พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497

Download Report

Transcript พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497

Section 4
AIRCRAFT MAINTENANCE
Regulations & Requirements for
Aircraft Maintenance
1
Apr-15
AVIATION LAWS
Authority
3
☺
☺
☺
☺
☺
☺
ICAO Annexes
FAA Regulations (FAR)
EASA Regulations (JAA Joint Aviation Authorities -JAR)
Thai DCA Law & Regulations
NAA National Aviation Authority
- CASA Regulations (Australia)
- CAA Civil Aviation Authority (UK)
IOSA Requirements
Apr-15
Apr-15
กรมการบินพลเรือน
Department of Civil Aviation
4
กรมการบินพลเรือน
Department of Civil Aviation
 กฎหมายลายลักษณะอักษร (ทัว่ ไป) แบ่ งแยกออกเป็ น 3 ประเภท คือ
 1. กฎหมายลายลักษณ์อกั ษร ซึ่งบัญญัตขิ ้ น
ึ โดยฝ่ ายนิตบิ ญ
ั ญัติ แบ่งออกเป็ น
1.1 พระราชบัญญัติ
 2. กฎหมายลายลักษณ์อกั ษร ซึ่งบัญญัตขิ ้ น
ึ โดยฝ่ ายบริหาร แบ่งออกเป็ น
2.1 พระราชกาหนด
2.2 พระราชกฤษฎีกา
2.3 กฎกระทรวง
 3. กฎหมายลายลักษณ์อกั ษร ซึ่งบัญญัตขิ ้ น
ึ โดยองค์การบริหารส่วนท้ องถิ่น
3.1 ข้ อบัญญัตจิ ังหวัด
3.2 เทศบัญญัติ
3.3 ข้ อบังคับสุขาภิบาล
3.4 ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร
3.5 ข้ อบัญญัตเิ มืองพัทยา
5
Apr-15
กรมการบินพลเรือน
Department of Civil Aviation
ความเป็ นมา
 ในปี พ.ศ. 2468 ประเทศไทยได้จดั ตั้งกองบินพลเรื อน กรมบัญชาการกระทรวงพาณิ ชย์และคมนาคม
 พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนจากกองบินพลเรื อนเป็ นกองการบินพาณิ ชย์ กระทรวง เศรษฐการ
 พ.ศ. 2484 กรมการขนส่ ง โอนกลับมาขึ้นกับกระทรวงคมนาคม
 พ.ศ. 2485 เป็ น กองขนส่ งทางอากาศ กรมการขนส่ ง กระทรวงคมนาคม
 พ.ศ. 2491 แยกการบินพลเรื อน ออกจากการบินทหาร และโอนกิจการให้กระทรวงคมนาคม
 พ.ศ. 2497 ยกฐานะเป็ น สานักงานการบินพลเรื อน สังกัดกรมการขนส่ ง กระทรวงคมนาคม
 พ.ศ. 2506 ยกฐานะเป็ น กรมการบินพาณิ ชย์
 พ.ศ. 2545 เปลี่ยนชื่อเป็ น “กรมการขนส่ งทางอากาศ”
 พ.ศ. 2552 เปลี่ยนชื่อเป็ น “กรมการบินพลเรื อน ”
6
Apr-15
หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรมการบินพลเรือน
 ดาเนิ นการตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ กฎหมายว่าด้วยความผิดบางประการ ต่อการ







7
เดินอากาศ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการบินพลเรื อนของประเทศ
ส่ งเสริ มและพัฒนาเครื อข่ายระบบการขนส่ งทางอากาศ อุตสาหกรรมการบินและการบินพลเรื อน
ดาเนินการจัดระเบียบการบินพลเรื อน
กาหนดมาตรฐาน กากับ ดูแลและตรวจสอบการดาเนินการด้านการบินพลเรื อน
จัดให้มีและดาเนินกิจการท่าอากาศยานในสังกัดกรม
ร่ วมมือและประสานงานกับองค์การหรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศ และต่างประเทศใน
ด้านการบิน พลเรื อน และในส่ วนที่เกี่ยวกับอนุสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศ
ปฎิบตั ิการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็ นอานาจหน้าที่ของกรมหรื อตามที่กระทรวงหรื อ
คณะรัฐมนตรี มอบหมาย
Apr-15
8
Apr-15
กรมการบินพลเรือน
Department of Civil Aviation
กฎหมายข ้อบังคับ กรมการบินพลเรือน
- พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
กฎกระทรวง
- คาสงั่ อนุกรรมการการบินพลเรือน
- คาสงั่ กระทรวงคมนาคม
-
- ข ้อบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน
- ประกาศกระทรวงคมนาคม
- ระเบียบปฏิบต
ั ิ / คาสงั่ / ประกาศต่างๆ
www.aviation.go.th
9
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
ภูมพ
ิ ลอดุลยเดช ป.ร.
ให ้ไว ้ ณ วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๗
 บททั่วไป มาตรา ๑-๖
 หมวด ๑ คณะกรรมการการบินพลเรือน และคณะกรรมกาเทคนิค (มาตรา ๗-๑๕)
 หมวด ๒ บททั่วไปว่าด ้วยอากาศยาน (มาตรา ๑๖-๒๙)
 หมวด ๓ การจดทะเบียนและเครือ
่ งหมายอากาศยาน (มาตรา ๓๐-๓๓)
 หมวด ๔ แบบอากาศยาน การผลิตอากาศยาน และการควบคุมความสมควร
เดินอากาศ (มาตรา ๓๔-๔๑)
- สว่ นที่ ๑ มาตรฐานอากาศยาน (มาตรา ๓๔-๓๕)
- สว่ นที่ ๒ การรับรองแบบ (มาตรา ๓๔-๔๑/๑๖)
- สว่ นที่ ๓ การรับรองการผลิต (มาตรา ๓๔-๔๑/๑๗-๔๑/๖๐)
- สว่ นที่ ๔ ความสมควรเดินอากาศ (มาตรา ๔๑/๖๒-มาตรา ๔๑/๗๘)
่ ม (มาตรา ๔๑/๙๓- ๔๑/๑๑๑)
- สว่ นที่ ๕ หน่วยซอ
10
Apr-15
 หมวด ๕ ผู ้ประจาหน ้าที่ (มาตรา ๔๒-๕๐)
 หมวด ๖ สนามบินและเครือ
่ งอานวยความสะดวกในการเดินอากาศ (มาตรา ๕๑-
๖๐/๓๕)
 หมวด ๖ ทวิ ค่าบริการผู ้โดยสารขาออก (มาตรา ๖๐/๓๖-๖๐/๔๖)
่ งอากาศ (มาตรา ๖๐
 หมวด ๖ ตรี บริการในลานจอดอากาศยาน และบริการชา
ั ต)
จัตวา-มาตรา ๖๐ สต
 หมวด ๗ อุบต
ั เิ หตุ (มาตรา ๖๑-๖๔)
 หมวด ๘ อานาจตรวจ ยึดและหน่วงเหนีย
่ ว (มาตรา ๖๕-๖๗)
 หมวด ๙ บทกาหนดโทษ
11
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497 (บททัว่ ไป มาตรา ๑-๖)
 มาตรา ๑ พระราชบัญญัตน
ิ เี้ รียกว่า “พระราชบัญญัตก
ิ ารเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗”
ิ วันนั บแต่วัน
 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตน
ิ ใี้ ห ้ใชบั้ งคับเมือ
่ พ ้นกาหนดเก ้าสบ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต ้นไป
 มาตรา ๓ ให ้ยกเลิก
 มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตน
ิ ี้
ั
“อนุสญญา”
ั ญาว่าด ้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ
หมายความว่า อนุสญ
ิ าโกเมือ
ซงึ่ ทาขึน
้ ทีเ่ มืองชค
่ วันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๗ รวม
ตลอดถึงภาคผนวกและบทแก ้ไขเพิม
่ เติมภาคผนวกหรือ
ั ญานั น
อนุสญ
้
ิ้ ซงึ่ ทรงตัวในบรรยากาศ โดย
“อากาศยาน” หมายความรวมถึง เครือ
่ งทัง้ สน
ปฏิกริ ย
ิ าแห่งอากาศเว ้นแต่วัตถุซงึ่ ระบุยกเว ้นไว ้ในกฎกระทรวง
ื สาคัญสาหรับอากาศ
“ใบสาค ัญสมควรเดินอากาศ”
หมายความว่า หนั งสอ
ยานทีอ
่ อกให ้เพือ
่ แสดงว่าอากาศยานลาใดมี
ความสมควรเดินอากาศ
12
Apr-15
่ ”
 “อากาศยานขนสง
หมาย
่ นบุคคล”
 “อากาศยานสว
หมาย
เพือ
่
 “การบารุงร ักษา”
้ อมุง่
หมายความว่า อากาศยานซงึ่ ใชหรื
้
สาหรับใชขนส
ง่ ของหรือคนโดยสารเพือ
่
บาเหน็ จเป็ นทางค ้า
้ อมุง่
หมายความว่า อากาศยานซงึ่ ใชหรื
้ อ
สาหรับใชเพื
่ ประโยชน์ในกิจการอันมิใช ่
บาเหน็ จเป็ นทางค ้า
หมายความว่า งานทีต
่ ้องทาเพือ
่ ให ้อากาศ
ยานคงความต่อเนือ
่ งของความสมควร
่ การซอ
่ มตรวจพินจ
เดินอากาศ เชน
ิ
การถอดเปลีย
่ น การดัดแปลง หรือการ
แก ้ไขข ้อบกพร่อง
13
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497 (มาตรา ๗-๑๕)
หมวด ๑
คณะกรรมการการบินพลเรือน และคณะกรรมการเทคนิค (มาตรา ๗-๑๕)
 มาตรา ๗ ให ้มีคณะกรรมการการบินพลเรือนคณะหนึง
่ ประกอบด ้วย
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม เป็ นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวง
คมนาคม ผู ้บัญชาการทหารอากาศ และกรรมการอืน
่ อีกเจ็ดคนซงึ่
คณะรัฐมนตรีแต่งตัง้ เป็ นกรรมการ และให ้อธิบดีเป็ นกรรมการและ
เลขานุการ
 มาตรา ๘
14
ี่ ี ฯลฯ
รองประธานกรรมการและกรรมการอยูใ่ นตาแหน่งสป
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
(มาตรา ๑๖-๒๙)
หมวด ๒ บททว่ ั ไปว่าด้วยอากาศยาน
ห ้ามมิให ้ผู ้ใดนาอากาศยานทาการบิน เว ้นแต่มส
ี งิ่ เหล่านีอ
้ ยูก
่ บ
ั
อากาศยานนั น
้ คือ
 มาตรา ๑๖
 (๑) ใบสาคัญการจดทะเบียน
ั ชาติและทะเบียน และแผ่นแสดงเครือ
 (๒) เครือ
่ งหมายสญ
่ งหมายอากาศยาน
 (๓) ใบสาคัญสมควรเดินอากาศ
 (๔) สมุดปูมเดินทาง
 (๕) ใบอนุญาตผู ้ประจาหน ้าทีแ
่ ต่ละคน
ื่ สาร ถ ้ามีเครือ
ื่ สาร
 (๖) ใบอนุญาตเครือ
่ งวิทยุสอ
่ งวิทยุสอ
ี สดงรายชอ
ื่ ผู ้โดยสาร ในกรณีทเี่ ป็ นการบินระหว่างประเทศทีม
 (๗) บัญชแ
่ ก
ี าร
บรรทุกผู ้โดยสาร
ี สดงรายการสน
ิ ค ้า ในกรณีทเี่ ป็ นการบินระหว่างประเทศทีม
 (๘) บัญชแ
่ ก
ี ารบรรทุก
ิ ค ้า
สน
 (๙) สงิ่ อืน
่ ตามทีก
่ าหนดในกฎกระทรวง
15
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
หมวด ๓ การจดทะเบียนและเครือ
่ งหมายอากาศยาน (มาตรา ๓๐-๓๓)
 มาตรา ๓๐
ภายใต ้บังคับมาตรา ๓๑ ผู ้ซงึ่ ขอจดทะเบียนอากาศยานตาม
ความในพระราชบัญญัตน
ิ ไ
ี้ ด ้ต ้องเป็ นเจ ้าของอากาศยานทีข
่ อจด
ิ ธิครอบครอง
ทะเบียนหรือถ ้ามิได ้เป็ นเจ ้าของต ้องเป็ นผู ้มีสท
อากาศยานทีข
่ อจดทะเบียนและได ้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีให ้จด
ทะเบียนได ้การขอจดทะเบียนและการรับจดทะเบียนอากาศยาน
ให ้เป็ นไปตามทีก
่ าหนดในกฎกระทรวง
 มาตรา ๓๑
ผู ้ซงึ่ ขอจดทะเบียนอากาศยานจะเป็ นบุคคลธรรมดาหรือนิต ิ
ั ชาติไทยถ ้าเป็ นห ้างหุ ้นสว่ นหรือบริษัท
บุคคลก็ตามต ้องสญ
จากัดหรือบริษัทมหาชนจากัด ต ้องจดทะเบียนตามกฎหมาย
ไทยมีสานั กงานใหญ่ของห ้างหุ ้นสว่ นหรือบริษัทตัง้ อยูใ่ น
ราชอาณาจักร
16
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
(มาตรา ๓๔-๔๑)
 หมวด ๔ แบบอากาศยาน การผลิตอากาศยาน และการควบคุมความ
สมควรเดินอากาศ (มาตรา ๓๔-๔๑)
สว่ นที่ ๑ มาตรฐานอากาศยาน (มาตรา ๓๔-๓๕)
 มาตรา ๓๔
มาตรฐานอากาศยานให ้เป็ นไปตามทีก
่ าหนดในข ้อกาหนดของ
คณะกรรมการเทคนิค โดยให ้ประกอบด ้วยมาตรฐาน ดังต่อไปนี้
(๑) มาตรฐานความสมควรเดินอากาศของอากาศยานหรือของ
สว่ นประกอบสาคัญของอากาศยาน รวมถึงมาตรฐานทาง
เทคนิคของบริภัณฑ์
่
(๒) มาตรฐานอากาศยานเกีย
่ วกับการคุ ้มครองสงิ่ แวดล ้อม เชน
ี ง หรือมาตรฐานมลพิษทางอากาศ
มาตรฐานมลพิษทางเสย
(๓) มาตรฐานอืน
่ เพือ
่ ประโยชน์แห่งความปลอดภัยในการ
เดินอากาศคณะกรรมการ เทคนิคอาจประกาศให ้ใช ้
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อต
ุ สาหกรรมตาม
17
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
สว่ นที่ ๒ การร ับรองแบบ (มาตรา ๓๔-๔๑/๑๖)
้
มาตรา ๓๖
แบบทีจ
่ ะใชในการผลิ
ตอากาศยานหรือสว่ นประกอบสาคัญของ
อากาศยานจะต ้องมีใบรับรองแบบตามความในหมวดนีแ
้ บบ
อากาศยานและแบบสว่ นประกอบสาคัญของอากาศยานต ้องได ้
มาตรฐานไม่ตา่ กว่ามาตรฐานทีค
่ ณะกรรมการเทคนิคกาหนด
มาตรา ๓๗
ใบรับรองแบบอากาศยานหรือแบบสว่ นประกอบสาคัญของ
อากาศยาน ฯลฯ
สว่ นที่ ๓ การร ับรองการผลิต (มาตรา ๓๔-๔๑/๑๗-๔๑/๖๐)
มาตรา ๔๑/๑๗ ในสว่ นนี้ “การผลิต” หมายความว่า การผลิตผลิตภัณฑ์เพือ
่ การ
พาณิชย์เว ้นแต่ข ้อความจะแสดงให ้เห็นเป็ นอย่างอืน
่
18
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
่ นที่ ๔ ความสมควรเดินอากาศ (มาตรา ๔๑/๖๒-มาตรา ๔๑/๗๘)
สว

มาตรา ๔๑/๖๒ ใบสาคัญสมควรเดินอากาศมีสองแบบ คือ

(๑)
ใบสาค ัญสมควรเดินอากาศแบบมาตรฐาน ออกให ้สาหรับอากาศยานทีใ่ ช ้
ั ว์
งานเพือ
่ วัตถุประสงค์ในการขนสง่ คน หรือของ รวมทัง้ สต

(๒)
ี่ ระเภท ได ้แก่
ใบสาค ัญสมควรเดินอากาศแบบพิเศษมีสป
้
(ก) ประเภททีห
่ นึง่ ออกให ้สาหรับอากาศยานทีใ่ ชงานเพื
อ
่ วัตถุประสงค์นอกจากการ
ั ว์
ขนสง่ คน หรือของ รวมทัง้ สต
้
(ข) ประเภททีส
่ อง ออกให ้สาหรับอากาศยานทีใ่ ชงานเพื
อ
่ วัตถุประสงค์ในการบิน
ทดลอง
้
(ค) ประเภททีส
่ าม ออกให ้สาหรับอากาศยานทีใ่ ชงานเพื
อ
่ วัตถุประสงค์ชวั่ คราวและ
ป็ นอากาศยานที่ สร ้างขึน
้ ตามแบบในใบรับรองแบบเป็ นการชวั่ คราว
้
(ง) ประเภททีส
่ ี่ ออกให ้สาหรับอากาศยานทีใ่ ชงานเพื
อ
่ วัตถุประสงค์เฉพาะโดยไม่
ต ้องมีใบรับรองแบบตามมาตรา ๓๖ วรรคสามใบสาคัญสมควรเดินอากาศ
ตามมาตรานีจ
้ ะออกให ้แก่อากาศยานทีจ
่ ด ทะเบียนแล ้ว และมีความปลอดภัย
้
เพือ
่ ใชงานตามวั
ตถุประสงค์ทก
ี่ าหนดไว ้
19
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
่ นที่ ๕ หน่วยซอ
่ ม (มาตรา ๔๑/๙๓- ๔๑/๑๑๑)
 สว
่ มในราชอาณาจักร ต ้องได ้รับ
มาตรา ๔๑/๙๓ การประกอบกิจการหน่วยซอ
่ มตามความในสว่ นนีใ้ บรับรองหน่วยซอ
่ มมี
ใบรับรองหน่วยซอ
สามประเภท คือ
- ประเภททีห
่ นึง่ สาหรับบารุงรักษาอากาศยาน
- ประเภททีส
่ อง สาหรับบารุงรักษาสว่ นประกอบสาคัญของ
อากาศยาน
ิ้ สว่ นของ
- ประเภททีส
่ าม สาหรับบารุงรักษาบริภัณฑ์และชน
อากาศยาน
20
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
 หมวด ๕ ผูป้ ระจำหน้ำที่ (มาตรา ๔๒-๕๐)
 มาตรา ๔๒
21
ห้ำมมิให้ผูใ้ ดเป็ นผูป้ ระจำหน้ำที่ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจาก
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี หรือมีใบอนุญาตผู้
ประจาหน้ าที่ซ่งึ ออกให้ โดยรัฐภาคีแห่งอนุสญ
ั ญาหรือรัฐที่ได้ ทา
ความตกลงกับประเทศไทย แต่สาหรับผู้ประจาหน้ าที่ในอากาศ
ยานที่จดทะเบียนตามกฎหมายไทยจะต้ องได้ รับอนุญาตจาก
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ตามพระราชบัญญัตนิ ้ ี
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
 หมวด ๖ สนำมบินและเครือ่ งอำนวยควำมสะดวกในกำรเดินอำกำศ (มาตรา
๕๑-๖๐/๓๕)
มาตรา ๕๑
ห้ ามมิให้ บุคคลใดจัดตั้งสนามบินหรือเครื่องอานวยความสะดวก
ในการเดินอากาศ เว้ นแต่จะได้ รับอนุญาตจากพนักงานเจ้ าหน้ าที่
โดยอนุมตั ริ ัฐมนตรี
22
Apr-15
พ.ร.บ. การเดินอากาศ พ.ศ.2497
23
หมวด ๖
หมวด ๖ ตรี
ทวิค่ำบริกำรผูโ้ ดยสำรขำออก (มาตรา ๖๐/๓๖-๖๐/๔๖)
หมวด ๗
หมวด ๘
หมวด ๙
อุบตั ิเหตุ (มาตรา ๖๑-๖๔)
บริกำรในลำนจอดอำกำศยำน และบริกำรช่ำงอำกำศ (มาตรา
๖๐ จัตวา-มาตรา ๖๐ สัตต)
อำนำจตรวจ ยึดและหน่วงเหนีย่ ว (มาตรา ๖๕-๖๗)
บทกำหนดโทษ
Apr-15
กฎกระทรวง
 ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๔๙๗) - ๓๘ (พ.ศ. ๒๕๕๐)
 กาหนดวิธก
ี ารขอจดทะเบียนอากาศยาน
 ขอใบอนุญาตผู ้ประจาหน ้าที่ ใบอนุญาตจัดตัง้ สนามบินหรือเครือ
่ งอานวยความ
สะดวกในการเดินอากาศ รวมทัง้ ใบแทนใบสาคัญและใบอนุญาตดังกล่าว
้
 กาหนดเสนทางบิ
น
้
 กาหนดค่าธรรมเนียมการใชสนามบิ
น
้
ยกเว ้นค่าธรรมเนียมการใชสนามบิ
น
 กาหนดวัตถุอน
ั ตราย
่ นบุคคลในการทาการ
 หลักเกณฑ์การอนุญาต การขออนุญาตของอากาศยานสว
บินเดินทางภายในประเทศ
24
Apr-15
คณะอนุกรรมการของคณะกรรมการการบินพลเรือน
คาสั่งที่ ๑/๒๕๔๒
 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอานวยความสะดวกในการขนส่งทางอากาศ
คาสั่งที่ ๑/๒๕๔๓
 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการอากาศวิถี
คาสั่งที่ ๒/๒๕๔๕
 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาอัตราค่าโดยสาร
คาสั่งที่ ๑/๒๕๔๖
 เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการอานวยความสะดวกในการขนส่งทางอากาศ
คาสั่งที่ ๒/๒๕๔๖
 เรื่อง แต่งตั้งอนุกรรมการรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือน
25
Apr-15
คาสง่ ั กระทรวงคมนาคม มอบอานาจให้อธิบดี
กรมการบินพาณิชย์
 ที่ ๒๐๗/๒๕๒๙
 แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนกรณีอน
ั เกีย
่ วกับอุบัตเิ หตุของอากาศยานใน
ราชอาณาจักร
 ที่ ๒๑/๒๕๓๓
 มอบหมายให ้อธิบดีกรมการบินพาณิชย์ใชอ้ านาจตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๒๙
แห่งพระราชบัญญัตก
ิ ารเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗
 ที่ ๓๒๕/๒๕๓๔
 มอบหมายให ้อธิบดีกรมการบินพาณิชย์
 ที่ ๒๗๖/๒๕๓๕
 มอบหมายให ้อธิบดีกรมการบินพาณิชย์ใชอ้ านาจตามมาตรา ๒๘
แห่งพระราชบัญญัตก
ิ ารเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ เพิม
่ เติม
26
Apr-15
ข้อบ ังค ับของคณะกรรมการการบินพลเรือน
 ฉบับที่ ๖๔
ว่าด ้วยคุณสมบัตแ
ิ ละลักษณะของผู ้ขออนุญาตเป็ นผู ้ประกอบการ
ให ้บริการในลานจอดอากาศยานหรือบริการชา่ งอากาศ
 ฉบับที่ ๘๔
้
ว่าด ้วยค่าธรรมเนียมการใชสนามบิ
นของผู ้โดยสารออกจากสนามบิน
ค่าธรรมเนียมในการขึน
้ ลงของอากาศยานและค่าธรรมเนียมทีเ่ ก็บอากาศ
ยาน ณ สนามบินอนุญาต หรือทีข
่ น
ึ้ ลงชวั่ คราวของอากาศยาน
 ฉบับที่ ๘๕
ว่าด ้วยใบรับรองผู ้ดาเนินการเดินอากาศ
 ฉบับที่ ๘๖
ว่าด ้วยการเดินอากาศของอากาศยาน
27
Apr-15
ประกาศกระทรวงคมนาคม
 ที่ ๑/๒๔๙๘
 กาหนดสนามบินอนุญาต
 เรื่อง กาหนดสนามบินอนุญาต (๒๕๐๖)
 เรื่อง กาหนดสนามบินอนุญาต (๒๕๑๔)
 เรื่อง กาหนดสนามบินอนุญาต (๒๕๑๖)
 เรื่อง กาหนดสนามบินอนุญาต (๒๕๑๗)
 เรื่อง กาหนดสนามบินอนุญาต (๒๕๑๙)
28
Apr-15
ระเบียบปฏิบัติ/คำสั่ง/ประกำศต่ำงๆ
1.
2.
3.
4.
29
ระเบียบปฏิบตั ิ/คาสั่ง/ประกาศต่างๆ ด้านการกากับกิจการขนส่ งทาง
อากาศ
ระเบียบปฏิบตั ิ/คาสั่ง/ประกาศต่างๆ ด้านมาตรฐานความปลอดภัยใน
การเดินอากาศ
ระเบียบปฏิบตั ิ/คาสัง่ /ประเภทต่าง ๆ ด้านมาตรฐานสนามบิน
ระเบียบอื่น ๆ
www.aviation.go.th
Apr-15
Apr-15
AIR OPERATOR CERTIFICATION
30
Air Operator’s Documentation
 Air Operator Certificate-procedure
- The procedure for application and granting of an AOC is best
organized in phases and will normally take following
sequence;
- 1. Pre-application phase
- 2. Formal application phase
- 3. Document evaluation phase
- 4. Demonstration and inspection phase
- 5. Certification phase
- (Reference ICAO Doc 8335-AN/879)
31
Apr-15
Air Operator’s Documentation
 การประกอบธุรกิจการบินในประเทศไทยนั้น สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทที่
สาคัญ ตามใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการค้ าขายในการเดินอากาศ ซึ่งได้ แก่
1. ใบอนุญาตประกอบกิจการค้ าขายในการเดินอากาศ (แบบประจา) เป็ น
ใบอนุญาตที่ออกให้ แก่บริษัทการบิน หรือ สายการบิน (Airliner)
2. ใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการค้ าขายในการเดินอากาศ (แบบไม่ประจา)
เป็ นใบอนุญาตที่ออกให้ แก่บริษัทการบิน แบบเช่าเหมาลา (Air
Charter หรือ Air Taxi)
3. ใบอนุญาตให้ ประกอบกิจการค้ าขายในการเดินอากาศ (โดยใช้
เฮลิคอปเตอร์) เป็ นใบอนุญาตที่ออกให้ บริษัทการบินที่ใช้ เฮลิคอปเตอร์
สาหรับการให้ บริการ
32
Apr-15
1. ใบอนุญำตประกอบกิจกำรค้ำขำยในกำรเดินอำกำศแบบประจำ
หมายถึง ใบอนุญาตที่ออกให้ แก่บริษัทการบิน หรือ สายการบิน (Airliner) ที่
ให้ บริการในการเดินอากาศด้ วยเที่ยวบินที่ทาการบินอยู่ประจาหรือมีกาหนดตาราง
การบินและเส้ นทางการบินที่แน่นอน โดยให้ บริการในการเดินอากาศหรือเส้ นทาง
การบินทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เช่น
บริษัท การบินกรุงเทพฯ (Bangkok Airways)
สายการบินไทยแอร์เอเชีย (Thai Air Asia) เป็ นต้ น
33
Apr-15
2. ใบอนุญำตให้ประกอบกิจกำรค้ำขำยในกำรเดินอำกำศ แบบไม่ประจำ
 หมายถึง ใบอนุญาตที่ออกให้ แก่บริษัทการบินแบบเช่าเหมาลา (Air Charter
หรือ Air Taxi) ที่ให้ บริการเดินอากาศด้ วยเที่ยวบินที่ไม่ประจา หรือไม่มกี าหนด
ตารางการบิน และเส้ นทางการบินที่แน่นอน ซึ่งสามารถให้ บริการในการเดินอากาศ
หรือเส้ นทางการบินทั้งภายในประเทศและต่างประเทศได้ เช่นกัน แต่ต้องเป็ นไป
ตามเงื่อนไขของใบอนุญาตประกอบกิจการค้ าขายในการเดินอากาศ และใบรับรอง
ผู้ดาเนินการเดินอากาศ เช่น
บริษัท แอร์ ฟิ นิคซ์ จากัด (Air Phoenix)
บริษัท ไทยฟลายอิ้งเชอร์วสิ จากัด (Thai Flying Service)
บริษัทสยามแลนด์ฟลายอิ้ง จากัด (Siamland Flying) เป็ นต้ น
34
Apr-15
3 ใบอนุญำตให้ประกอบกิจกำรค้ำขำยในกำรเดินอำกำศ แบบใช้
เฮลิคอปเตอร์
 หมายถึง ใบอนุญาตที่ออกให้ บริษัทการบินที่ให้ บริการในการเดินอากาศด้ วย
เฮลิคอปเตอร์ ซึ่งโดยมากเป็ นการให้ บริการในการเดินอากาศแบบไม่ประจา
ภายในประเทศ เช่น
- บริษัท มินีแบ เอวิเอชั่น จากัด (Minebea Aviation)
- บริษัท สีชัง ฟลายอิ้ง จากัด (Sri-chang Flying)
- บริษัท ไทยเอวิเอชั่น เชอร์วสิ จากัด (Thai Aviation Service) เป็ นต้ น
35
Apr-15
Air
Operation
License
ใบอนุญำตประกอบ
กิจกำรค้ำขำยใน
กำรเดินอำกำศ
36
Apr-15
Air
Operator
Certificate
ใบรับรอง
ผูด้ ำเนินกำร
เดินอำกำศ
37
Apr-15
Operations
Specifications
(Ops. Spec.)
38
Apr-15
Certificate of
Registration
ใบสาค ัญ
การจดทะเบียน
(อากาศยาน)
39
Apr-15
Certificate
of
Airworthiness
ใบสาค ัญ
สมควร
เดินอากาศ
40
Apr-15
Insurance
41
Apr-15
Radio
Station
License
42
Apr-15
Radio
Operation
License
43
Apr-15
44
Apr-15