สิทธิคนพิการและคนอ้วนในการเดินทางทางอากาศ

Download Report

Transcript สิทธิคนพิการและคนอ้วนในการเดินทางทางอากาศ

สิทธิคนพิการในการเดินทางทางอากาศ
ลลิล ก่อวุฒกิ ุลรังษี
25 กันยายน 2553
FACT
650 millions
people with
disabilities
A number of cases
and complaints on
constraints of
people with
disabilities when
using air travel
Freedom
of
movement
FACTUAL PROBLEMS

Before booking


Access to information
Denied booking

After booking








Access to information
Denied boarding
Delay assistance
Transfer assistance
Escort
Guided animal
Medical device
Baggage
Etc.
LAW


International law
 Universal Declaration of Human Rights 1948
 Convention on the Rights of Persons with
Disabilities 2006 (CRPD)
 Convention on Civil Aviation 1944 (Chicago)
th edition 1990)
 Annex 9 Facilitation (since 9
Regional / National law
EC 261/2004 (denied boarding)
 EC 1107/2006 (rights of disabled persons)
 US Air Carrier Access Act
 Etc.

กฎหมายระหว่างประเทศ
อนุสญั ญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of
Persons with Disabilities)
 อนุสญ
ั ญาว่าด้วยการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (อนุสญั ญาชิคาโก 1944)
 ภาคผนวกที่ 9 การอานวยความสะดวก ส่วนที่ 8 ข้อ G การอานวยความสะดวกแก่การ
เดินทางของผูโ้ ดยสารทีต่ อ้ งได้รบั ความช่วยเหลือเป็ นพิเศษ (Facilitation of the
transport of passengers)

กฎหมายระหว่างประเทศ: ภาคผนวกที่ 9

คนพิการ (Person with disabilities) หมายถึง บุคคลใดๆ ที่
ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลงเนื่องจากไม่มีความสามารถทางกายภาพ (การรับ
ความรูส้ กึ หรือการเคลื่อนไหว) ความบกพร่องทางสติปัญญา อายุ ความเจ็บป่ วย หรือ เหตุ
อื่นใดที่ก่อให้เกิดความพิการเมือ่ ใช้การคมนาคมและตามสถานการณ์ตอ้ งได้รบั การดูแลเป็ น
พิเศษและได้รบั การปรับบริการทีจ่ ดั เตรียมสาหรับผูโ้ ดยสารทุกคนให้เข้ากับความต้องการใน
การบริการของบุคคล
กฎหมายระหว่างประเทศ: ภาคผนวกที่ 9

สถานะ
 หน้าทีข่ องสนามบิน
 หน้าทีข่ องสายการบิน
กฎหมายระหว่างประเทศ: ภาคผนวกที่ 9
2 Standards
 Recommended practices
 Arts. 37, 38 of Chicago
Convention
 Safety Oversight Audit

Hard
Law
Soft
Law
ปั ญหาทางปฏิบตั ิ
Ross v. RyanAir
 กฎหมายการเลือกปฏิบต
ั ติ อ่ คนพิการของอังกฤษ
 Stansted อังกฤษ ไปยังเมือง Perpignan
ฝรัง่ เศส
่ ว ค่าตัว๋
 ค่าให้บริการรถเข็นคิดเพิ่ม 18 ปอนด์ตอ่ เทีย
10 ปอนด์
 1,336 ปอนด์ โดยแบ่งเป็ น 1,000 ปอนด์สาหรับ
ค่าเสียหายทางความรูส้ กึ 300 ปอนด์เป็ นค่ารถเข็นที่
นายรอสคิดว่าจาเป็ นต้องซื้อเพื่อใช้ในการเดินทาง และ
36 ปอนด์เป็ นค่าชดเชย

กฎหมายสหภาพยุโรป

REGULATION (EC) No 1107/2006 OF THE
EUROPEAN PARLIAMENT AND OF THE
COUNCIL of 5 July 2006 concerning the rights of
disabled persons and persons with reduced
mobility when travelling by air concerning the
rights of disabled persons and persons with
reduced mobility when travelling by air
กฎหมายสหภาพยุโรป

ข้อ 2 (a) คนพิการ (disabled person) หรือ ผูบ้ กพร่องทางการเคลื่อนไหว
หมายถึง บุคคลใดๆ ทีค่ วามสามารถทางการเคลื่อนไหวบกพร่องเมื่อเดินทางเนื่องจากไม่มี
ความสามารถทางกายภาพ (การรับความรูส้ กึ หรือการเคลื่อนไหว โดยถาวรหรือโดยชัว่ คราว)
ความบกพร่องทางสติปัญญา หรือ เหตุอน่ื ใดทีก่ ่อให้เกิดความพิการ หรืออายุ และผูซ้ ง่ึ ตาม
สถานการณ์ตอ้ งได้รบั การดูแลเป็ นพิเศษและได้รบั การปรับบริการทีจ่ ดั เตรียมสาหรับผูโ้ ดยสาร
ทุกคนให้เข้ากับความต้องการในการบริการของบุคคล
กฎหมายสหภาพยุโรป

ขอบเขต
่ นามบิน
 หน้าทีส
่ ายการบิน
 หน้าทีส
 ใช้บงั คับ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
แคนาดา

สภาผูพ้ ิการแห่งแคนาดา (Council of Canadians with
Disabilities (CCD)) ได้ยื่นคาร้องต่อ Canadian
Transportation Agency (CTA) เพื่อร้องเรียน สายการบิน Air
Canada Air Canada Jazz West Jet และ Gander
International Airport Authority ทีเ่ ก็บค่าโดยสาร และ
ค่าธรรมเนียมสนามบินกับผูพ้ ิการทีจ่ าเป็ นต้องซื้อทีน่ งั่ เพิ่มเติม
แคนาดา


นโยบาย one person one fare (1P1F) มีผล 10 มกราคม 2552
1) บุคคล ใดๆ ด้วยความพิการจาต้องเดินทางโดยมีผูต้ ิดตาม ผูร้ บั ขนภายในประเทศจะต้อง
อนุญาตให้ผตู ้ ดิ ตามเดินทางโดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ยภาย ใต้การจัดเก็บค่าธรรมเนียมของผูร้ บั ขน
2) บุคคลใดๆ ซึง่ พิการจากความอ้วน และไม่สามารถปรับทีว่ างแขนทีน่ งั่ ของตนลงได้ “อย่าง
ปลอดภัย” ผูร้ บั ขนจะจัดทีน่ งั่ ทีต่ ดิ กันให้โดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ย หรือจัดทีน่ งั่ ทีใ่ หญ่ข้ นึ โดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ย
เพิ่ม
3) บุคคลใดๆ ด้วยความพิการจาต้องการทีน่ งั่ เพิ่มเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพความพิการของจน จะ
ไม่คดิ ค่าใช้จา่ ยในทีน่ งั่ เพิ่มนัน้
4) Gander International Airport Authority จะต้องไม่คดิ
ค่าธรรมเนียมพัฒนาสนามบินในส่วนทีน่ ง่ั เพิ่มทีจ่ าเป็ นสาหรับผู ้ พิการทีจ่ าเป็ นต้องเดินทางโดยมี
ผูต้ ดิ ตามภายใต้การจัดเก็บค่าธรรมเนียมของ ผูร้ บั ขน
ใครคือคนพิการ?
Obesity
Food allergy
ประเทศไทย

รัฐธรรมนูญ
 พระราชบัญญัตส
ิ ง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550
 มาตรา 4 ว่า “คนพิการ” หมายถึง บุคคลซึง่ มีขอ้ จากัดในการปฏิบต
ั กิ ิจกรรมในชีวติ ประจาวัน
เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสือ่ สาร จิตใจ อารมณ์
พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู ้ หรือความบกพร่องอืน่ ใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้าน
ต่างๆ และมีความจาเป็ นเป็ นพิเศษทีจ่ ะต้องได้รบั ความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้
สามารถปฎิบตั กิ ิจกรรมในชีวติ ประจาวันได้อย่างบุคคลทัว่ ไป ทัง้ นี้ตามประเภทและหลักเกณฑ์
ทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ประกาศกาหนด
ประเทศไทย

มาตรา 37 โดยกาหนดให้รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ออกกฎกระทรวง
เพื่อกาหนดลักษณะ หรือการจัดให้มีอุปกรณ์ สิง่ อานวยความสะดวก หรือบริการในอาคาร
สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือ บริการสาธารณะอืน่ ให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้
ประโยชน์ได้
่ อ้ งมีอุปกรณ์ทอ่ี านวย
 กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2542) ข้อ 4 ลักษณะยานพาหนะทีต
ความสะดวกโดยตรงแก่คนพิการ ได้แก่
(5) อากาศยานขนส่งตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ
 ระเบียบคณะกรรมการฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการว่าด้วยมาตรฐานอุปกรณ์หรือสิง่ อานวยความ
สะดวกโดยตรงแก่คนพิการ พ.ศ. 2544 หมวด 3 ยานพาหนะ
ประเทศไทย
ประกาศคณะปฏิวตั ฉิ บับที่ 58
่ งสิทธิของผูโ้ ดยสารซึง่ ใช้บริการสายการบินของไทยในเส้นทาง
 ประกาศกระทรวงคมนาคมเรือ
บินประจาภายในประเทศ
 สิทธิทร่ี ะบุไว้เป็ นพิเศษสาหรับคนพิการ ได้แก่ สิทธิทไ่ี ด้รบ
ั การดูแลเป็ นพิเศษ และสิทธิได้รบั
การดูแลจากสายการบินในกรณีทสี่ ายการบินผูใ้ ห้บริการปฏิเสธการขนส่ง หรือยกเลิกเทีย่ วบิน
หรือทาการบินล่าช้าไม่วา่ เป็ นเวลามากน้อยเพียงใด
 ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2551

PRACTICES OF
AIRLINE / AIRPORT / TOUR OPERATOR
Country
without
specific law
Country
without
specific law
Country with
specific law
Country
without
specific law
Practices may be varied by each operator.
Domestic
flight
Country with
specific law
Country with
specific law
QUESTIONS AND ANSWERS
Thank you