนเองมาเป็ นเวลาช้านานแล้ว เช่น
 การใช้ยาหรื อแพทย์แผนไทยในการรักษาพยาบาลโรคบางอย่าง
หรื อการนวดไทย
แนวทางแก้ ปัญหา
ภูมิความรู ้ใหม่ที่ชุมชนได้เรี ยนรู ้เพิ่มเติมว่าเหมาะสมกับชุมชนใน
การแก้ปัญหา เช่น
 การใช้อาหารเสริ มในการแก้ไขปั ญหาโภชนาการ การจัดทาโอ่ง
น้ าเพื่อเก็บน้ าสะอาด
 การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีระหว่างหมู่บา้ น หรื อ TVDV
(Technology cooperation among developing villages)
 จะทาให้ขบวนการเรี ยนรู ้เป็ นไปโดยกว้างขวาง รวดเร็ ว
ั ประชาชนในการแก้ไขปัญหาที่ประชาชน
 เป็ นประโยชน์กบ
สามารถปฏิบตั ิได้

แนวทางแก้ ปัญหา

3. มีการปรับระบบบริการพืน้ ฐานของรัฐเพือ่ รองรับการ
สาธารณสุ ขมูลฐาน (Reoriented Basic Health Service = BHS)
หรื อ Health Infrastructure ระบบบริ การของรัฐ และระบบ
บริ หารจัดการที่มีอยูแ่ ล้วของรัฐ จะต้องปรับให้เชื่อมต่อและ
รองรับงานสาธารณสุ ขมูลฐานด้วย มีความมุ่งหมาย คือ
3.1 ต้องการให้เกิดการกระจายการครอบคลุมบริ การให้ทวั่ ไป
(Coverage)
3.2 การกระจายทรัพยากรลงสู่มวลชน (Resource Mobilization)
3.3 การจัดระบบส่ งต่อผูป้ ่ วยที่มีประสิ ทธิภาพ (Referal System)
แนวทางแก้ ปัญหา

โครงการต่าง ๆ ที่สาคัญ คือ
- โครงการบัตรสุ ขภาพ
- โครงการพัฒนาระบบบริ การของสถานบริ การและหน่วยงาน
สาธารณสุ ขในส่ วนภูมิภาค (พบส.)
- คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุ ขระดับอาเภอ (คปสอ.)
แนวทางแก้ ปัญหา
เพื่อให้ประชาชนสามารถที่จะเข้าถึงบริ การที่มีคุณภาพได้
 สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่ วมได้อย่างแท้จริ ง
 มีการดาเนิ นงานในทุกระดับ ตั้งแต่สถานี อนามัย โรงพยาบาล
ชุมชน โรงพยาบาลทัว่ ไป/โรงพยาบาลศูนย์
 รวมทั้งสถานบริ การเฉพาะทางต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนได้รับ
บริ การอย่างทัว่ ถึงเป็ นธรรม และได้รับการส่ งต่อเพื่อดูแลอย่าง
ต่อเนื่องเมื่อมีความจาเป็ น

แนวทางแก้ ปัญหา
4. การผสมผสานกับงานของกระทรวงอืน่ ๆ (Intersectoral
Collaboration = IC)
 การประสานเพื่อให้หน่วยงานอื่นทางานในความรับผิดชอบของ
หน่วยงานนั้น ๆ
 ส่ งเสริ มหรื อสอดคล้องกับการพัฒนาด้านสุ ขภาพ
 ไม่ใช่ขอให้บุคลากรของหน่วยงานอื่นมาร่ วมกันปฏิบตั ิงานภาค
สาธารณสุ ข
แนวทางแก้ ปัญหา
ปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้การประสานงานระหว่างสาขาเป็ นไป
อย่างได้ผล คือ
 ความสามารถในการวิเคราะห์ ว่า การดาเนิ นงานเรื่ องอะไร ของ
หน่วยงานใดจะมีส่วนในการส่ งเสริ มการมีสุขภาพดี เช่น
การศึกษา การเกษตร การปรับปรุ งด้านสิ่ งแวดล้อม การส่ งเสริ ม
บทบาทขององค์กรชุมชน ฯลฯ
 การประสานความร่ วมมือ ต้องดาเนิ นการในหลายระดับ แต่ที่
สาคัญนั้นหากสามารถสร้างให้เกิดความร่ วมมือเพื่อแก้ปัญหาใน
ชุมชนเป็ นหลัก โดยให้ชุมชนเป็ นผูก้ าหนดหรื อตัดสิ นใจ ก็จะ
ช่วยให้ความร่ วมมือนั้นชัดเจนและมีประสิ ทธิภาพ


1.
2.
การจัดทายุทธศาสตร์
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ได้
กาหนดขั้นตอนในการดาเนินงาน จานวน 2 ขั้นตอน คือ
การวิเคราะห์สถานการณ์
การกาหนดยุทธศาสตร์
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ สถานการณ์
การวิเคราะห์สถานการณ์ ดาเนินการใน 2 ส่ วน คือ
การจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
2. การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมองค์กรโดยใช้เทคนิ ค SWOT
1.

โดยมีรายละเอียด ดังนี้
การจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
ใช้เทคนิคในการวิเคราะห์และจัดลาดับของปัญหาตาม
แนวทางของกระทรวงสาธารณสุ ข โดยการให้น้ าหนักคะแนน
ใน 4 ประเด็น คือ
 ขนาดของปั ญหา
 ความรุ นแรงของปั ญหา
 ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
 ความยอมรับในการแก้ปัญหาของประชาชน
การวิเคราะห์ สิ่งแวดล้อมขององค์ กร
(Situation Analysis)
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมขององค์กรโดยเทคนิค (SWOT)
 โดย ปั จจัยภายในใช้ทฤษฎี 7’s และปั จจัยภายนอกใช้
ทฤษฎี PEST ของการพัฒนาระบบสุ ขภาพ สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดยุทธศาสตร์
(Making Strategy)
 ยุทธศาสตร์ คือ แผนการปฏิบตั ิที่จดั ระเบียบความพยายามต่างๆ
เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ (Objectves)
 ยุทธศาสตร์ เป็ น กรรมวิธีการแสวงข้อตกลงใจที่ซบ
ั ซ้อน
(complex decisionmaking process) ที่ เชี่อมโยง จุดหมาย
ปลายทาง (ends) ที่ตอ้ งการวัตถุประสงค์ (objectives) ด้วยหนทาง
(ways) และเครื่ องมือ (means) เพื่อให้บรรลุ จุดหมายปลายทาง
(ends)
ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดยุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์
 ประเด็นยุทธศาสตร์
 เป้าประสงค์
 ตัวชี้วด
ั
 ค่ าเป้าหมาย
 กลยุทธ์

กิจกรรม การแก้ ไขปั ญหา
1.ปัญหาด้ านสาธารณสุ ข
 การตายด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ ง และ โรค
หลอดเลือดในสมอง
 อัตราการป่ วยด้วยโรค เบาหวาน ความดันโลหิ ต เพิม
่ สูงขึ้น
 การบาดเจ็บและการตายจากอุบตั ิเหตุจราจรเพิ่มสู งขึ้น
 การติดเชื้อ HIV ในกลุ่มวัยรุ่ นและสตรี มีครรภ์
 การป่ วยด้วยโรคแลปโตสไปโรซี ส เพิ่มสู งขึ้น
 การป่ วยด้วยโรคมือเท้าปาก เพิ่มสู งขึ้น
การเสี่ ยงต่อการอุบตั ิซ้ าด้วยโรค ไข้เลือดออก ไข้มาลาเรี ย โรค
อุจจาระร่ วงอย่างแรง
 การเสี่ ยงต่อการเกิดโรคไข้หวัดนก
 การเสี่ ยงต่อมารดาตายคลอด
 อัตราการรักษาโรควัณโรคปอดขั้นหายขาดต่ากว่าเป้ าหมาย
 สัดส่ วนการใช้บริ การในหน่วยทุติยภูมิและตติยภูมิเพิ่มสู งขึ้น
 จานวนเรื่ องร้องเรี ยนตามมาตรา 41 เพิ่มสู งขึ้น
 โรงพยาบาลชุมชนไม่ได้ผา่ นการรับรองคุณภาพ

2. ปัญหาการจัดบริการ
 สัดส่ วนผูร้ ับบริ การในระดับทุติยภูมิเพิ่มสู งขึ้น ปี 2547 – 2551 7%
3. ปัญหาด้ านทรัพยากร งบประมาณ
 ขาดบุคลากร ด้านแพทย์ ทันตแพทย์
 ขาดบุคลากรในหน่วยบริ การปฐมภูมิ อัตรากาลังไม่เพิ่มแต่ภารกิจด้าน
การบริ การในหน่วยปฐมภูมิเพิ่มมากขึ้น สิ ทธิประโยชน์ของ
ประชาชนในโครงการหลักประกันสุ ขภาพเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งการ
ประสานการพัฒนาร่ วมกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
 ขาดงบประมาณสาหรับดาเนิ นงานของหน่วยบริ หาร คือสางาน
สาธารณสุ ขจังหวัด
The End