เครื่องหมายการค้า

Download Report

Transcript เครื่องหมายการค้า

กฎหมายเครื่องหมายการค้า
ตุล เมฆยงค์
รองอธิบดีผพู้ ิ พากษาศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้า
ระหว่างประเทศกลาง
ตัวอย่างเครื่ องหมายการค้า
ตัวอย่างเครื่ องหมายการค้า
ตัวอย่างเครื่ องหมายบริ การ
ตัวอย่างเครื่ องหมายบริ การ
ตัวอย่างเครื่ องหมายรับรอง
ตัวอย่างเครื่ องหมายร่ วม
ตัวอย่างเครื่ องหมายในประเทศเปรี ยบเทียบกับ
เครื่ องหมายในต่างประเทศ
ตัวอย่างเครื่ องหมายในประเทศเปรี ยบเทียบกับ
เครื่ องหมายในต่างประเทศ
เครือ่ งหมายการค้า : เครือ่ งหมายทีใ่ ช้ หรือจะใช้เป็ นทีห่ มายหรือ
เกีย่ วข้องกับสินค้า เพือ่ แสดงว่าสินค้าทีใ่ ช้เครือ่ งหมายการค้าของ
เจ้าของเครือ่ งหมายการค้านัน้ แตกต่างกับสินค้าทีใ่ ช้เครื่องหมาย
การค้าของบุคคลอื่น
ข้อสังเกต
- เครือ่ งหมายการค้าต้องเป็ นเครือ่ งหมายตามบทนิยามใน พ.ร.บ.ฯ
- เครือ่ งหมายการค้าต้องเป็ นสิง่ ทีส่ มั ผัสได้ทางสายตาเป็ นสาคัญ ส่วน
เสียงหรือกลิน่ ตามกฎหมายไทยปจั จุบนั ยังไม่ถอื เป็ นเครือ่ งหมาย
หน้ าที่หรือวัตถุประสงค์ของเครื่องหมายการค้า




เพือ่ จาแนกหรือแยกให้เห็นว่าสินค้าทีใ่ ช้เครือ่ งหมายการค้านัน้
แตกต่างจากสินค้าของผูอ้ ่นื
เพือ่ บ่งบอกให้สาธารณชนได้รวู้ า่ สินค้าทีใ่ ช้เครือ่ งหมายการค้านัน้
เป็ นสินค้าของผูใ้ ด
เพือ่ มีผลให้สาธารณชนได้คาดเห็นถึงคุณภาพของสินค้า
เพือ่ ผลในการส่งเสริมการขายหรือการประชาสัมพันธ์สนิ ค้า
การได้มาซึ่งสิทธิในเครื่องหมายการค้า
การได้มาซึง่ สิทธิในเครือ่ งหมายการค้ามี ๒ ลักษณะ
 การได้มาโดยการใช้ - การนาเครือ่ งหมายการค้าไปใช้กบ
ั
สินค้าหรือได้มกี ารโฆษณาโดยใช้เครือ่ งหมายการค้าให้เป็ นที่
ประจักษ์แก่สาธารณชน
 การได้มาโดยการจดทะเบียน
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการใช้เครื่องหมายการค้า
 เจ้าของเครือ่ งหมายการค้า
 สาธารณชนผูบ้ ริโภค
 บุคคลผูส้ จุ ริต
 เจ้าพนักงานของรัฐ (นายทะเบียนเครือ่ งหมายการค้า และ
คณะกรรมการเครือ่ งหมายการค้า)
การจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้า
 ลักษณะของเครื่องหมายการค้าที่พึงรับจดทะเบียนได้ (ม.๖)
(๑) เป็ นเครือ่ งหมายการค้าทีม่ ลี กั ษณะบ่งเฉพาะ
(๒) เป็ นเครือ่ งหมายการค้าทีไ่ ม่มลี กั ษณะต้องห้าม (ม.๘)
(๓) ไม่เป็ นเครือ่ งหมายการค้าทีเ่ หมือนหรือคล้ายกับเครือ่ งหมาย
การค้าทีบ่ ุคคลอื่นได้จดทะเบียนไว้แล้ว (หมายถึงจดทะเบียนใน
ประเทศไทย)
ลักษณะบ่งเฉพาะ : (มาตรา ๗) ลักษณะทีท่ าให้ประชาชน
ทราบและเข้าใจได้วา่ สินค้าทีใ่ ช้เครือ่ งหมายการค้านัน้ แตกต่าง
จากสินค้าอื่น – เพือ่ ไม่ให้เกิดความสับสน เช่น
(๑) ชือ่ ตัว ชือ่ สกุล ชือ่ นิตบิ ุคคล หรือชือ่ ทางการค้า ทีแ่ สดง
ลักษณะพิเศษและไม่เล็งถึงคุณลักษณะหรือคุณสมบัตขิ องสินค้า
โดยตรง – การทาให้มลี กั ษณะเฉพาะมีได้ ๒ ทาง
- ลักษณะบ่งเฉพาะในตัวเอง
- การได้มาซึง่ ลักษณะบ่งเฉพาะโดยการใช้
*เครือ่ งหมายการค้าอาจสูญเสียลักษณะบ่งเฉพาะโดยการใช้ได้
หากกลายเป็ นคาสามัญทีใ่ ช้เรียกสินค้าชนิดนัน้
(๒) คาหรือข้อความอันไม่ได้เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัตขิ องสินค้า
นัน้ โดยตรง และไม่เป็ นชือ่ ทางภูมศิ าสตร์ทร่ี ฐั มนตรีประกาศกาหนด
(ชือ่ ประเทศ ทวีป อนุทวีป มหาสมุทร เมืองหลวงของประเทศ ชื่อ
ทางภูมศิ าสตร์อ่นื ๆทีป่ ระชาชนโดยทัวไปรู
่ จ้ กั )
* - ชือ่ คา หรือข้อความตาม (๑) หรือ (๒) ถ้าได้ใช้จนแพร่หลายแล้วก็
อาจถือว่ามีลกั ษณะบ่งเฉพาะได้
- แม้สว่ นหนึง่ ส่วนใดของเครือ่ งหมายการค้าอาจขาดคุณสมบัติ
ดังกล่าว แต่นายทะเบียนอาจรับจดทะเบียนได้ แต่ตอ้ งแสดงปฏิเสธ
ไม่ขอถือเป็ นสิทธิของตนแต่ผเู้ ดียวในส่วนนัน้
(๓) กลุ่มของสีทแ่ี สดงโดยลักษณะพิเศษ หรือตัวหนังสือ ตัวเลข
หรือคาทีป่ ระดิษฐ์ขน้ึ
(๔) ลายมือชือ่
(๕) ภาพของบุคคล
(๖) ภาพทีป่ ระดิษฐ์ขน้ึ
• เครือ่ งหมายที่มีลกั ษณะต้องห้ามมิให้จดทะเบียน (ม.๘)
(๑) ตราแผ่นดิน พระราชลัญจกร ฯลฯ
(๒) ธงชาติของประเทศไทย ธงพระอิสริยยศ หรือธงราชการ
(๓) พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย พระปรมาภิไธยย่อ พระนามาธิ
ไภยย่อ หรือนามพระราชวงศ์ ซึง่ หมายถึง ชื่อ ชื่อย่อ และลายมือชื่อ
(๔) พระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์
(๕) ชือ่ คา ข้อความ หรือเครือ่ งหมายใด อันแสดงถึงพระมหากษัตริย์ พระราชินี
รัชทายาท หรือพระราชวงศ์
(๖) ธงชาติหรือเครือ่ งหมายประจาชาติของรัฐต่างประเทศ ฯลฯ
(๗) เครือ่ งหมายราชการ เครือ่ งหมายกาชาด นามกาชาด หรือกาเจนีวา
(๘) เครือ่ งหมายทีเ่ หมือนหรือคล้ายกับเหรียญ ใบสาคัญ หนังสือรับรอง ฯลฯ ทีร่ ฐั บาล
ไทย ส่วนราชการ ฯลฯ ได้จดั ให้มขี น้ึ เว้นแต่ผขู้ อจดทะเบียนจะเป็นผูไ้ ด้รบั สาหรับ
รางวัลหรือเครือ่ งหมายนัน้
(๙) เครือ่ งหมายทีข่ ดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน หรือรัฐประศาสโนบาย
(๑๐) เครือ่ งหมายทีเ่ หมือนกับเครือ่ งหมายทีม่ ชี อ่ื เสียงแพร่หลาย
ทัวไป
่ หรือคล้ายจนอาจทาให้สาธารณชนสับสนหรือหลงผิดฯ
(๑๑) เครือ่ งหมายทีค่ ล้ายกับ (๑) ถึง (๗)
(๑๒) สิง่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์ทไ่ี ด้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมาย
(๑๓) เครือ่ งหมายอื่นทีร่ ฐั มนตรีประกาศกาหนด
เป็ นเครือ่ งหมายการค้าที่ไม่เหมือนหรือคล้ายกับเครื่องหมาย
การค้าที่บคุ คลอื่นได้จดทะเบียนไว้แล้ว (ม.๖(๓) และ ม. ๑๓)
* - ถ้าเป็ นกรณีเหมือน ไม่จาต้องพิจารณาว่าประชาชนจะสับสนหรือ
หลงผิดในความเป็ นเจ้าของหรือแหล่งกาเนิดของสินค้า
แนวการพิจารณาว่าเป็ นเครือ่ งหมายการค้าทีค่ ล้ายกับ
เครือ่ งหมายการค้าทีไ่ ด้จดทะเบียนไว้แล้วฯ หรือไม่

ไม่ใช่แต่ดเู ฉพาะตัวเครือ่ งหมายการค้าเท่านัน้ ต้องพิจารณา
ปจั จัยต่างๆดังนี้
(๑) ปจั จัยทีต่ วั เครือ่ งหมายการค้านัน้ – พิจารณาภาพรวม
ของเครือ่ งการค้าแต่ละเครือ่ งหมาย – ดูทงั ้ ภาพลักษณ์และเสียง
เรียกขาน – แม้ภาพรวมอาจแตกต่างกัน แต่หากส่วนทีเ่ ป็ น
สาระสาคัญเหมือนหรือคล้ายกันก็อาจก่อให้เกิดความสับสนได้
ทัง้ ยังต้องคานึงด้วยว่าเครือ่ งหมายการค้านัน้ ใช้ภาษาใดกับสินค้า
ใด – กลุ่มประเภทของสินค้า เช่น สินค้าเครือ่ งมือแพทย์ ย่อม
แตกต่างจากกลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคทัวไป
่
(๒) ปจั จัยเกีย่ วกับความสุจริตของผูใ้ ช้เครือ่ งหมายการค้า
ภายหลัง – หากขายสินค้ากลุ่มเดียวกันหรือใกล้เคียงกันแล้วใช้
ภาพเครือ่ งหมายคล้ายกันอาจมองได้วา่ ไม่สจุ ริต – ต้องการ
อ้างอิงใช้ชอ่ื เสียงเกียรติคุณและความนิยมในสินค้าทีใ่ ช้มาก่อน
*มีขอ้ ควรระวังหากเครือ่ งหมายการค้าทีใ่ ช้มาก่อนมีลกั ษณะเป็ น
รูปสัตว์ตามธรรมชาติหรือสิง่ ของทีม่ อี ยูท่ วไป
ั ่ ย่อมมีลกั ษณะด้อย
กว่าเครือ่ งหมายการค้าภาพประดิษฐ์ หรือคาทีไ่ ม่มคี วามหมาย
เพราะภาพตามธรรมชาติหรือสิง่ ของทัวไป
่ หรือคาทีม่ ี
ความหมายธรรมดา เจ้าของเครือ่ งหมายการค้าย่อมไม่มสี ทิ ธิ
ผูกขาดแต่ผเู้ ดียว ผูอ้ ่นื ก็มสี ทิ ธินาไปใช้ได้ เพียงแต่ตอ้ งสร้าง
ความแตกต่างพอทีจ่ ะไม่ทาให้สาธารณชนสับสนหลงผิด
(๓) ปจั จัยเกีย่ วกับความปลอดภัยในชีวติ หรือทรัพย์สนิ ของ
ผูบ้ ริโภค – สินค้าเช่น ยารักษาโรค อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้า
ลัดวงจร หรืออะไหล่เกีย่ วกับความปลอดภัยของรถยนต์ แม้
ผูบ้ ริโภคอาจไม่สบั สนโดยง่าย แต่ผสู้ บั สนแม้มเี พียงเล็กน้อยก็
อาจเกิดผลทีเ่ ป็ นอันตรายได้ จึงต้องพิจารณาโดยเข้มงวด
เคร่งครัดกว่าปกติ
ตัวอย่างเครื่ องหมายการค้าที่ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า
คล้ายกันจนอาจทาให้สาธารณชนสับสนฯ
“SOSO” รายการสิ นค้ากุญแจโลหะ กับ “SOLO” รายการสิ นค้า
กรรไกร คีม ไขควง (ฎ. ๖๙๓๔/๒๕๔๙)
 “ROZA กับ “ROSA” (ฎ. ๓๘๕/๒๕๔๙)
 “TWIST” กับ “TWISTER” สิ นค้าจาพวกเดียวกัน (ฎ.๗๙๓๖๗๙๓๗/๒๕๓๗)
 “MICHELIN” กับ “Michaeler” สิ นค้ายาง (ฎ.๑๐๖๕๗/
๒๕๔๖)
 “ZENTEL” กับ “ZENTAB” สิ นค้าจาพวกเดียวกัน (๘๙๐๒/
๒๕๔๓

ตัวอย่างเครื่ องหมายการค้าที่ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าไม่
คล้ายกันถึงขนาดทาให้สบั สนหลงผิดฯ
“ZYSTAR” กับ “ZYTAR” สิ นค้ายารักษาโรคคนกับยารักษาโรค
สัตว์ (ฏ.๗๘๓๑/๒๕๔๙)
 “FOREX” กับ “SOLEX” กับสิ นค้าจาพวกเดียวกัน (ฎ.๘๕/
๒๕๔๙)
 “GIAN FERRENTE” กับ “GIANFRANCO
FERRE” (ฎ.๓๓๓-๓๓๔/๒๕๔๒)
 “CHARLIE” กับ “ROYAL CHARLIE” (สิ นค้าของโจทก์
เป็ นสิ นค้าราคาสูง) (ฎ.๔๐๓๗/๒๕๔๗

กระบวนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ า
ขั้นตอนตามปกติในการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้ามีดงั นี้
๑. การยืน่ คาขอจดทะเบียน
๒. การพิจารณาของนายทะเบียน
๓. การประกาศโฆษณาคาขอจดทะเบียน (จะกระทาเมื่อนายทะเบียน
พิจารณาแล้วเห็นว่าควรรับจดทะเบียน)
๔. กรณี ที่มีการคัดค้านการขอจดทะเบียน
๕. นายทะเบียนสัง่ ให้จดทะเบียน
๖. การชาระค่าธรรมเนียมและจดทะเบียน
๗. การจดทะเบียนและออกหนังสื อสาคัญ
หลักเกณฑ์ สาคัญในการจดทะเบียน
กรณีปกติทมี่ ีผู้ขอจดทะเบียนรายเดียว
ขั้นตอนที่ ๑ - การยืน่ คาขอจดทะเบียนมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้
- การขอจดทะเบียนตามปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ตามกฎกระทรวง (ม.๑๑)
- ผูข้ อจดทะเบียนหรื อตัวแทนต้องมีสานักงานหรื อที่ติดต่อในประเทศไทย
(ม.๑๐)
- ต้องระบุจาพวกสิ นค้า (๑ คาขอ ๑ จาพวก) (ม.๙)
*ถ้าการยืน่ คาขอมีขอ้ บกพร่ องนายทะเบียนจะสัง่ ให้แก้ไขใน ๙๐ วัน - ผูข้ อมี
สิ ทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการเครื่ องหมายการค้า - คาวินิจฉัยของ
คณะกรรมการเป็ นที่สุด (ม.๑๘) – ถ้าผูข้ อไม่อุทธรณ์แต่อุทธรณ์แต่
คณะกรรมการวินิจฉัยว่าคาสัง่ นายทะเบียนชอบแล้ว – ผูข้ อต้องปฏิบตั ิตาม
คาสัง่ นั้น - ถ้าไม่ปฏิบตั ิถือว่าละทิ้งคาขอ
ขั้นตอนที่ ๒ – การพิจารณาของนายทะเบียน – มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
 สิ่ งที่นามาขอจดทะเบียนเป็ นเครื่ องหมายตาม ม.๔ หรื อไม่
 การยืน่ คาขอจดทะเบียนปฏิบตั ิถูกต้องตาม ม.๙-๑๑ หรื อไม่ หรื อแก้ไขแล้ว
หรื อไม่
 เครื่ องหมายการค้าที่ขอจดทะเบียนมีลกั ษณะอันพึงรับจดทะเบียนตาม ม.๖
หรื อไม่
ถ้ามีขอ้ บกพร่ องตาม ม.๖ จะมีผลคือ
- ถ้าบกพร่ องเพียงบางส่วนซึ่งไม่ใช่สาระสาคัญ – นายทะเบียนสัง่ ให้แก้ไข
ได้ – ผูข้ ออุทธรณ์ได้ – ถ้าไม่อุทธรณ์หรื อคณะกรรมการวินิจฉัยว่าคาสัง่
นายทะเบียนชอบแล้ว – ผูข้ อต้องปฏิบตั ิตามคาสัง่ – ถ้าไม่ปฏิบตั ิถือว่าทิ้ง
คาขอ
- ถ้าเครื่ องหมายโดยรวมมีลกั ษณะอันพึงรับจดทะเบียนได้ แต่บางส่วนเป็ นสิ่ ง
สามัญในการค้าขาย – นายทะเบียนจะสัง่ ให้ผขู ้ อแสดงการปฏิเสธไม่ถือสิ ทธิ
แต่ผเู ้ ดียวในส่ วนนั้นหรื อแสดงการปฏิเสธอย่างอื่นภายใน ๙๐ วัน (ม.๑๗) – ผู ้
ขออุทธรณ์ได้ (ม.๑๘) – ถ้าไม่อุทธรณ์หรื อคณะกรรมการวินิจฉัยว่าคาสัง่ ของ
นายทะเบียนชอบแล้ว – ผูข้ อต้องปฏิบตั ิตามคาสัง่ – ถ้าไม่ปฏิบตั ิถือว่าทิ้งคา
ขอ (ม.๑๙)
- ถ้าเครื่ องหมายการค้าทั้งเครื่ องหมาย หรื อส่วนใดส่วนหนึ่งอันเป็ นสาระสาคัญ
ไม่มีลกั ษณะอันพึงรับจดทะเบียนตาม ม.๖ – นายทะเบียนจะสัง่ ไม่รับจด
ทะเบียน – ผูข้ ออุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้ (ม.๑๘)
ข้ อสั งเกต กรณี นายทะเบียนสัง่ ตาม ม.๑๕, ๑๗ หรื อ ม.๑๖ ผูข้ อมีสิทธิอุทธรณ์ตาม
ม.๑๘ – แม้ ม.๑๘ จะบัญญัติให้คาวินิจฉัยของคณะกรรมการเป็ นที่สุด – แต่
หากเป็ นคาวินิจฉัยที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผูข้ อฟ้ องขอเพิกถอนคาวินิจฉัยได้
(หมายถึงว่าถึงที่สุดเฉพาะคาวินิจฉัยที่ชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น (ฎ.๓๕๔๙/
๒๕๔๑
 ข้อยกเว้นหลักตาม ม.๖(๓) ประกอบ ม.๑๓ และ ม.๑๖
- กรณี ที่ต่างคนต่างใช้เครื่ องหมายการค้ามาโดยสุ จริ ต หรื อมีพฤติการณ์พิเศษ
ตาม ม.๒๗ วรรคหนึ่ง – นายทะเบียนรับจดทะเบียนแก่เจ้าของหลายคนได้ –
โดยกาหนดเงื่อนไขและข้อจากัดเกี่ยวกับการใช้ (เพื่อป้ องกันผูบ้ ริ โภคสับสน
หรื อหลงผิด) – พฤติการณ์อย่างไรต้องพิจารณาเป็ นรายกรณี ไป
- ผูข้ อจดทะเบียนและเจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนไว้ก่อนแล้วมี
สิ ทธิอุทธรณ์ได้ภายใน ๙๐ วัน – คาวินิจฉัยของคณะกรรมการเป็ นที่สุด (ม.
๒๗ วรรคสอง และวรรคสาม)
ข้ อสั งเกต – นอกจากจะใช้กรณี มีผขู ้ อจดทะเบียนเครื่ องหมายที่เหมือนหรื อคล้าย
กับเครื่ องหมายของผูอ้ ื่นที่จดทะเบียนไว้แล้ว ยังใช้กบั กรณี มีผขู ้ อจดทะเบียน
เครื่ องหมายเหมือนหรื อคล้ายกันกับสิ นค้าดังกล่าวหลายรายด้วย
- หากผูท้ ี่เป็ นเจ้าของเครื่ องหมายที่จดทะเบียนไว้ก่อนไม่สุจริ ต – ผูข้ อจดเบียน
ภายหลังต้องดาเนินการขอเพิกถอนการจดทะเบียนนั้นก่อน
- หากมีการจดทะเบียนหลายรายตาม ม.๒๗ จะมีผลเป็ นการจากัดสิ ทธิแต่ผู ้
เดียวตาม ม.๔๔ ระหว่างกัน แต่ยงั อ้างได้กบั บุคคลภายนอกอื่น
ขั้นตอนที่ ๓ – การประกาศโฆษณาคาขอจดทะเบียน
 เมื่อผ่าน ๒ ขั้นตอนแรกแล้ว นายทะเบียนจะประกาศโฆษณาคาขอจด
ทะเบียน (ม.๒๙) – ให้โอกาสผูอ้ ื่นมาคัดค้านได้ใน ๙๐ วัน
ขั้นตอนที่ ๔ – กรณีมีการคัดค้ านการขอจดทะเบียน
 เมื่อมีการประกาศโฆษณาแล้ว – บุคคลภายนอกอาจยืน่ คาคัดค้านได้ (ม.
๓๕) – นายทะเบียนวินิจฉัยแล้วก็สามารถอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ และ
ต่อศาลได้ (ม.๓๗ และ ม.๓๘)
ขั้นตอนที่ ๕ – นายทะเบียนสั่ งรับจดทะเบียน
 เมื่อไม่มีการคัดค้าน หรื อมีแต่มีคาวินิจฉัยหรื อคาพิพากษาถึงที่สุดให้ผขู้ อมี
สิ ทธิจดทะเบียนแล้ว – นายทะเบียนมีคาสัง่ ให้จดทะเบียน (ม.๔๐ วรรค
หนึ่ง)
ขั้นตอนที่ ๖ – การชาระค่ าธรรมเนียม
 เมื่อนายทะเบียนสัง่ ให้จดทะเบียนตาม ม.๔๐ แล้ว – ต้องมีหนังสื อแจ้งผู้
ขอให้มาชาระค่าธรรมเนียมภายใน ๓๐ วัน รับแต่ได้รับหนังสื อ – หากไม่
ชาระในกาหนดถือว่าทิ้งคาขอ (ม.๔๐ วรรคสอง)
ขั้นตอนที่ ๗ – การจดทะเบียน
 เมื่อชาระค่าธรรมเนียมแล้ว นายทะเบียนจะจดทะเบียนและออกหนังสื อ
สาคัญให้แก่ผขู ้ อ (ม.๔๓) แต่กฎหมายให้ถือเอาวันยืน่ คาขอเป็ นวันจด
ทะเบียน (ม.๔๒) – เป็ นการนับย้อนหลัง
ข้ อสั งเกต – ขั้นตอนนี้ใช้ได้ท้ งั กรณี ที่ผขู ้ อใช้เครื่ องหมายแล้วแต่ยงั ไม่ได้ขอจด
ทะเบียน และกรณี ที่ผขู ้ อไม่เคยใช้เครื่ องหมายที่ขอจดทะเบียนเลย
กรณีมีผู้ขอจดทะเบียนหลายราย
มีหลักเกณฑ์และขั้นตอนต่างๆดังนี้ (ม.๒๐-ม.๒๖)
 หลักเกณฑ์ของผูข้ อแต่ละรายเป็ นไปตาม ม.๙-ม.๑๑ ตามปกติ
 เงื่อนไขการพิจารณาของนายทะเบียนเป็ นไปตาม ม.๖, ๗, ๘ และ ๑๓
ตามปกติ
 กรณี คาขอรายใดมีขอ้ บกพร่ อง – นายทะเบียนสัง่ ให้แก้ไข หรื อแสดงการ
ปฏิเสธไม่ขอถือสิ ทธิ (ม.๑๕ หรื อ ๑๗) – ผูข้ ออุทธรณ์ได้ (ม.๑๘) – ถ้า
มีคาขอบางรายที่ตอ้ งแก้ไข – ให้รอการดาเนินการสาหรับคาขอที่ไม่ตอ้ ง
แก้ไข (ม.๒๒)
หลังจากผ่าน ๓ ขั้นตอนนี้แล้ว – อาจเกิดผลคือ
1. ไม่เหลือคาขอจดทะเบียนของผูข้ อรายใดเลย
2. มีคาขอจดทะเบียนเหลืออยู่ ๑ ราย – ผูข้ อรายนั้นก็จะได้รับการจดทะเบียน
3. มีคาขอจดทะเบียนเหลืออยูม่ ากกว่า ๑ ราย – นายทะเบียนต้องสัง่ ให้ผขู้ อ
เหล่านั้นปฏิบตั ิตาม ม.๒๔ คือ ให้ตกลงกันว่ารายใดเป็ นผูข้ อจดทะเบียนแต่ผู ้
เดียวภายใน ๙๐ วัน นับแต่วนั ที่ได้รับหนังสื อแจ้งคาสัง่ – ถ้าตกลงกันได้
และมีหนังสื อแจ้งนายทะเบียนภายใน ๙๐ วัน – นายทะเบียนจะประกาศ
โฆษณาคาขอตาม ม.๒๙ ให้ผขู ้ อรายที่มีการตกลงกันเป็ นผูข้ อรายเดียวตาม
ม.๒๔ ตาม ม.๒๕ วรรคหนึ่ง – แต่หากตกลงกันไม่ได้หรื อไม่แจ้งนาย
ทะเบียนภายใน ๙๐ วัน – นายทะเบียนจะใช้หลักตาม ม.๒๐ ที่ถือว่าผูข้ อราย
แรกเป็ นผูม้ ีสิทธิได้รับการจดทะเบียน (หมายถึงผูข้ อที่ยนื่ ขอถูกต้องหรื อ
แก้ไขหรื อแสดงการปฏิเสธโดยถูกต้อง
- กรณี มีบุคคลยืน่ คาขอในต่างประเทศ แล้วมายืน่ ในประเทศไทย หรือเคยนา
สิ นค้าที่ใช้เครื่ องหมายการค้านั้นออกแสดงในงานแสดงสิ นค้าระหว่าง
ประเทศ ให้เป็ นไปตาม ม.๒๘ และ ม.๒๘ทวิ
 เมื่อนายทะเบียนสัง่ ให้ผขู้ อจดทะเบียนตกลงกันตาม ม.๒๔ – ผูข้ อมีสิทธิ
อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้ตาม ม.๒๑ วรรคสอง – ถ้าไม่อุทธรณ์หรื อ
อุทธรณ์แล้วคณะกรรมการวินิจฉัยว่าคาสัง่ นายทะเบียนชอบแล้ว – ผูข้ อต้อง
ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของนายทะเบียน – หากไม่ปฏิบตั ิถือว่าทิ้งคาขอ (ม.๑๘
และ ม.๑๙ – นามาใช้โดยอนุโลมตาม ม.๒๑ วรรคสอง)
 กรณี นายทะเบียนสัง่ ให้ผขู้ อจดทะเบียนตกลงกันตาม ม.๒๔ – ยังมีผอู้ ื่นยืน่
คาขอเข้ามาใหม่อีก – นายทะเบียนจะสัง่ ไม่รับคาขอใหม่เลย (ม.๒๖) – ผู ้
ขอรายใหม่มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ (ม.๒๖ ตอนท้ายให้นา ม.๒๑
วรรคสอง มาใช้โดยอนุโลม)
 ขั้นตอนต่างๆนี้มีขอ้ ยกเว้นตาม ม.๒๗ วรรคหนึ่ง - นายทะเบียนอาจพิจารณา
รับจดทะเบียนให้หลายรายได้
เครื่องหมายการค้ าที่มีชื่อเสี ยงแพร่ หลายทั่วปป
(Well-known Mark)
 เป็ นเครื่ องหมายที่ได้รับความคุม้ ครองเป็ นพิเศษ – ห้ามจดทะเบียน
เครื่ องหมายที่เหมือนหรื อคล้ายกับ well-known mark (ม.๘(๑๐)) - ไม่วา่
well-known mark นั้นจะได้จดทะเบียนไว้ในประเทศไทยแล้วหรื อไม่
 เจ้าของ well-known mark มีสิทธิคดั ค้านการจดทะเบียนตาม ม.๓๕ หรื อ
ขอเพิกถอนการจดทะเบียนตาม ม.๖๑(๒) ประกอบ ม.๘ ได้ และได้รับ
ความคุม้ ครองไม่จากัดจาพวกของสิ นค้า
ข้ อสั งเกต ปัจจุบนั มีกฎกระทรวงฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๓ กาหนดหลักเกณฑ์ของ
well-known mark ไว้ดงั นี้
๑. เครื่ องหมายนั้นจะต้องมีปริ มาณการจาหน่ายจานวนมาก หรื อมีการใช้หรื อ
โฆษณาเป็ นที่แพร่ หลายจนทาให้สาธารณชนทัว่ ไปหรื อสาธารณชนสาขา
ที่เกี่ยวข้องในประเทศไทยรู ้จกั เป็ นอย่างดี
๒. เครื่ องหมายนั้นจะต้องมีชื่อเสี ยงเป็ นที่ยอมรับอย่างสูงในหมู่ผบู้ ริ โภค
หลักการระงับปปซึ่งสิ ทธิ (Exhaustion of rights)
กับการนาเข้ าซ้ อน (Parallel Import)
 เมื่อเจ้าของเครื่ องหมายการค้าผลิตสิ นค้าออกขาย ผูท้ ี่ซ้ือสิ นค้านั้นสามารถนา
สิ นค้าไปขายต่อโดยไม่ถือว่าเป็ นการละเมิดสิ ทธิการใช้เครื่ องหมายการค้า โดย
ถือว่าเมื่อเจ้าของเครื่ องหมายการค้าได้ขายสิ นค้าครั้งแรกแล้วก็เป็ นอันสิ้ นสิ ทธิ
ที่จะบังคับสิ ทธิในเครื่ องหมายการค้าในสิ นค้าชิ้นนั้นอีกต่อไป
 กรณี มีการขายสิ นค้าไปในหลายประเทศ เจ้าของสิ นค้ามักต้องการผูกขาดการ
ขายสิ นค้าของตนในแต่ละประเทศ – แต่อาจมีผสู ้ งั่ สิ นค้าจากประเทศหนึ่งเข้า
มาขายแข่งกับเจ้าของสิ นค้าในอีกประเทศหนึ่งได้ – เจ้าของสิ นค้าต้องการให้
ถือว่าการนาเข้าสิ นค้าแท้จริ งจากต่างประเทศเข้ามาจาหน่ายไม่เป็ นการทาให้
สิ ทธิของเจ้าของเครื่ องหมายการค้าระงับสิ้ นไป – เดิมแนวคาพิพากษาศาล
ฎีกาถือว่าเป็ นการละเมิดสิ ทธิของเจ้าของเครื่ องหมายการค้า – ปัจจุบนั ได้
เปลี่ยนแปลงแนวการวินิจฉัยแล้ว (ฎ.๒๘๑๗/๒๕๔๓)
ขอบเขตในการคุม้ ครองสิทธิในเครือ่ งหมายการค้า
1. มีขอบเขตเท่าที่กฎหมายรับรองและให้ความคุม้ ครองเท่านั้น
1.1 สิ ทธิในการใช้เครื่ องหมายการค้า (ใช้อย่างเครื่ องหมายการค้า)
ถ้าเป็ นเจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนมีสิทธิ ตาม ม.๔๔
1.2 สิ ทธิในการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้า
2. ขอบเขตแห่งสิ ทธิยอ่ มต้องถูกจากัดด้วยประโยชน์ของประเทศหรื อ
ของสาธารณชน
3. ขอบเขตแห่งสิ ทธิถูกจากัดไม่ให้ล่วงละเมิดสิ ทธิในเครื่ องหมาย
การค้าของผูอ้ ื่น
4. ขอบเขตแห่งสิ ทธิถูกจากัดโดยหลักการคุม้ ครองผูส้ ุจริ ต(ม.๒๗,๔๗)
เจ้ าของเครื่องหมายการค้ าที่ปม่ ปด้ จดทะเบียน
ลักษณะของเจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่ไม่ได้จดทะเบียน คือ
 เป็ นเจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่ได้มาโดยการใช้
 ยังไม่ได้จดทะเบียนเครื่ องหมายการค้านั้นในประเทศไทย
 ผูท้ ี่จดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าในประเทศไทยสาหรับสิ นค้าใดก็เป็ น
เจ้าของเครื่ องการค้าจดทะเบียนเฉพาะสิ นค้านั้น - แต่ถือเป็ นเจ้า
เครื่ องหมายการค้าไม่จดทะเบียนสาหรับสิ นค้าอื่น
สิ ทธิของเจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่ไม่จดทะเบียน
พิจารณาตาม ม.๔๖ แห่ง พ.ร.บ.เครื่ องหมายการค้าฯ แล้วสรุ ปได้ดงั นี้
 มีสิทธิใช้เครื่ องหมายการค้ากับสิ นค้าเพื่อแสดงความเกี่ยวพันระหว่าง
สิ นค้ากับเจ้าของเครื่ องหมายการค้า – แต่ไม่มีสิทธิใช้แต่ผเู ้ ดียว
 มีสิทธิคดั ค้านการขอจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าตาม ม.๓๕ และมี
สิ ทธิฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าตาม ม.๖๗
 ไม่มีสิทธิหา้ มผูอ้ ื่นใช้เครื่ องหมายการค้าที่เหมือนหรื อคล้ายกัน เว้นแต่
กรณี ลวงขาย
การลวงขาย (Passing Off)
 หมายถึง การที่บุคคลหนึ่งนาสิ นค้าของตนไปลวงว่าเป็ นสิ นค้าของผูอ้ ื่น
ซึ่งเป็ นเจ้าของเครื่ องหมายการค้า – ถือเป็ นการเอาเปรี ยบทางการค้า
กระทบต่อผูบ้ ริ โภค และกระทบต่อ goodwill ของเจ้าของเครื่ องหมาย
การค้า
 ลักษณะของการลวงขายควรมีขอ้ เท็จจริ งประกอบดังนี้
- ความมีชื่อเสี ยงเกียรติคุณ goodwill ของเครื่ องหมายการค้า
- ข้อเท็จจริ งที่แสดงออกต่อผูบ้ ริ โภค เช่น การทาหี บห่อ ตัวอักษร ภาพ
และสี (ต้องดูพฤติการณ์แต่ละกรณี ไป)
- การลวงขายไม่จากัดว่าสิ นค้าที่ลวงขายนั้นต้องเป็ นสิ นค้าประเภท
เดียวกับสิ นค้าของเจ้าของเครื่ องหมายการค้าเท่านั้น
- ในการฟ้ องคดีต่อผูล้ ะเมิดสิ ทธิดว้ ยการลวงขาย – มีสิทธิฟ้องเพื่อห้าม
ผูก้ ระทาละเมิดกระทาการลวงขายต่อไปและยังสามารถเรี ยกร้อง
ค่าเสี ยหายได้อีกด้วย แต่จะห้ามถึงขนาดห้ามใช้เครื่ องหมายการค้านั้น
ทุกกรณี ไม่ได้ – ผูอ้ ื่นถ้าใช้อย่างไม่ลวงขายย่อมใช้ได้ – เพราะเจ้าของ
เครื่ องหมายการค้าไม่จดทะเบียนไม่มีสิทธิแต่ผเู ้ ดียว
- ในการฟ้ องคดีตอ้ งบรรยายฟ้ องถึงข้อเท็จจริ งว่าจาเลยได้กระทาการลวง
ขายอย่างไรอันถือเป็ นการละเมิดสิ ทธิโดยการลวงขาย มิฉะนั้น จะไม่มี
ประเด็นให้ศาลพิจารณาพิพากษาในเรื่ องการลวงขาย
เจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว
ลักษณะของเจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว
 ต้องจดทะเบียนในประเทศไทย
 มีฐานะเป็ นเจ้าของเครื่ องหมายการค้าจดทะเบียนเฉพาะกรณี ที่เกี่ยวกับ
สิ นค้าที่จดทะเบียนไว้แล้วเท่านั้น
สิ ทธิของเจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว
 มีสิทธิแต่ผเู้ ดียวในการใช้เครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนนั้นสาหรับสิ นค้า
ที่จดทะเบียนไว้ (ม.๔๔) – ถ้าจดทะเบียนไว้โดยไม่จากัดสี ให้ถือว่าใช้ได้
ทุกสี (ม.๔๕)
 สิ ทธิแต่ผเู้ ดียวนี้มีขอ้ จากัดหรื อข้อยกเว้นตาม ม.๒๗ ม.๖๘ และ ม.๔๗
 สิ ทธิแต่ผเู้ ดียวนี้ไม่ได้จากัดเฉพาะตัวเครื่ องหมายการค้าที่ได้จดทะเบียน
แล้วเท่านั้น แต่ยงั รวมถึงเครื่ องหมายการค้าที่คล้ายกันถึงขนาดที่เมื่อ
นาไปใช้แล้วอาจทาให้สาธารณชนสับสนหรื อหลงผิดในความเป็ นเจ้าของ
หรื อแหล่งกาเนิดของสิ นค้าด้วย
 สิ ทธิในการคัดค้านการขอจดทะเบียนตาม ม.๓๕ ร้องขอเพิกถอนการจด
ทะเบียนตาม ม.๖๑ และฟ้ องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนตาม ม.๖๗
สิ ทธิของเจ้ าของเครื่องหมายการค้ าในการคัดค้ านการ
ขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ าตาม ม.๓๕
 ต้องยืน่ คาคัดค้านภายใน ๙๐ วัน นับแต่วนั ที่นายทะเบียนประกาศโฆษณา
คาขอจดทะเบียน
 อาจแสดงเหตุแห่งการคัดค้านดังนี้
- การขอจดทะเบียนนั้นไม่ถูกต้องตาม ม.๙-ม.๑๑ หรื อเครื่ องหมายการค้าที่
ขอจดทะเบียนไม่มีลกั ษณะอันพึงรับจดทะเบียนได้ตาม ม.๖ (ม.๓๕ ไม่ได้
จากัดว่าผูค้ ดั ค้านต้องเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ย)
- ผูค้ ดั ค้านเป็ นผูม้ ีสิทธิดีกว่าผูข้ อจดทะเบียน – คือได้สิทธิในเครื่ องหมาย
การค้านั้นมาก่อนผูข้ อจดทะเบียน – กรณี เป็ นสิ นค้าอย่างเดียวกันผูใ้ ช้มา
ก่อนย่อมมีสิทธิดีกว่า
- แต่ถา้ เป็ นสิ นค้าต่างกัน ปกติต่างคนต่างมีสิทธิใช้ได้ – เว้นแต่ปรากฏว่า
ฝ่ ายผูข้ อจดทะเบียนไม่สุจริ ต มีเจตนาลวงขาย
 การพิจารณาคาคัดค้านโดยนายทะเบียนและการอุทธรณ์
- เมื่อมีผคู ้ ดั ค้านตาม ม.๓๕ นายทะเบียนต้องส่ งสาเนาคาคัดค้านให้ผขู ้ อจด
ทะเบียน – ต้องทาคาโต้แย้งคาคัดค้านภายใน ๙๐ วัน – ถ้าไม่ยนื่ คาโต้แย้ง
คาคัดค้านถือว่าละทิ้งคาขอจดทะเบียน (ม.๓๖ วรรคหนึ่ง และวรรคสอง) –
ถ้ายืน่ คาโต้แย้งคาคัดค้าน ทั้งสองฝ่ ายก็ตอ้ งเสนอพยานหลักฐาน – นาย
ทะเบียนจะมีคาวินิจฉัยแล้วแจ้งผูค้ ดั ค้าน
- ผูข้ อจดทะเบียนหรื อผูค้ ดั ค้านมีสิทธิอุทธรณ์ภายใน ๙๐ วัน (ม.๓๗ วรรค
สอง) ถ้าไม่อุทธรณ์ถือว่าคาวินิจฉัยของนายทะเบียนเป็ นที่สุด (ม.๓๙)
- ผูข้ อจดทะเบียนหรื อผูค้ ดั ค้านมีสิทธิอุทธรณ์คาวินิจฉัยของคณะกรรมการ
ภายใน ๙๐ วัน (ม.๓๘ วรรคสอง)
การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าโดยผล
ของกฎหมาย

กรณี ที่เจ้าของเครื่ องหมายการค้าไม่ได้ยนื่ คาขอต่ออายุการจดทะเบียน
เครื่ องหมายการค้าภายใน ๙๐ วัน ก่อนวันสิ้ นอายุ ให้ถือว่าเครื่ องหมาย
การค้านั้นได้ถูกเพิกถอนการจดทะเบียนแล้ว (มาตรา ๕๖ ประกอบ
มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง)
การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าโดย
คาสัง่ ของนายทะเบียน
กรณี ที่คาขอต่ออายุการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าไม่เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการตามกฎหมาย(กฎกระทรวง) และนายทะเบียนมี
คาสัง่ ให้แก้ไขให้ถูกต้องแล้ว แต่เจ้าของเครื่ องหมายการค้านั้นไม่ปฏิบตั ิ
ตามคาสัง่ ของนายทะเบียนภายในกาหนดเวลา (มาตรา ๕๕ วรรคสอง)
 กรณี ที่เจ้าของเครื่ องหมายการค้าร้องขอต่อนายทะเบียนให้สงั่ เพิกถอน
การจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าของตนเอง แต่หากมีการจดทะเบียน
สัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิในเครื่ องหมายการค้าก็ตอ้ งได้รับความยินยอม
จากผูไ้ ด้รับอนุญาตด้วย (มาตรา ๕๗)

การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าโดย
คาสัง่ ของนายทะเบียน
กรณี ที่ปรากฏต่อนายทะเบียนว่า เจ้าของเครื่ องหมายการค้าฝ่ าฝื นหรื อ
มิได้ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขหรื อข้อจากัดที่นายทะเบียนกาหนดในการรับจด
ทะเบียนเครื่ องหมายการค้า (มาตรา ๕๘)
 กรณี ที่เจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่ได้จดทะเบียนแล้ว หรื อตัวแทนเลิกตั้ง
สานักงานหรื อสถานที่ที่ได้จดทะเบียนไว้ในประเทศไทยแล้ว (มาตรา
๕๙)
 เจ้าของเครื่ องหมายการค้าที่ถูกเพิกถอนอาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ
เครื่ องหมายการค้าได้ภายใน ๙๐ วัน นับแต่วนั ที่ได้รับหนังสื อแจ้งคาสัง่
(มาตรา ๖๐)

การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ าโดย
คณะกรรมการเครื่องหมายการค้ า
- กรณี ที่ขณะที่จดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าไม่มีลกั ษณะอันพึง
ได้รับการจดทะเบียนตามมาตรา ๖
 ผูม้ ีสิทธิร้องขอคือ ผูม้ ีส่วนได้เสี ย หรื อนายทะเบียนเท่านั้น
 การยืน่ ต้องทาเป็ นคาร้องขอยืน่ ต่อคณะกรรมการ
การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ าโดย
คณะกรรมการเครื่องหมายการค้ า
I.กรณี ที่ขณะที่จดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าไม่มีลกั ษณะอันพึงได้รับ
การจดทะเบียนตามมาตรา ๖
 ต้องแสดงว่าเหตุขอเพิกถอนตาม ม.๖๑ ขณะจดทะเบียน
(๑) มิได้เป็ นเครื่ องหมายที่มีลกั ษณะบ่งเฉพาะตาม ม.๗
(๒) เป็ นเครื่ องหมายการค้าที่มีลกั ษณะต้องห้ามตาม ม.๘
(๓) เป็ นเครื่ องหมายการค้าที่เหมือนกับเครื่ องหมายการค้าของบุคคลอื่น
ที่ได้จดทะเบียนไว้แล้วสาหรับสิ นค้าจาพวกเดียวกัน หรื อต่างจาพวกที่มี
ลักษณะอย่างเดียวกัน
การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ าโดย
คณะกรรมการเครื่องหมายการค้ า
(๔) เป็ นเครื่ องหมายการค้าที่คล้ายกับเครื่ องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่ได้
จดทะเบียนไว้แล้วจนอาจทาให้สาธารณชนสับสนหลงผิดในความเป็ น
เจ้าของหรื อแหล่งกาเนิดของสิ นค้าสาหรับสิ นค้าจาพวกเดียวกันหรื อต่าง
จาพวกกันที่มีลกั ษณะอย่างเดียวกัน
 คณะกรรมการเป็ นผูว้ ินิจฉัย และอุทธรณ์ต่อไปยังศาลได้
ข้ อสั งเกต ประเด็นที่พิจารณาจะมีเฉพาะตามที่ระบุไว้ใน ม.๖๑ เท่านั้น ต่าง
กับกรณี ตาม ม.๖๗ ซึ่งมีประเด็นว่าฝ่ ายใดมีสิทธิดีกว่ากัน
การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ าโดย
คณะกรรมการเครื่องหมายการค้ า
II. กรณี เครื่ องหมายการค้าขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน หรื อรัฐประศาสโนบาย (มาตรา ๖๒)
- ผูร้ ้องขอเป็ นบุคคลใดก็ได้ ไม่จากัดเฉพาะผูม้ ีส่วนได้เสี ยหรื อนาย
ทะเบียน
- ไม่จากัดว่าเครื่ องหมายการค้าต้องมีลกั ษณะเช่นนั้นในขณะจดทะเบียน
เท่านั้น
- พิจารณาเช่นเดียวกับกรณี มาตรา ๘(๙) คือ พิจารณาจากตัวเครื่ องหมาย
ตามที่ปรากฏ หรื อความหมายหรื อนัยของตัวเครื่ องหมายนั้นเอง ไม่ใช่
ที่มาของการนาเครื่ องหมายมาขอจดทะเบียนว่าสุ จริ ตหรื อละเมิด
กฎหมายอื่นใดหรื อไม่
การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ าโดย
คณะกรรมการเครื่องหมายการค้ า
III. หากข้อเท็จจริ งได้ความว่า
๑. เจ้าของเครื่ องหมายการค้านั้นมิได้ต้ งั ใจโดยสุ จริ ตที่จะใช้เครื่ องหมาย
การค้าตามที่ได้จดทะเบียนไว้ และตามความจริ งก็ไม่เคยใช้ หรื อ
๒. ในระหว่าง ๓ ปี ก่อนยืน่ คาร้องขอเพิกถอน ไม่ได้มีการใช้
เครื่ องหมายการค้าโดยสุ จริ ตสาหรับสิ นค้าที่ขอจดทะเบียน
- เว้นแต่เจ้าของเครื่ องหมายค้าจะพิสูจน์ได้วา่ ที่ไม่ใช้เพราะมีพฤติการณ์
พิเศษในทางการค้า และไม่ได้ต้ งั ใจที่จะไม่ใช้หรื อละทิ้งเครื่ องหมาย
 ผูม้ ีสิทธิร้องขอให้เพิกถอนคือ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยหรื อนายทะเบียน ซึ่งมี
หน้าที่พิสูจน์ขอ้ เท็จจริ งตามที่อา้ งในคาร้องขอ
การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าโดยศาล
I.

กรณี ที่ได้ความว่าขณะร้องขอ เครื่ องหมายการค้านั้นได้กลายเป็ นสิ่ งที่
ใช้กนั สามัญในการค้าขายสาหรับสิ นค้าบางอย่างหรื อบางจาพวก
จนกระทัง่ ในวงการค้าหรื อในสายตาของสาธารณชน เครื่ องหมาย
การค้านั้นได้สูญเสี ยความหมายของการเป็ นเครื่ องหมายการค้าไปแล้ว
(มาตรา ๖๖)
ผูม้ ีสิทธิร้องขอ คือ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยหรื อนายทะเบียน
การเพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าโดยศาล
II. กรณี ร้องขอ(ฟ้ อง)ต่อศาลให้เพิกถอนการจดทะเบียนตาม ม.๖๗
 ผูม้ ีสิทธิ ขอต่อศาลคือ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่เป็ นผูม้ ีสิทธิ ในเครื่ องหมายการค้า
ดีกว่าผูท้ ี่ได้รับการจดทะเบียนไว้
 เหตุที่ขอเพิกถอนคือ ผูร้ ้องมีสิทธิ ในเครื่ องหมายการค้าดีกว่าผูท
้ ี่ได้รับ
การจดทะเบียนไว้ – ปกติผทู ้ ี่ใช้มาก่อนถือว่ามีสิทธิดีกว่า อย่างไรก็ตาม
ต้องพิจารณาถึงความสุ จริ ตด้วย – อาจเป็ นกรณี ตาม ม.๒๗ ก็ได้
 ต้องฟ้ องต่อศาลภายใน ๕ ปี นับแต่วน
ั ที่นายทะเบียนมีคาสัง่ รับจด
ทะเบียนตาม ม.๔๐ – เป็ นเรื่ องระยะเวลา ไม่ใช่อายุความ
การโอนเครื่ องหมายการค้า (ม.๔๘-ม.๕๒)
การโอนมี ๒ ประเภท คือ
 การโอนโดยผลของกฎหมาย คือ การตกทอดทางมรดก
 การโอนโดยสัญญา
การโอนสิ ทธิในเครื่ องหมายการค้ามี ๒ วิธี คือ
(๑) การโอนเครื่ องหมายการค้าพร้อมกับการโอนกิจการของผูป้ ระกอบการ
ซึ่งเป็ นเจ้าของเครื่ องหมายการค้า - มักเกิดเมื่อมีการขยายกิจการหรื อควบ
รวมกิจการ
(๒) การโอนสิ ทธิในเครื่ องหมายการค้าโดยไม่มีการโอนกิจการของ
ผูป้ ระกอบการด้วย – อาจมีปัญหาว่าจะเป็ นการลวงสาธารณชน หรื อ
ผูบ้ ริ โภคสับสนหรื อหลงผิดได้ - บางประเทศจึงห้ามโอนเฉพาะ
เครื่ องหมายการค้า
การอนุญาตให้ ใช้ สิทธิในเครื่องหมายการค้ า
• สาหรับเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียน – ต้องทาเป็ นหนังสื อและจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (ม.๖๘)
สัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิอาจกาหนดเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(๑) กาหนดเป็ นสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิโดยไม่เด็ดขาด (non-exclusive
licensing agreement) - เจ้าของเครื่ องหมายการค้ายังมีสิทธิใช้และ
อนุญาตให้ผอู ้ ื่นใช้สิทธิได้
(๒) กาหนดเป็ นสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่ผเู ้ ดียว – เจ้าของเครื่ องหมาย
การค้ายังมีสิทธิใช้ – แต่จะอนุญาตให้ผอู ้ ื่นใช้อีกไม่ได้
(๓) กาหนดเป็ นสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิเด็ดขาด – เจ้าของเครื่ องหมายการค้า
อนุญาตให้เฉพาะผูห้ นึ่งผูใ้ ดใช้เครื่ องหมายการค้าเท่านั้น เจ้าของ
เครื่ องหมายการค้าเองก็ยงั ไม่อาจใช้เครื่ องหมายการค้านั้นในระหว่างอายุ
สัญญา
ปัญหาข้อพิพาทเกี่ยวกับเครื่ องหมายการค้า
ในทางปฏิบตั ิแยกได้เป็ นกลุ่มดังนี้
๑. ปัญหาโต้แย้งการใช้เครื่ องหมายการค้าในการขายสิ นค้า – โต้แย้งสิ ทธิใน
การใช้เครื่ องหมายการค้า ไม่ได้โต้แย้งสิ ทธิการจดทะเบียน มักเป็ นกรณี ที่
มีการใช้เครื่ องหมายการค้าที่เหมือนหรื อคล้ายกัน
๒. ปัญหาที่มีการโต้แย้งเกี่ยวกับการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้า
๒.๑ ปัญหาข้อโต้แย้งระหว่างผูย้ นื่ ขอจดทะเบียนกับนายทะเบียน
๒.๒ ปัญหาที่บุคคลภายนอกซึ่งอ้างว่าเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยหรื อมีสิทธิดีกว่า
ผูข้ อจดทะเบียนและคัดค้านการขอจดทะเบียน
๒.๓ ปัญหาที่ผอู ้ า้ งว่ามีสิทธิดีกว่าขอเพิกถอนทะเบียนเครื่ องหมายการค้า
๓. ปัญหาที่มีการกระทาทั้งใช้เครื่ องหมายการค้าที่เหมือนหรื อคล้ายกับของ
เจ้าของเครื่ องหมายการค้าในการขายสิ นค้า และได้รับการจดทะเบียน
แล้ว ซึ่งเป็ นการโต้แย้งทั้งสิ ทธิในการใช้และสิ ทธิในการจดทะเบียน
๔. ปัญหาเกี่ยวกับการโอนสิ ทธิในเครื่ องหมายการค้าทางมรดกหรื อมีการ
ทาสัญญาโอนสิ ทธิรวมทั้งสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิในเครื่ องหมาย
การค้า
๕. ปัญหาเกี่ยวกับความผิดทางอาญาทั้งตาม พ.ร.บ.เครื่ องหมายการค้าฯ
และตามประมวลกฎหมายอาญา
๖. ปัญหาเกี่ยวกับการใช้มาตรการขอให้ศาลมีคาสัง่ ให้ผลู ้ ะเมิดสิ ทธิใน
เครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนในประเทศระงับหรื อละเว้นการกระทา
ที่ล่วงละเมิดสิ ทธิซ่ ึงเจ้าลักษณะเป็ นความผิดตาม พ.ร.บ.เครื่ องหมาย
การค้าฯ มาตรา ๑๐๘, ๑๐๙ หรื อ ๑๑๐ ซึ่งกฎหมายให้ทาได้ตาม มาตรา
๑๑๖
กระบวนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ า
๑. ผู้ขอจดทะเบียนยืน่
คาขอจดทะเบียน –
ปฏิบตั ิตาม ม.๙-๑๑
๒. นายทะเบียนตรวจสอบ
-คาขอถูกต้องตาม ม.๙-๑๑ หรื อไม่
-เครื่ องหมายนั้นพึงรับจดทะเบียนได้
ตาม ม.๖-๘ และ ม.๑๔ หรื อไม่
๓. ประกาศคาขอจด
ทะเบียน – ถ้าเห็นว่าพึงรับ
จดทะเบียนได้ ให้ประกาศ
โฆษณาคาขอ ตาม ม.๒๙
๔. รอระยะเวลา ๙๐ วัน
นับแต่วนั ประกาศโฆษณา
– อาจมีผยู้ นื่ คาคัดค้าน
ตาม ม.๓๕
๕. สั่งรับจดทะเบียน – กรณี ไม่มี
การคัดค้าน หรื อมีการคัดค้านแต่มี
คาวินิจฉัยหรื อคาพิพากษาถึงที่สุด
ให้ผขู้ อจดทะเบียนมีสิทธิจด
ทะเบียน (ม. ๔๐ วรรคหนึ่ง)
๖. สั่งให้ ผ้ขู อจดทะเบียนชาระ
เงินค่าธรรมเนียม (ม.๔๐
วรรคสอง)
๗. ผู้ขอจดทะเบียนชาระ
ค่าธรรมเนียมภายใน ๓๐
วัน (ถ้าไม่ชาระถือว่าทิ้ง
คาขอ)
๘. จดทะเบียนและออก
หนังสือสาคัญแสดงการจด
ทะเบียน
การละเมิดสิ ทธิในเครื่องหมายการค้ า
สิ ทธิของเจ้ าของเครื่องหมายการค้ าจดทะเบียน
1. สิ ทธิตามพระราชบัญญัติเครื่ องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๔๔
มาตรา ๔๔ – สิ ทธิแต่ผเู้ ดียว (exclusive right)
2. สิ ทธิที่จะใช้เครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนไว้ทุกสี (มาตรา
๔๕)
3. สิ ทธิฟ้องผูอ้ ื่นฐานเอาชื่อ รู ป รอยประดิษฐ์ หรื อข้อความใดๆ
ในการประกอบการค้าของตนไปใช้ ตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๒๗๒(๑)
4. สิ ทธิที่จะฟ้ องผูอ้ ื่นฐานปลอมเครื่ องหมายการค้า ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๓ และพระราชบัญญัติเครื่ องหมาย
การค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๘
5. สิ ทธิที่จะฟ้ องผูอ้ ื่นฐานเลียนเครื่ องหมายการค้า ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๔ และพระราชบัญญัติเครื่ องหมาย
การค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๐๙
6. สิ ทธิฟ้องผูน้ าเข้ามาในราชอาณาจักร จาหน่าย หรื อเสนอ
จาหน่ายสิ นค้าซึ่งเอาเครื่ องหมายการค้าของตนไปใช้ หรื อมี
เครื่ องหมายการค้าปลอมหรื อเลียนเครื่ องหมายการค้าที่จด
ทะเบียนแล้ว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๕ และ
พระราชบัญญัติเครื่ องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐
7. สิ ทธิในการคัดค้านการขอจดทะเบียนตามมาตรา ๓๕
8. สิ ทธิในการร้องขอเพิกถอนการจดทะเบียนตามมาตรา ๖๑
9. สิ ทธิฟ้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนตามมาตรา ๖๗
10.สิ ทธิที่จะฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหายฐานลวงขายตามมาตรา ๔๖
วรรคสอง
11.สิ ทธิที่จะฟ้ องห้ามมิให้ผอู้ ื่นใช้เครื่ องหมายการค้าจดทะเบียน
เป็ นชื่อสานักงานการค้าของตนโดยไม่สุจริ ต (มาตรา ๔๗)
สิ ทธิของเจ้ าของเครื่องหมายการค้ า
1. สิ ทธิที่จะฟ้ องผูอ้ ื่นฐานเอาชื่อ รู ป รอยประดิษฐ์ หรื อข้อความ
ใดๆในการประกอบการค้าของตนไปใช้ตามที่บญั ญัติเอาไว้ใน
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๒(๑)
2. สิ ทธิฟ้องผูอ้ ื่นฐานนาเข้ามาในราชอาณาจักร หรื อเสนอ
จาหน่ายสิ นค้าที่มีชื่อรู ป รอยประดิษฐ์หรื อข้อความใดๆ ใน
การประกอบการค้าของตน ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๒๗๕
3. สิ ทธิที่จะอุทธรณ์คาวินิจฉัยของคณะกรรมการเครื่ องหมาย
การค้า โดยฟ้ องคดีต่อศาลเพื่อแสดงว่าตนมีสิทธิดีกว่าผูข้ อจด
ทะเบียนรายอื่น (มาตรา ๒๐, ๒๑, ๒๔, ๓๕, ๓๖, ๓๗ และ
๓๘
4. สิ ทธิร้องขอต่อคณะกรรมการให้ส่งเพิกถอนการจดทะเบียน
เครื่ องหมายการค้าตามมาตรา ๖๑
5. สิ ทธิร้องต่อศาลขอให้สงั่ เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมาย
การค้าตามมาตรา ๖๗ (หากแสดงได้วา่ ตนมีสิทธิ ใน
เครื่ องหมายการค้านั้นดีกว่าผูซ้ ่ ึงได้จดทะเบียนเป็ นเจ้าของ
เครื่ องหมายการค้านั้น)
6. สิ ทธิร้องขอต่อศาลให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมาย
การค้าตามมาตรา ๖๖ (หากแสดงได้วา่ เครื่ องหมายการค้านั้น
กลายเป็ นสิ่ งสามัญในการค้าขาย)
7. สิ ทธิที่จะฟ้ องว่าผูอ้ ื่นทาการลวงขาย (มาตรา ๔๖ วรรคสอง)
ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับการคัดค้ านการขอจดทะเบียนตาม ม.๓๕
 โดยปกติผยู้ นื่ คาคัดค้านจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับการขอจดทะเบียน
แต่แรก – เมื่อทราบจากประกาศโฆษณาแล้วจึงยืน่ คาคัดค้าน –
กรณี มีผยู้ นื่ คาขอจดทะเบียนเครื่ องหมายที่เหมือนหรื อคล้ายกัน
หลายราย นายทะเบียนสัง่ ประกาศโฆษณาคาขอรายหนึ่งไป ผู ้
ขอรายที่สองคัดค้านตาม ม.๓๕ หากวินิจฉัยว่าผูค้ ดั ค้านมีสิทธิ
ดีกว่า และเครื่ องหมายของผูค้ ดั ค้านมีลกั ษณะอันพึงรับจด
ทะเบียนได้ – นายทะเบียนสัง่ รับจดทะเบียนได้โดยไม่ตอ้ ง
ประกาศ (ม.๔๑)
 ถ้ายืน่ คาคัดค้านแล้วหากจะฟ้ องศาลต้องทาตามลาดับ – ต้อง
อุทธรณ์คาวินิจฉัยของนายทะเบียนต่อคณะกรรมการก่อน แล้ว
จึงอุทธรณ์คาวินิจฉัยของคณะกรรมการโดยฟ้ องต่อศาล – หาก
ไม่ได้ยนื่ คาคัดค้านตาม ม.๓๕ จนนายทะเบียนจดทะเบียนแล้ว
– ยังมีกรณี ร้องขอต่อคณะกรรมการให้เพิกถอนการจดทะเบียน
ได้ตาม ม.๖๑ (เหตุเพราะการจดทะเบียนไม่ชอบตาม ม.๖(๑)(๔) – หรื ออาจร้องโดยฟ้ องต่อศาลขอให้เพิกถอนการจด
ทะเบียนได้ตาม ม.๖๗ (โดยอ้างว่าตนเป็ นผูม้ ีสิทธิดีกว่า)
ข้ อสั งเกตการร้ องขอให้ เพิกถอนการจดทะเบียนตาม ม.๖๑
 ในการร้องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนตาม ม.๖๑ ประเด็นใน
การพิจารณาจะมีประเด็นพิจารณาตามเหตุที่ตอ้ งเพิกถอนตาม ม.
๖๑(๑)-(๔) นัน่ เอง โดยเฉพาะใน (๓) และ (๔) จะมีประเด็นเรื่ อง
ความเหมือนคล้ายกับประเด็นสิ นค้ามีลกั ษณะอย่างเดียวกัน
หรื อไม่เท่านั้น ต่างจากกรณี ตาม ม.๖๗ ซึ่งจะเป็ นประเด็นว่าใคร
มีสิทธิดีกว่ากัน
ข้ อสั งเกตในการฟ้องต่ อศาลขอให้ เพิกถอนการจดทะเบียนตาม ม.๖๗
 หากเปรี ยบเทียบกับการคัดค้านการขอจดทะเบียนตาม ม.๓๕ แล้ว
เห็นได้วา่ เจ้าของเครื่ องหมายที่มีสิทธิดีกว่าอาจยืน่ คาคัดค้านใน
ขั้นตอนการจดทะเบียนตาม ม.๓๕ ถ้ามีคาวินิจฉัยของนายทะเบียน
แล้วอาจมีการอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการตามลาดับมาจนถึงชั้นศาล
ถ้าไม่อุทธรณ์ต่อศาล คาวินิจฉัยของคณะกรรมการก็เป็ นที่สุด แต่ถา้
ไม่คดั ค้านตาม ม.๓๕ ยังมีสิทธิตาม ม.๖๗ นี้ เพราะเป็ นคนละ
ขั้นตอนกัน กฎหมายไม่ได้จากัดว่า หากไม่คดั ค้านตาม ม.๓๕ แล้ว
จะสิ ทธิในการฟ้ องคดีตาม ม.๖๗ แต่อย่างใด
 การใช้สิทธิตาม ม.๖๗ นี้ต่างกับ ม.๖๑ ที่ ม.๖๑ เป็ นกรณี ร้อง
ขอต่อคณะกรรมการ ส่ วน ม.๖๗ เป็ นกรณี ฟ้องต่อศาล และ
เหตุที่ขอเพิกถอนก็แตกต่างกัน โดย ม.๖๑(๓) และ (๔) เป็ น
เรื่ องความเหมือนคล้ายและสิ นค้ามีลกั ษณะอย่างเดียวกัน
หรื อไม่ และคณะกรรมการหรื อศาลวินิจฉัยถึงที่สุดใน
ประเด็นดังกล่าวแล้วหรื อไม่ ผูม้ ีสิทธิดีกว่าทีแ่ พ้คดีใน
ประเด็นตาม ม.๖๑(๓) และ (๔) ยังอาจใช้สิทธิฟ้องคดีตาม ม.
๖๗ ได้อีก เพราะประเด็นที่ตอ้ งวินิจฉัยต่างจากประเด็นตาม
ม.๖๑(๓) และ (๔)
 การฟ้ องคดีขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายตาม ม.
๖๗ เป็ นกรณี ที่กฎหมายให้สิทธิแก่เจ้าของเครื่ องหมายผูม้ ีสิทธิ
ดีกว่าฟ้ องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่ องหมายของผูอ้ ื่นไว้
โดยเฉพาะ ไม่ใช่กรณี ตอ้ งห้ามฟ้ องตาม ม.๔๖ วรรคหนึ่ง และถ้า
จาเลยกระทาละเมิดด้วยการลวงขายตาม ม.๔๖ วรรคสอง ทั้งยัง
นาเครื่ องหมายของผูถ้ ูกละเมิดมาจดทะเบียนเป็ นของจาเลยเอง
ด้วย เช่นนี้ เจ้าของเครื่ องหมายซึ่ งมีสิทธิดีกว่าก็มีสิทธิฟ้องทั้ง
เหตุที่จาเลยได้ทาการลวงขายตาม ม.๔๖ วรรคสอง และใช้สิทธิ
ตาม ม.๖๗ ได้พร้อมกัน