เสียงที่เกิดจากหน้าที่การทำงาน

Download Report

Transcript เสียงที่เกิดจากหน้าที่การทำงาน

การให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้า
เสี ยงและกลิ่น
โดย
นายอมริ นทร์ ม่วงมณี
สมาชิกสมาคมทรัพย์สินทางปั ญญาแห่ งประเทศไทย
วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ 2553
ความหมายและความสาคัญของเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
• เป็ นเครื่ องหมายที่ไม่สามารถเห็นได้ดว้ ยตา แต่ใช้เสี ยงเป็ นสื่ อในการ
สังเกตจดจาและแยกความแตกต่างจากเครื่ องหมายการค้าเสี ยงของบุคคล
อื่นรวมทั้งแตกต่างจากเครื่ องหมายคาและรู ปในแบบดั้งเดิม
• นิยมใช้ในธุรกิจทางด้านการโฆษณา รายการทางโทรทัศน์ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ธุรกิจการค้าต่าง ๆการจาหน่ายสิ นค้าไอศกรี ม เป็ นต้น
ตัวอย่างเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
74309951 thx.mp3
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมาย
การค้าเสี ยง
1 ต้องมีลกั ษณะเป็ นเครื่ องหมายและต้องมีเครื่ องมือหรื อสัญลักษณ์เพื่อ
แสดงให้เห็นถึงความมีอยูข่ องเครื่ องหมายซึ่งเรี ยกว่าการแสดงให้เห็นเป็ น
รู ปธรรมของตัวเครื่ องหมาย (Graphic representation )
2 ต้องมีการกาหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความมีลกั ษณะบ่งเฉพาะของ
เครื่ องหมาย
3 ต้องพิจารณาถึงขอบเขตของการให้ความคุม้ ครอง
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมาย
การค้าเสี ยงในประเทศสหรัฐอเมริ กา
มีบทนิยามหรื อการตีความที่ให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายทีร่ วมถึง
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง
ต้ องมีลกั ษณะเป็ นเครื่องหมายและต้ องมีเครื่องมือหรือสั ญลักษณ์ เพือ่
แสดงให้ เห็นถึงความมีอยู่ของเครื่องหมายซึ่งเรียกว่ าการแสดงให้ เห็น
เป็ นรูปธรรมของตัวเครื่องหมาย(Graphic
representation)
• ต้องมีลกั ษณะบ่งเฉพาะ
• ไม่เหมือนหรื อคล้ายกับเครื่ องหมายของบุคคลอื่นที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว
• มีขอบเขตของการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายประเภทนี้
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงเครื่ องหมายแรกที่ได้รับการจด
ทะเบียนในสหรัฐอเมริ กา
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยงของรายการทางสถานีโทรทัศน์ NBC จด
ทะเบียนในปี ค.ศ 1950 ทะเบียนเลขที่ 523,616
•
ตัวอย่างเครื่ องหมายการค้าเสี ยงอื่น ๆ
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง” A series of musical chimes”
ทะเบียนเลขที่ 916,522 ในปี ค.ศ 1971
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง” The ringing of the Liberty
Bell “ ทะเบียนเลขที่ 548,458 ในปี ค.ศ 1951
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง “ The sound of a creaking
door “ ทะเบียนเลขที่ 556,780 ในปี ค.ศ 1952,
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง “ The audio and visual
representation of coin spinning on a hard
surface “ ทะเบียนเลขที่ 641,872 ในปี ค.ศ 1957
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง” A sound consisting of three
short pulses followed by a long pulse “
ทะเบียนเลขที่ 922,585 ในปี ค.ศ 1971 เป็ นต้น
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง” The mark consists of the spoken
letters AT&T” ทะเบียนเลขที่ 1,76,724 ของ AT&T,Inc
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง” The mark consists of a human
voice making quacking noises like duck” ทะเบียนเลขที่
75,449,342 ของ Boston Duck Tours
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง” The mark consists of the sound
of a howling wolf” ทะเบียนเลขที่ 2,207,874 ของ
Anheuser-Busch, Inc ,
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง” The mark consists of the
spoken word YOU GOT MAIL” ทะเบียนเลขที่
75,528,557 ของ American Online Inc
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง” The mark consists of the
sound of clop clop clop –moo “ ทะเบียนเลขที่
1,590,207,ของ Yet , Inc.
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง Nokia theme ทะเบียนเลขที่
75,743,899
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง Yahoo ทะเบียนเลขที่
75,807,526
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงLooney Tunes
ทะเบียนเลขที่ 75,934,534
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง Golden Harvest
ทะเบียนเลขที่ 76,530,032
http://www.uspto.gov/web/offices/ac/ahrpa/opa/kids/kidsound.html
วิธีการแสดงให้เห็นเป็ นรู ปธรรมในเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
(Graphic representation)ในประเทศ
สหรัฐอเมริ กา
• ใช้วิธีการบันทึกลักษณะของเสี ยงหรื อบรรยายลักษณะการเรี ยกขานของ
เสี ยง เช่น บรรยายว่า เป็ นเสี ยงตะโกนคาว่า ยาฮู ้ หรื อบรรยายว่าเป็ นเสี ยง
ร้องของสัตว์ เสี ยงโห่ร้องของทาร์ซาน
การรับจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าเสี ยงโดยแสดงแต่
อักษรที่เป็ นตัวโน๊ต
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง “The mark consists of the notes
C,D,E,C,D,G พร้อมด้วยคาบรรยายที่วา่ Radio Variedades”
ทะเบียนเลขที่ 1,471,674 ของ Radio Variedades
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง “The mark consists of jingle which
comprise the tune having the following
sequence of notes :C,D,C,D,C,D,CD,&G . Each
of the notes of the sequence are eighth notes
with the exception of the last D Note which is a
quarter note”“ ทะเบียนเลขที่ 1,741,879 ของ Wawa ,Inc
ใช้วธิ ี แสดงออกเป็ นรู ปธรรมโดยการบรรยาย เช่น The
sound mark NBC
• THE MARK COMPRISES A SEQUENCE
OF CHIME-LIKE MUSICAL NOTES
WHICH ARE IN THE KEY OF C AND
SOUND THE NOTES G, E, C, THE "G"
BEING THE ONE JUST BELOW MIDDLE
C, THE "E" THE ONE JUST ABOVE
MIDDLE C, AND THE "C" BEING MIDDLE
C, THEREBY TO IDENTIFY
APPLICANT'S BROADCASTING
SERVICE.
The sound of the famous
Tarzan yell
• The mark consists of the sound of the famous Tarzan yell. The mark
is a yell consisting of a series of approximately ten sounds,
alternating between the chest and falsetto registers of the voice, as
follow - 1) a semi-long sound in the chest register, 2) a short sound up
an interval of one octave plus a fifth from the preceding sound, 3) a
short sound down a Major 3rd from the preceding sound, 4) a short
sound up a Major 3rd from the preceding sound, 5) a long sound
down one octave plus a Major 3rd from the preceding sound, 6) a
short sound up one octave from the preceding sound, 7) a short
sound up a Major 3rd from the preceding sound, 8) a short sound
down a Major 3rd from the preceding sound, 9) a short sound up a
Major 3rd from the preceding sound, 10) a long sound down an
octave plus a fifth from the preceding sound
• เขียนพรรณนาในลักษณะเลียนเสี ยง (Onomatopoeia) ในแบบ
คาราโอเกะ เช่น
• The mark consists of the sound of a
human voice yodeling "YAHOO".
ใช้วธิ ี การเขียนบรรยายว่าเครื่ องหมายเสี ยงมีลกั ษณะอย่างไร
หรื อ ประกอบด้วยตัวโน๊ตอะไรบ้าง(Music note)
The THX logo theme consists of 30 voices over
seven measures, starting in a narrow range, 200
to 400 Hz, and slowly diverting to pre-selected
itches encompassing three octaves. The 30
voices begin at pitches between 200 Hz and 400
Hz and arrive at pre-selected pitches spanning
three octaves by the fourth measure. The highest
pitch is slightly detuned while there are double
the number of voices of the lowest two pitches.
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงต้องมีลกั ษณะบ่งเฉพาะ
• เสี ยงที่นามาใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้านั้นต้องไม่ใช่เสียงที่เกิดจากสภาพ
หรื อหน้าที่การทางานของสิ นค้าที่ขอจดทะเบียน
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง ต้องเล็งถึงลักษณะหรื อคุณสมบัติของสิ นค้าที่ขอ
จดทะเบียนโดยตรง เช่น เสี ยงของเครื่ องยนต์ ในกรณี ยนื่ ขอจดทะเบียน
กับสิ นค้ารถยนต์หรื อรถจักรยานยนต์
• คดี Harley-Davidson
ตัวอย่างเปรี ยบเทียบเสี ยงของเครื่ องยนต์
• http://www.bc.edu/bc_org/avp/law/st_org/iptf/
articles/content/1998101101.html
Harley-Davidson Fatboy
Honda Shadow Ace 1100
ตัวอย่างเครื่ องหมายการค้าเสี ยงที่มีลกั ษณะบ่งเฉพาะ
• เครื่ องหมายซึ่งเป็ นเสี ยงดนตรี ในช่วงสั้นๆ (Jingle) หรื อเสี ยงที่เปล่ง
ออกมาในลักษณะที่โดดเด่นและไม่มีลกั ษณะที่เกี่ยวข้องกับสิ นค้าที่ขอ
จดทะเบียน ย่อมมีลกั ษณะบ่งเฉพาะในตัวเอง เช่น เครื่ องหมายการค้า
เสี ยง Jingle ของระบบ THX ที่ใช้ในตอนต้นก่อนการฉาย
ภาพยนตร์
ไม่เหมือนหรื อคล้ายกับเครื่ องหมายของบุคคลอื่นที่ได้จด
ทะเบียนไว้แล้ว
• เนื่องจากอยูใ่ นช่วงเริ่ มต้นของการให้ความคุม้ ครอง จึงยังไม่มี
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงที่เหมือนหรื อคล้ายกันขึ้นสู่การพิจารณา
ขอบเขตของการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้าเสี ยงใน
ประเทศสหรัฐอเมริ กา
สารบบทะเบียนเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
• สหรัฐฯได้เก็บสารบบทะเบียนเครื่ องหมายประเภท Sensory
Mark หรื อเครื่ องหมายประเภทที่ไม่สามารถตรวจค้นได้จากคา(No
drawing-sensory mark) ไว้ต่างจากเครื่ องหมายแบบเดิม
• เก็บไว้ในรู ปข้อมูลแบบอิเลคทรอนิคส์ในแบบ File เสี ยง
• ใช้คาบรรยายถึงลักษณะของเสี ยง
• ใช้ตวั โน๊ตหรื อใช้กราฟคลื่นเสี ยง(Sonogram)
• ใช้บรรทัดห้าเส้น(Stave divided) ควบคู่ไปกับการใช้โน้ตดนตรี
สามารถตรวจค้นเครื่ องหมายการค้าเสี ยงในประเทศสหรัฐฯ
ผ่านทางเว็บไซท์ www.uspto.gov
• จากหน้าโฮมเพส ให้ไปที่ Trademark Electronic
Search System หรื อ TESS
• จากนั้นเลือกการตรวจค้นในแบบ Free From Search
(Advanced Search)
• จากนั้น ให้พิมพ์ “6” (MD) ซึ่งเป็ นการตรวจสอบเครื่ องหมาการค้าที่
ไม่สามารถแสดงในรู ปแบบคาหรื อรู ป
การให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้าเสี ยงในประเทศ
ออสเตรเลีย
• มีบทนิยามของกฎหมายเครื่ องหมายการค้าที่ให้ความคุม้ ครองรวมถึง
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง
• มีวิธีการแสดงออกที่เป็ นรู ปธรรมของตัวเครื่ องหมาย
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยงที่จะจดทะเบียนได้ตอ้ งมีลกั ษณะบ่งเฉพาะ
• ต้องไม่เหมือนหรื อคล้ายกับเครื่ องหมายการค้าของบุคคลอื่นที่ได้จด
ทะเบียนไว้ก่อนแล้ว
• ไม่มีลกั ษณะที่ตอ้ งห้ามต่อการรับจดทะเบียน
การแสดงออกที่เป็ นรู ปธรรมในเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
(Graphic representation)
• ออสเตรเลียไม่ได้ให้คาจากัดความของคาดังกล่าวเอาไว้โดยเฉพาะ
• วิธีที่ใช้ได้แก่ การใช้ตวั โน๊ต แผนภูมิ การเขียนบรรยายด้วยถ้อยคา เช่น
• การจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าเสี ยงร้องของวัว ใช้การบรรยายว่า
CLIP CLOP MOO และบันทึกเสี ยงลงในแผ่นซีดี เพื่อให้เกิด
ความชัดเจนในท่วงทานองหรื อโทนของเสี ยง
The trademark consists of a tapping sound
made by a wooden stick tapping on a metal
garbage can lid at intervals of 2 seconds of
approximately 14 second duration.. The sound
is demonstrated in the recordings accompanying
the application.”
• The trade mark consists of the sound of two
steps taken by a cow on pavement, followed by
the sound of a cow mooing (clip, clop, Moo) as
rendered in the recording accompanying the
application.
เสี ยงที่สามารถได้รับการจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
• ต้องสามารถใช้เป็ นที่หมายในการสังเกตจดจาและแยกความแตกต่างจาก
เครื่ องหมายการค้าของบุคคลอื่น
• ต้องไม่เล็งถึงลักษณะของสิ นค้าและต้องไม่ใช่เสี ยงที่มีการใช้กนั สามัญ
ในทางการค้า
• หลักเกณฑ์ในการพิจารณา
เสี ยงที่เกิดจากหน้ าทีก่ ารทางาน ( Functional
sounds) ของตัวสิ นค้ า
เสี ยงที่เกิดจากหน้าที่ของการทางานของตัวสิ นค้าเป็ นหนึ่งในเหตุที่เกิด
โดยการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ อาทิ เสี ยงท่อไอเสี ยที่มาจาก
เครื่ องยนต์ของรถมอเตอร์ไซด์เป็ นเสี ยงที่เกิดจากการทางานของ
เครื่ องยนต์ จึงเป็ นเสี ยงที่ผปู ้ ระกอบการรายอื่นๆ ต้องการใช้กบั สิ นค้า
ของตนและเป็ นเสี ยงที่ไม่สมควรให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดได้ถอื สิ ทธิแต่
เพียงผูเ้ ดียว
เสี ยงซึ่งมีคุณสมบัตใิ นการใช้ แยกความแตกต่ างจากเสี ยงอืน่ ๆ
• เสี ยงซึ่งไม่ได้เกิดจากหน้าที่การทางานของตัวสิ นค้าหรื อเสี ยงที่มีการใช้
กันสามัญในทางการค้าขายกับสิ นค้า/บริ การอย่างหนึ่งอย่างใด สามารถ
ใช้เป็ นที่หมายในการสังเกตจดจาและแยกความแตกต่างจากเสี ยงอืน่ ย่อม
สามารถใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้าเสี ยงได้
• หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความมีลกั ษณะบ่งเฉพาะ ซึ่งเป็ นบทบัญญัติที่
ใช้กบั เครื่ องหมายการค้าแบบดั้งเดิมไม่สมควรนามาใช้กบั เครื่ องหมาย
ประเภทนี้
ตัวอย่ างการพิจารณาเครื่องหมายการค้ าเสี ยงทีจ่ ดได้
• สานักงานเครื่ องหมายการค้าแห่ งประเทศออสเตรเลีย ให้ตวั อย่างลักษณะของ
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงที่มีลกั ษณะบ่งเฉพาะไว้ ได้แก่
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยงหอนของหมาป่ า ใช้กบั สิ นค้าเบียร์ ไวน์และสุรา
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยงหัวเราะของเด็ก ใช้กบั สิ นค้าเสื้ อผ้าเด็ก หนังสื อ
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยงเลื่อยยนต์
ใช้กบั บริ การขายหนังสื อ เสื้อผ้าและ
อาหาร
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยงสั่นกระดิ่ง
ใช้กบั บริ การภัตตาคาร
ตัวอย่างการพิจารณาเสี ยงที่ไม่สามารถจดทะเบียนได้
เพราะเล็งถึงลักษณะหรื อคุณสมบัติของสิ นค้า/บริ การต่าง ๆ
• เสี ยงดนตรี จงั หวะวอลล์หรื อจังหวะแทงโก้ กับบริ การสอนเต้นรา
• เสี ยงเด็กหัวเราะ
กับบริ การดูแลเด็ก
• เสี ยงสตาร์ทเครื่ องยนต์และเสี ยงของรถยนต์ในการเคลื่อนตัว กับบริ การ
ขายหรื อซ่อม ยานยนต์
เสี ยงที่ไม่สามารถนามาใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้าเสี ยงเพราะ
เป็ นสิ่ งที่ใช้กนั สามัญในทางการค้าขาย
• เสี ยงของเลื่อยยนต์
กับบริ การซ่อมแซมเลื่อยยนต์
• เสี ยงของเครื่ องเก็บเงิน
กับบริ การจาหน่ายขายปลีกสินค้า
• เสี ยงปิ๊ งแสดงการหยุดการทางานของไมโครเวฟ กับสิ นค้าไมโครเวฟ
• การพิจารณาความเหมือนหรื อคล้ายของเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
• ขอบเขตของการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
สารบบทะเบียนเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
•
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง ทะเบียนเลขที่ 844282 ของบริ ษทั Intel
Corporation จาพวก 9 ซึ่งมีคาพรรณนาว่า” Five tone
audio progression” และมีการนาเสนอรู ปตัวโน๊ต ดังนี้
Images for Trade Mark 844282
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง ทะเบียนเลขที่ 975660 ของบริ ษทั
Deutsche Telekom AG จาพวก 9 ซึ่งมีคาพรรณนาแต่
เพียงว่า” So: 5 musical notes” และมีการนาเสนอรู ป
ตัวโน๊ต ดังนี้
การให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้าเสี ยงตามกฎหมาย
ของสหภาพยุโรป
• ตามมาตรา 4 แห่ง The Community Trade Marks
Regulation EC/40/94
• ต้องเป็ นเครื่ องหมาย
• สามารถแสดงออกที่เป็ นรู ปธรรม และ
• สามารถใช้เป็ นที่หมายในการสังเกตจดจาและแยกความแตกต่างจาก
เครื่ องหมายของบุคลอื่น
• ไม่เล็งถึงลักษณะหรื อคุณสมบัติของสิ นค้าที่ขอจดทะเบียน
• ไม่เหมือนหรื อคล้ายกับเครื่ องหมายของบุคคลอื่นที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว
วิธีการแสดงออกที่เป็ นรู ปธรรมในเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
การใช้ตวั โน๊ตดนตรี ควบคู่กบั การใช้บรรทัดห้าเส้น
การใช้กราฟคลื่นเสี ยง
การเขียนบรรยายลักษณะของเสี ยงที่นามาใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้า
การส่ งตัวอย่างของเสี ยงโดยบันทึกไว้ในซีดีหรื อ File เสี ยง
การใช้บรรทัดห้าเส้น(Stave divided) ควบคู่ไปกับ
การใช้โน้ตดนตรี
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง ของ Deutsche Telekom AG
ทะเบียนเลขที่ 729484
The sound mark Yahoo!
• ทะเบียนเลขที่ 1772086 ใน CTM
การใช้กราฟคลื่นเสี ยง(Sonogram)
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยง The roar of lion ทะเบียนเลขที่
143891 ใน CTM
การใช้วธิ ี การดังกล่าวทั้งหมดข้างต้นพร้อมกับส่ งตัวอย่าง
ของเสี ยงในรู ปแบบของ File เสี ยง
• เครื่ องหมายการค้าเสี ยงโห่ร้องของทาร์ซาน ทะเบียนเลขที่ 5090055 ใน
CTM
แนวทางของศาลในสหภาพยุโรปสาหรับการให้ความ
คุม้ ครองเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
• คดี Shield Mark BV vs. Joost h.o.d.n Memex
(C-283/01)
• โจทก์เป็ นเจ้าของเครื่ องหมายการค้าเสี ยงที่ประกอบด้วยเสี ยงของตัวโน้ต
จานวน 9 ตัวในตอนต้นของเพลง Fur Elise ซึ่งมีที่มาจากเพลง
ของ Beethoven และยังประกอบด้วยเสี ยงไก่ขนั
• โจทก์ฟ้องจาเลยในข้อหาละเมิดเครื่ องหมายการค้าเสี ยงที่ได้จดทะเบียน
ไว้
• ประเด็นแรก ศาลยอมรับว่าเครื่ องหมายการค้าเสี ยงจานวน 9 ตัวจาก
เพลง Fur Elise สามารถนามาใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้าได้เพราะ
ตรงตามบทนิยามที่มีอยูใ่ นกฎหมาย ที่กาหนดว่าเครื่ องหมายการค้าอาจ
ประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่สามารถแสดงให้เห็นเป็ นรู ปธรรม ซึ่งอาจเป็ น
คา รวมทั้งชื่อบุคคล ตัวอักษร ตัวเลข รู ปร่ างหรื อรู ปทรงของวัตถุ ที่
สามารถใช้เป็ นที่หมายในการสังเกตจดจา โดยเห็นว่าเครื่ องหมายการค้า
เสี ยงจัดเป็ นสัญลักษณ์ประเภทหนึ่งที่สามารถใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้า
ได้
• ในประเด็นที่สอง เครื่ องหมายการค้าเสี ยงของโจทก์สามารถแสดงออก
ให้เห็นเป็ นรู ปธรรม ซึ่งในกรณี น้ ีคือการแสดงในหลายรู ปแบบเช่น การ
ใช้บนั ทึกเสี ยง การใช้กราฟคลื่นเสี ยง เป็ นต้น
• ข้อต่อสูข้ องจาเลยจึงฟังไม่ข้ ึน
• การพิจารณาความเหมือนหรื อคล้ายในเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
• ขอบเขตของการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
สารบบทะเบียนเครื่ องหมายการค้าเสี ยงในสหภาพยุโรป
• www.http://.oami.europa.eu/CTMOnline/Request
Manager
•
• CTM-ONLINE - Detailed results
• Search results: Found 137
List of results:Detailed
SimpleOrder by
| | | | 1 Not a word
mark Trade mark No:009478983 Type of
mark:SoundFiling date:27/10/2010Date of
registration:Nice Classification:36, 37, 39
• List of results:Detailed
Simple Order by Not a word
mark Trade mark No:009478983 Type of
mark:SoundFiling date:27/10/2010Date of
registration:Nice Classification:36, 37,
39
•
• Status: Application under examination
Formalities examinationAbsolute grounds
examinationClassification
examinationSearchesName of the
owner:Green Flag Limited
Applicant’s
reference:T118487.EM.01/SCO/JMKTrad
e mark basis:CTM
ความมีลกั ษณะบ่งเฉพาะและระดับของความมีลกั ษณะบ่ง
เฉพาะในเครื่ องหมายการค้าเสี ยง ( Spectrum of
distinctive of sound trademark)
• หมายถึง ลาดับคุณภาพของเครื่ องหมายการค้าที่สามารถทาหน้าที่ได้ดี
ที่สุดไปจนถึงลาดับที่ไม่สามารถทาหน้าที่เป็ นเครื่ องหมายการค้า
• ไม่ได้เป็ นการนาเครื่ องหมายมาเปรี ยบเทียบว่าเครื่ องหมายใดมีลกั ษณะ
บ่งเฉพาะมากกว่ากัน แต่หมายถึง ความมีลกั ษณะบ่งเฉพาะที่มอี ยูใ่ น
ตัวเครื่ องหมายนั้น ๆ เอง ว่ามีคุณค่าในตัวเองเท่าใด
แบ่งออกเป็ น 4 ลาดับโดยเปรี ยบเทียบตามแนวคาพิพากษา
ในต่างประเทศในเครื่ องหมายแบบดั้งเดิม
• 1 เครื่ องหมายที่เป็ นคาประดิษฐ์ จัดว่ามีลกั ษณะบ่งเฉพาะมากที่สุด
• 2 เครื่ องหมายในเชิงชี้แนะ ที่ผพู ้ บเห็นต้องใช้ความคิดหรื อแปล
ความหมายอีกชั้นหนึ่ง
• 3 เครื่ องหมายในเชิงพรรณนาหรื อบรรยายลักษณะหรื อคุณสมบัติของ
สิ นค้า
• 4 เครื่ องหมายที่เป็ นคาสามัญที่ใช้เรี ยกชื่อสิ นค้า หรื อเป็ นคาที่ได้มีใช้กนั
อย่างแพร่ หลายจนเป็ นสิ่ งที่ใช้กนั สามัญในทางการค้ากับสินค้า
ลาดับความมีลกั ษณะบ่งเฉพาะในเครื่ องหมายการค้าเสี ยง
• อ้างอิงแนวพิจารณาจากการพิจารณาลักษณะบ่งเฉพาะในเครื่ องหมาย
แบบดั้งเดิม แต่ควรพิจารณาเพิ่มเติมโดยคานึงลักษณะพิเศษของ
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงด้วย เช่น เครื่ องหมายการค้าคาว่า Sound
อาจเล็งถึงลักษณะของสิ นค้า ลาโพง ในจาพวก 9 แต่เครื่ องหมายเสี ยง
Ring tone ที่จดทะเบียนกับสิ นค้าจาพวก 9 ไม่พิจารณาว่าเล็งถึง
ลักษณะของสิ นค้า โทรศัพท์ เป็ นต้น
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงที่มีลกั ษณะบ่งเฉพาะในตัวเอง
• เครื่ องหมายซึ่งเป็ นเสี ยงดนตรี ในช่วงสั้นๆ (Jingle) หรื อเสี ยงที่เปล่ง
ออกมาในลักษณะที่โดดเด่นและไม่มีลกั ษณะที่เล็งโดยตรงถึงสิ นค้าที่ขอ
จดทะเบียน ย่อมมีลกั ษณะบ่งเฉพาะในตัวเอง เช่น เครื่ องหมายการค้า
เสี ยง Jingle ของระบบ THX ที่ใช้ในตอนต้นก่อนการฉาย
ภาพยนตร์ เครื่ องหมายการค้าเสี ยง Jingle ของ Twentieth
Century Fox ก่อนที่จะเข้าสู่เนื้อเรื่ องในภาพยนตร์ เครื่ องหมาย
การค้าเสี ยงของรถไอศกรี ม Walls เป็ นต้น
• การนาเสี ยงร้องของสัตว์มาเป็ นเครื่ องหมายเสี ยง เช่น เสี ยงคารามของ
สิ งโต กับสิ นค้าภาพยนตร์ เครื่ องหมายการค้าเสี ยงตะโกนคาว่า
Yahoo! กับสิ นค้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรื อบริ การอินเตอร์เน็ต
• เครื่ องหมายเหล่านี้ยอ่ มมีลกั ษณะบ่งเฉพาะในตัวเอง
เครื่ องหมายเสี ยงในลักษณะที่เป็ นการชี้แนะ
• เป็ นเครื่ องหมายที่สื่อให้เห็นถึงสิ นค้าในทางอ้อมที่ทาให้ผทู ้ ี่ได้ยนิ
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงประเภทนี้ตอ้ งคิดถึงความหมายอีกชั้นหนึ่งจึงจะ
ทราบว่าหมายถึงสิ่ งใด
• ตัวอย่าง เช่น เสี ยงริ งโทนของโทรศัพท์ เสี ยงปิ ดและเปิ ดเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
เครื่ องหมายการค้าเสี ยงที่พรรณนาหรื อบรรยายหรื อเล็งถึง
ลักษณะหรื อคุณสมบัติของสิ นค้าโดยตรง
• เครื่ องหมายเสี ยงที่มีลกั ษณะเป็ นการแสดงให้เห็นสรรพคุณหรื อบ่งบอก
ถึงคุณภาพของสิ นค้า
• ตัวอย่างเช่น เครื่ องหมายการค้า เสี ยงร้องของวัว กับสิ นค้านม
เครื่ องหมายการค้าเสี ยง เสี ยงท่อไอเสี ยของเครื่ องยนต์แบบ V Twin
ในรถจักรยานยนต์ ฮาร์เลย์เดวิดสัน เครื่ องหมายการค้าเสี ยงของ
เครื่ องยนต์ในธุรกิจซ่อมแซมรถยนต์ เป็ นต้น
เครื่ องหมายเสี ยงที่เป็ นสิ่ งสามัญ
• เป็ นเสี ยงที่เกิดจากลักษณะหรื อสภาพของตัวสิ นค้า หรื อเป็ นเสี ยงที่เกิด
จากหน้าที่การใช้งาน ( Functionality)ของตัวสิ นค้า เช่น เสี ยง
สิ้ นสุ ดการทางานในเครื่ องไมโครเวฟมาใช้เป็ นเครื่ องหมายกับสิ นค้า
ไมโครเวฟ
• การนาเสี ยงของรถพยาบาลมาใช้กบั ธุรกิจบริ การโรงพยาบาล
• การนาเสี ยงของการเปิ ดกระป๋ อง ซึ่งใช้กบั สิ นค้าน้ าอัดลม หรื อการนา
เสี ยงประทัดมาใช้กบั สิ นค้าดอกไม้ไฟ เป็ นต้น
การพิจารณาขอบเขตของการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมาย
การค้าเสี ยง
• การที่เครื่ องหมายการค้าเสี ยงมีสภาพหรื อลักษณะทางกายภาพทีแ่ ตกต่าง
จากเครื่ องหมายในแบบดั้งเดิม เพราะเป็ นการรับรู ้ได้เฉพาะจากการ ได้
ยิน
• ปัญหาจึงเกิดขึ้นว่าขอบเขตของการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมาย
ประเภทนี้จะเป็ นอย่างไร
• ขอบเขตหรื อความคุม้ ครองเครื่ องหมายประเภทนี้มีความจากัดกว่า
เครื่ องหมายแบบดั้งเดิม กล่าวคือ ในการพิจารณาความเหมือนหรื อคล้าย
จะมีการพิจารณาเฉพาะในส่ วนที่เป็ นเครื่ องหมายการค้าเสี ยงด้วยกัน
หรื อ
• หากบุคคลอื่นนาเครื่ องหมายเสี ยงที่มีแต่คล้ายกันมายืน่ ขอจดทะเบียนจะ
สามารถจดทะเบียนได้หรื อไม่
• การให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้าเสี ยงในประเทศต่าง ๆ มีการให้
ความคุม้ ครองเฉพาะเครื่ องหมายการค้าที่จดทะเบียนไว้แล้วเท่านั้น อัน
เป็ นผลมาจากขอบเขตของการให้ความคุม้ ครองที่มีลกั ษณะแคบกว่า
เครื่ องหมายการค้าในแบบดั้งเดิม
• การพิจารณาในประเด็นการละเมิดเครื่ องหมายการค้าประเภทนี้ควรมี
หลักเกณฑ์อย่างไร
http://www.blogang.com/viewblog.php
การให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้ากลิ่น
• เป็ นเครื่ องหมายที่ไม่สามารถเห็นได้ดว้ ยตา แต่ใช้กลิ่นเป็ นสื่ อในการ
สังเกตจดจาและแยกความแตกต่างจากเครื่ องหมายการค้าของบุคคลอืน่
รวมทั้งแตกต่างจากเครื่ องหมายคาและรู ปในแบบดั้งเดิม
• เริ่ มมีใช้ในธุรกิจทางด้านการโฆษณา โรงภาพพยนต์ ธุรกิจการค้าต่าง ๆ
เช่น ใช้กบั ด้ามแปรงสี ฟัน ลูกเทนนิส เป็ นต้น
ตัวอย่างเครื่ องหมายการค้ากลิ่น
• เครื่ องหมายการค้ากลิ่นหอมของดอกไม้ ที่ใช้กบั สิ นค้าเส้นด้าย (คาขอ
เลขที่ 73758429 ทะเบียนเลขที่ 1639128,US)
• เครื่ องหมายการค้ากลิ่นหอมของหญ้าตัดใหม่ ที่ใช้กบั ลูกเทนนิส
(ทะเบียนเลขที่ GB 428870)
• เครื่ องหมายการค้ากลิ่นหอมของดอกกุหลาบ ที่ใช้กบั สิ นค้ายางรถยนต์
(ทะเบียนเลขที่ GB 2001416)
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมาย
การค้ากลิ่น
1 ต้องมีลกั ษณะเป็ นเครื่ องหมายและต้องมีเครื่ องมือหรื อสัญลักษณ์เพื่อแสดง
ให้เห็นถึงความมีอยูข่ องเครื่ องหมายซึ่งเรี ยกว่าการแสดงให้เห็นเป็ น
รู ปธรรมของตัวเครื่ องหมาย (Graphic representation )
2 ต้องมีการกาหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความมีลกั ษณะบ่งเฉพาะของ
เครื่ องหมาย
3 ต้องพิจารณาถึงขอบเขตของการให้ความคุม้ ครอง
ต้องมีลกั ษณะเป็ นเครื่ องหมายและต้องมีเครื่ องมือที่แสดงให้
เห็นถึงความมีอยูข่ องเครื่ องหมายหรื อวิธีแสดงให้เห็นเป็ น
รู ปธรรมของตัวเครื่ องหมาย
• ในช่วงเริ่ มต้น เครื่ องหมายการค้ากลิ่นที่ได้รับการจดทะเบียนจะใช้
วิธีการแสดงออกที่เป็ นรู ปธรรมโดยการบรรยายลักษณะของกลิ่น เช่น
• “The mark is a high impact, fresh, floral
fragrance reminiscent of plumeria
blossoms (เครื่ องหมายกลิ่นหอมของดอกไม้ที่ใช้กบั สิ นค้า
เส้นด้าย)
• The smell of fresh cut grass (เครื่ องหมายการค้ากลิ่น
ของหญ้าตัดใหม่ ที่ใช้กบั ลูกเทนนิส)
คดี The Sieckmann-Case (C-273/00)
• คดีระหว่าง Sieckmann v Deutsches PatentMarkenamt
• Mr. Sieckmann ได้ยนื่ ขอจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้ากลิ่น
ของสารเมธิล ซินนาเมท (Methyl Cinnamate) สาหรับ
ธุรกิจบริ การโฆษณา การศึกษาและการสอนด้านการรักษาสัตว์ โดยได้
แสดงออกที่เป็ นรู ปธรรมด้วยวิธีการส่ งตัวอย่างกลิ่นและคาพรรณนา
ประกอบว่า “กลิ่นหอมแบบผลไม้และผสมกับกลิ่นของซินนามอน
เล็กน้อย” รวมทั้งได้แสดงถึงสูตรทางเคมีไว้วา่ C6H5CH=CHCOOCH3
ความเห็นของศาล
• เครื่ องหมายกลิ่น ตามที่ยนื่ ขอจดทะเบียนซึ่งได้นาเสนอข้อเท็จจริ งเพื่อ
พิสูจน์การแสดงออกที่เป็ นรู ปธรรมไว้วา่
• 1) การใช้สูตรทางเคมี
• 2) การเขียนพรรณนาลักษณะของกลิ่น
• 3) การใช้วิธีการนาส่ งตัวอย่างของกลิ่น
• 4) การใช้วิธีการทั้งสามข้างต้นรวมกัน
• วิธีการทั้งหมดเป็ นสิ่ งที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงการมีรูปธรรมของ
เครื่ องหมายการค้ากลิ่น เนื่องจากการแสดงออกด้วยวิธีการนาเสนอสูตร
ทางเคมีน้ นั ไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงลักษณะสาคัญของกลิ่นเพราะ
แสดงให้เห็นเพียงแต่สญ
ั ลักษณ์ของตัวเองเท่านั้น การพรรณนาลักษณะ
ของกลิ่นนั้นไม่สามารถแสดงได้อย่างชัดเจนและแม่นยารวมทั้งระบุถึง
กลิ่นได้อย่างแน่นอน ส่ วนการนาส่ งตัวอย่างของกลิ่นนั้นไม่เป็ นไปตาม
มาตรา 2 ของ The Directive 89/104/EEC อีกทั้งตัว
อย่างของกลิ่นนั้นเป็ นสิ่ งที่ไม่คงทน ทาให้เกิดการเพี้ยนของกลิ่นและอาจ
ระเหยหายไปได้ง่าย
แนวทางในการพิจารณาถึงวิธีการแสดงออกที่เป็ นรู ปธรรม
ของเครื่ องหมายการค้ากลิ่น
•
•
•
•
•
•
•
ชัดเจน
มีความแน่นอน
มีลกั ษณะพิเศษโดยตัวเอง
เข้าถึงหรื อตรวจสอบได้ง่าย
สามารถเข้าใจได้ง่าย
มีสภาพที่อยูไ่ ด้นาน และ
ไม่เปลี่ยนสภาพได้ง่าย
• หลักเกณฑ์ท้ งั 7 ประการดังกล่าวข้างต้นเป็ นหลักเกณฑ์ที่มีความเข้มงวด
อย่างมากในการพิจารณาถึงการแสดงออกที่เป็ นรู ปธรรมของ
เครื่ องหมายการค้ากลิ่น หลักเกณฑ์ดงั กล่าวจึงเป็ นที่รู้จกั กันในชื่อของ”
Sieckmann Seven” แนวทางการพิจารณาที่มีความเข้มงวด
ดังกล่าวของศาลส่ งผลให้การขอจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้ากลิน่ ใน
ภายหลังจากคดีน้ ีเป็ นสิ่ งที่ไม่สามารถทาได้ ทั้งในยุโรปและในเอเชีย
เครื่ องมือที่พยามนามาใช้ในการแสดงให้เห็นถึงการ
แสดงออกที่เป็ นรู ปธรรมในเครื่ องหมายกลิ่น
• ใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่า จมูกอิเลคทรอนิกส์
• ใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่า วิธีแก๊สโครมาโตกราฟฟี
• ใช้วิธี Olfactory display คือใช้เครื่ องพิมพ์ Ink jet แต่
เปลี่ยนจากผงหมึก เป็ นหัวน้ าหอมของกลิ่นมะนาว ลาเวนเดอร์ แอปเปิ ล
ซินนามอน(อบเชย) พ่นออกมาในความเร็ ว 1 พิโครลิตร ต่อ 100
มิลลิวินาที เพื่อให้ประสาทรับกลิ่นของมนุษย์รับได้ แต่วิธีการนี้กาลังอยู่
ในช่วงของการทดลอง
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความมีลกั ษณะบ่งเฉพาะ
ของเครื่ องหมายกลิ่น
• กลิ่นที่มีอยูต่ ามธรรมชาติหรื อกลิ่นที่สงั เคราะห์ นามาใช้กบั สิ นค้าที่โดย
สภาพแล้วไม่มีกลิ่น เช่น กลิ่นของดอกไม้ใช้กบั สิ นค้าเส้นด้าย กลิ่นของ
เบอร์รี่ที่ใช้กบั แปรงสี ฟัน จึงย่อมมีลกั ษณะบ่งเฉพาะในตัวเอง
• กลิ่นที่มีลกั ษณะในเชิงชี้แนะ เช่น กลิ่นหอมของหญ้าตัดใหม่ที่นามาใช้
กับลูกเทนนิส ซึ่งทาให้ผบู ้ ริ โภครู ้สึกสดชื่นเหมือนกับเล่นเทนนิสใน
สนามหญ้า
• กลิ่นที่มีลกั ษณะบรรยายหรื อเล็งถึงลักษณะของสิ นค้า เช่น กลิ่นหอม
ของดอกไม้ กับบริ การรับจัดดอกไม้ กลิ่นหอมของอาหาร กับบริการ
ร้านอาหาร
• กลิ่นที่มีลกั ษณะของการทาหน้าที่ของตัวสิ นค้า ได้แก่กลิ่นที่เล็งถึง
ลักษณะหรื อคุณสมบัติของสิ นค้า และกลิ่นหอมที่ใช้กบั สินค้าน้ าหอม
• กลิ่นที่เป็ นสิ่ งสามัญในทางการค้า เช่น กลิ่นมะนาวที่ใช้กบั สิ นค้าน้ ายา
ล้างจาน
ขอบเขตของการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้ากลิ่น
• ลักษณะทางกายภาพหรื อสภาพของกลิ่น เป็ นสิ่ งที่มีอยูอ่ ย่างจากัด
กล่าวคือ หากนากลิ่นใดกลิ่นหนึ่งมาใช้เป็ นเครื่ องหมายการค้ากับสิ นค้า
ประเภทใดแล้ว ย่อมเป็ นการผูกขาดและห้ามมิให้บุคคลอื่นนากลิ่น
เดียวกันมาใช้กบั สิ นค้านั้นอีก
• เมื่อพิจารณาร่ วมกับความสามารถในการรับกลิ่นของมนุษย์ทมี่ ีอยูอ่ ย่าง
จากัดและไม่สามารถแยกรายละเอียดของกลิ่นได้มาก
• ขอบเขตในการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้ากลิ่นจึงต้องจากัด
หรื อแคบกว่าเครื่ องหมายการค้าในแบบดั้งเดิม
• ในปัจจุบนั ยังไม่มีแนวทางในการพิจารณาร่ วมกันในประเทศต่าง ๆ
เกี่ยวกับการให้ความคุม้ ครองเครื่ องหมายการค้ากลิ่น มีแต่แนวของศาล
ในสหภาพยุโรปในคดี Sieckmann ที่วางแนวทางการปฏิเสธการ
รับจดทะเบียนเครื่ องหมายการค้ากลิ่น
• หลักเกณฑ์ในการพิจารณาการละเมิดเครื่ องหมายการค้ากลิ่นควรเป็ น
เช่นไร เพราะกลิ่นนั้นเป็ นสิ่ งยากสาหรับมนุษย์แต่ละคนจะให้คาจัด
ความในเรื่ องความเหมือนหรื อคล้ายของกลิ่น
ข้อเสนอแนะและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น