การจัดสรรหลุมจอด (Aircraft Stand Allocation)

Download Report

Transcript การจัดสรรหลุมจอด (Aircraft Stand Allocation)

การจัดสรรหลุมจอด
(Aircraft Stand Allocation)
การจัดสรรหลุมจอด (Aircraft Stand Allocation)
การจัดสรรหล ุมจอดนับเป็นส่วนหนึ่งของการให้บริการการ
จัด การลานจอดอากาศยานที่ มี ค วามส าคัญ อย่ า งมากต่ อ การ
ปฏิ บั ติ ก ารต่ า ง ๆ ภายในลานจอด และมี ผ ลกระทบต่ อ ความ
ปลอดภัย ในการให้บ ริ ก ารการขนส่ ง ทางอากาศทั้ ง ระบบของ
สนามบิน
ผูด้ าเนิ น การสนามบิ น จะต้อ งมี ก ารด าเนิ น การให้แ น่ ใ จว่ า
ในขณะจอดอากาศยาน หรือขับเคลื่อนอากาศยานภายในลานจอด
จะมี ช่องว่างระหว่างอากาศยานกับอาคาร อากาศยานลาอื่ น และ
วัตถ ุอื่น
การจัดสรรหลุมจอด (Aircraft Stand Allocation)
1. ความรับผิดชอบของผูด้ าเนินการสนามบิน
ผูด้ าเนินการสนามบิ นเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดสรรหล ุมจอดอากาศ
ยาน ทั่ว ท กุ หล มุ จอดในสนามบิ น โดยต้อ งก าหนดหน่ ว ยงานรับ ผิ ด ชอบและ
ขัน้ ตอนปฏิบต
ั ิ อย่างชัดเจนเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบต
ั ิการอากาศยานใน
ลานจอด
การจัดสรรหลุมจอด (Aircraft Stand Allocation)
2. การดาเนินการจัดสรรหล ุมจอดอากาศยาน
–จัดให้มีการเฝ้าระวังการปฏิบตั ิการภายใน
หล ุมจอดโดยให้แน่ใจว่าอากาศยานมีระยะ
Clearance เป็นไปตามมาตรฐาน
–จัดทากฎการจัดสรรหล ุมจอดสาหรับ
อากาศยาน โดยจะต้องแจ้งให้สายการบิน
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบร่วมกัน
–ให้ผด้ ู าเนินการสนามบินจัดทาระบบการ
จัดสรรหล ุมจอดของสนามบินและมีการ
พัฒนาปรับปร ุงอย่างสม่าเสมอ
การจัดสรรหลุมจอด (Aircraft Stand Allocation)
การปฏิบัตกิ ารในสภาวะทัศนวิสัยต่า
(Low Visibility Operations)
การปฏิบัตกิ ารในสภาวะทัศนวิสัยต่า (Low Visibility Operations)
การปฏิ บั ติ ก ารบิ น ที่ ส นามบิ น ในสภาวะทัศ นวิ ส ัย ต่ า หรื อ
เพดานเมฆต่านัน้ ย่อมมีความเสี่ยงต่อการเกิดอ ุบัติเหต มุ ากขึ้นกว่า
ในสภาวะปกติ เมื่อทัศนวิสยั ลดลงระยะในการมองเห็นของเจ้าหน้าที่
ให้บ ริก ารการจราจรทางอากาศ นัก บิ น ผูข้ ับ ขี่ ย านพาหนะ และ
ผูป้ ฏิบตั ิงานอื่นในเขตการบินจะถ ูกจากัดลง อันหมายถึง เวลาในการ
ตัดสินใจและตอบสนองต่อการกระทาการบางอย่างมีนอ้ ยลง ด้ว ย
เหต ุผลดังกล่าวสนามบินที่ตอ้ งการปฏิบตั ิการบินในสภาวะทัศนวิสยั
ต่า ต้องจัดทาขัน้ ตอนปฏิบตั ิการของสนามบินใน สภาวะทัศนวิสยั ต่า
เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในขณะปฏิบตั ิการบิน
การปฏิบัตกิ ารในสภาวะทัศนวิสัยต่า (Low Visibility Operations)
1. ความรับผิดชอบของผูด้ าเนินการสนามบิน
•ผูด้ าเนินการสนามบินเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดทาระเบียบและคมู่ ือการ
ปฏิบตั ิการในสภาวะทัศนวิสยั ต่า รวมทัง้ ทบทวนและปรับปร ุงอย่างสม่าเสมอ
•ผูด้ าเนินการสนามบินต้องกาหนดเงื่อนไข ต่อไปนี้
ก) ทัศนวิสยั ที่เหมาะสมกับระดับการให้บริการภาคพื้น
และระดับการให้บริการของเครือ่ งช่วยเดินอากาศ
ของสนามบิน เงื่อนไขที่กาหนดต้องมีค่าเทียบเท่ากับ
ค่าทัศนวิสยั ที่ทางวิ่ง (RVR) ไม่ต่ากว่า 400 เมตร
ข) ทัศนวิสยั สาหรับการเตรียมการก่อนการใช้หรือ
ยกเลิกการใช้ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิการในสภาวะทัศน
วิสยั ต่า
ค) ผูด้ าเนินการสนามบินต้องกาหนดเงื่อนไขสภาวะทัศน
วิสยั สาหรับการประกาศให้หย ุดการปฏิบตั ิการบิน
ทัง้ หมดในเขตการบิน
การปฏิบัตกิ ารในสภาวะทัศนวิสัยต่า (Low Visibility Operations)
2. การปฏิบตั ิการในสภาวะทัศนวิสยั ต่า
ผูด้ าเนินการสนามบินจะต้องกาหนดขัน้ นตอนการปฏิบตั ิงานอย่างเป็น
ขัน้ ตอนให้ชดั เจน ครอบคล ุมถึงผูป้ ฏิบตั ิงาน เครือ่ งมือต่างๆ รวมทัง้ การ
ประสานงาน เพื่อให้แน่ใจว่าการปฏิบตั ิงานอยูบ่ นพื้นฐานของความปลอดภัย
เช่น
ก) ผูด้ าเนินการสนามบินต้องกาหนดความถี่และรายการ
ตรวจอย่างชัดเจน ในการตรวจทางวิ่งท ุกทางวิ่งก่อนที่
จะมีการใช้ทางวิ่งสาหรับการขึ้นลงของอากาศยานใน
สภาวะทัศนวิสยั ต่า
ข) ผูด้ าเนินการสนามบินจะต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งกีดขวางหรือ
สิ่งรบกวนสัญญาณเครือ่ งช่วยเดินอากาศของสนามบิน
การปฏิบัตกิ ารในสภาวะทัศนวิสัยต่า (Low Visibility Operations)
3. การตรวจวัดและรายงานค่าทัศนวิสยั ที่ทางวิ่ง
สนามบินที่มีการปฏิบตั ิการในสภาวะทัศนวิสยั ต่า ต้องจัดให้มีระบบการ
ตรวจวัดค่าทัศนวิสยั ที่ทางวิ่ง ซึ่งอาจทาได้ดว้ ยวิธีการตรวจวัดด้วยสายตา
หรือ การตรวจวัดด้วยเครือ่ งวัด ทัง้ นี้ผด้ ู าเนินการสนามบินจะต้องมี
มาตรฐานในการตรวจวัดค่าทัศนวิสยั ที่ทางวิ่งกาหนดขึ้นใช้อย่างชัดเจน
การปฏิบัตกิ ารในสภาวะทัศนวิสัยต่า (Low Visibility Operations)
แผนฉุกเฉินสนามบิน
(Aerodrome Emergency Plan)
แผนฉุกเฉินสนามบิน (Aerodrome emergency plan)
การจัดทาแผนฉ ุกเฉินสนามบินเป็นการเตรียมพร้อมสนามบิ นใน
การเผชิญกับเหต ุฉ ุกเฉินที่ อาจเกิดขึ้นในสนามบิ นหรือบริเวณใกล้เคียง
การจัดทาแผนฉ ุกเฉินสนามบิ นมีวตั ถ ุประสงค์เพื่ อลดผลกระทบที่ เกิด
จากเหต ุฉ ุกเฉิ นให้มากที่ สดุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการช่วยเหลื อชี วิต
และการกส้ ู ถานการณ์ให้สามารถปฏิบตั ิการบินได้ตามปกติโดยเร็ วที่ส ุด
หลักสาคัญของแผนฉ ุกเฉินคือการเตรียมการด้านความร่วมมือและการ
ประสานกับ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ทั้ง ในสนามบิ น และบริ เ วณใกล้เ คี ย งที่
สามารถช่ ว ยเหลื อ ในการบรรเทาผลกระทบจากเหต ฉุ กุ เฉิ น ได้ การ
จัดทาแผนฉ ุกเฉินที่ดีจะทาให้สนามบิ นสามารถประสาน สื่อสาร และสัง่
การได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อมีเหต ุฉ ุกเฉินเกิดขึ้น ท ุกหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องรบ้ ู ทบาทและสามารถตอบสนองต่อ
ปฏิบตั ิการฉ ุกเฉินได้อย่างรวดเร็ว
แผนฉุกเฉินสนามบิน (Aerodrome emergency plan)
1. ความรับผิดชอบของผูด้ าเนินการสนามบิน
ให้ผด้ ู าเนินการสนามบินจัดทาแผนฉ ุกเฉินสนามบิน และรับผิดชอบให้มี
การดาเนินการเป็นไปตามแผน รวมถึงปรับปร ุงแผนอยูเ่ สมอ
2. คณะกรรมการแผนฉ ุกเฉินสนามบิน
‒จากหน่วยงานในสนามบิน
‒จากหน่วยงานนอกสนามบิน
แผนฉุกเฉินสนามบิน (Aerodrome emergency plan)
3. แผนฉ ุกเฉินสนามบิน
แผนฉ ุกเฉินสนามบินต้องครอบคล ุมขัน้ ตอน รายละเอียดแผนฉ ุกเฉินสนามบินต้อง
การปฏิบตั ิสาหรับเหต ุฉ ุกเฉินประเภทต่าง ๆ ประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้เป็ นอย่างน้อย
ดังนี้เป็ นอย่างน้อย
ก) ประเภทของเหต ุฉ ุกเฉิน
ก) อากาศยานอ ุบัติเหต ุในเขตสนามบิน
ข) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแผนฉ ุกเฉิน
ข) อากาศยานอ ุบัติเหต ุนอกเขตสนามบิน
ค) ความรับผิดชอบและบทบาทของแต่
ค) อากาศยานอ ุบัติการณ์ขณะทาการบิ น
ละหน่วยงานสาหรับแต่ละประเภท
ง) อ ุบัติการณ์สินค้าอันตราย
ของเหต ุฉ ุกเฉิน
จ) การขูว่ างระเบิด
ง) รายละเอียดการติดต่อของ
ฉ) การปล้นยึดอากาศยาน
หน่วยงานหรือบ ุคคลที่เกี่ยวข้องใน
ช) เพลิงไหม้อาคารหรือสิ่งอานวยความ
แผนฉ ุกเฉิน
สะดวก
จ) แผนที่พิกดั (Grid Map) ของสนามบิน
ซ) ภัยธรรมชาติ
และบริเวณใกล้เคียง
ฉ) การซ้อมแผนฉ ุกเฉินสนามบิน
แผนฉุกเฉินสนามบิน (Aerodrome emergency plan)
4. ศ ูนย์ปฏิบตั ิการฉ ุกเฉินและศ ูนย์สงั่ การเคลื่อนที่
แผนฉุกเฉินสนามบิน (Aerodrome emergency plan)
5. ระบบการสื่อสาร
แผนฉุกเฉินสนามบิน (Aerodrome emergency plan)
6. การซ้อมแผนฉ ุกเฉินสนามบิน
‒แผนฉ ุกเฉินสนามบินต้องมีการกาหนดขัน้ ตอนและความถี่ในการซ้อม
แผนฉ ุกเฉิน รวมทัง้ มีการประเมินผลการซ้อมด้วย
‒สนามบินที่อยูใ่ กล้สภาพแวดล้อมที่ยากลาบาก (Difficult Environment)
ควรมีการทดสอบ และประเมินการตอบสนองของทีมกภ้ ู ยั เฉพาะทาง
อย่างสม่าเสมอ
แผนฉุกเฉินสนามบิน (Aerodrome emergency plan)
การตรวจสอบสนามบินโดยผู้ประกอบการสนามบิน
(Aerodrome Safety Inspection by Aerodrome Operator)
การตรวจสอบสนามบินโดยผู้ประกอบการสนามบิน (Aerodrome Safety Inspection by Aerodrome Operator)
สภาพที่อนั ตรายหรือสภาพที่ไม่ปลอดภัยของสนามบิน
สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา โดยอาจเกิดขึ้นแบบฉับพลันทันใด เช่น
การเกิดพาย ุฝนฟ้าคะนองจนเกิดน้าท่วมขังทางวิ่ง หรือพัดพานาสิ่ง
แปลกปลอมเข้ามาในสนามบิน รวมถึงการเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
เช่น การเจริญเติบโตของวัชพืชหรือต้นไม้จนกลายเป็นสิ่งกีดขวาง
หรือบดบังเครือ่ งหมาย ป้ายสัญลักษณ์ต่าง ๆ เป็นต้น ดังนัน้ จึงมี
ความจาเป็นที่ผด้ ู าเนินการสนามบินต้องจัดให้มีแผนงานตรวจพื้นที่
เคลื่อนไหวของอากาศยานและพื้นผิวจากัดสิ่งกีดขวางของสนามบิน
ที่ชดั เจน ครอบคล ุมสิ่งที่อาจเป็นประเด็นปัญหา และให้มีการปฏิบตั ิ
ตามแผนงานดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ
เพื่อเป็นการรับประกันว่าสนามบินจะอยูใ่ น
สภาพที่ปลอดภัย
การตรวจสอบสนามบินโดยผู้ประกอบการสนามบิน (Aerodrome Safety Inspection by Aerodrome Operator)
1. แผนงานตรวจพื้นที่เคลื่อนไหวของอากาศยานและพื้นผิว
จากัดสิ่งกีดขวาง
แผนงานตรวจพื้นที่เคลื่อนไหวของอากาศยานและพื้นผิวจากัดสิ่งกีด
ขวาง ประกอบด้วยรายละเอียดต่อไปนี้เป็นอย่างน้อย
ก) หน่วยงานและผูร้ บั ผิดชอบในการตรวจ
ข) รายการตรวจและความถี่ในการตรวจ
ค) วิธีปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัยในการตรวจพื้นที่
เคลื่อนไหวของอากาศยาน
ง) รายละเอียดการตรวจ
จ) การบันทึกและการเก็บบันทึกการตรวจ
ฉ) การรายงานผลการตรวจและการติดตามผลการ
แก้ไขสิ่งบกพร่อง
ช) แผนผังสนามบิน
การตรวจสอบสนามบินโดยผู้ประกอบการสนามบิน (Aerodrome Safety Inspection by Aerodrome Operator)
2. บ ุคลากร
-ผูต้ รวจ
-ค ุณสมบัติของผูต้ รวจ
3. หน่วยงานและผูร้ บั ผิดชอบในการตรวจ
4. รายการและความถี่ในการตรวจ
-ทางวิ่ง ทางขับ ลานจอด และพื้นหญ้าในเขตทางวิ่ง (Runway Strips)
-พื้นหญ้าบริเวณอื่น ๆ ในเขตการบิน
-น้าขังบนทางวิ่ง - ทางขับ ให้ตรวจท ุกครัง้ ทัง้ ในขณะฝนตกและหลังฝนตก
-ความฝืดของผิวทางวิ่ง
-พื้นผิวจากัดสิ่งกีดขวาง (ตรวจไฟและเครือ่ งหมายแสดงสิ่งกีดขวาง)
-รัว้ กัน้ แนวเขตการบิน
-การระบายน้า
การตรวจสอบสนามบินโดยผู้ประกอบการสนามบิน (Aerodrome Safety Inspection by Aerodrome Operator)
5. วิธีปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัยในการตรวจพื้นที่เคลื่อนไหวของ
อากาศยาน
-การตรวจทางวิ่ง
-การตรวจทางขับ ลานจอด และบริเวณอื่น ๆ ในพื้นที่เคลื่อนไหว
การตรวจสอบสนามบินโดยผู้ประกอบการสนามบิน (Aerodrome Safety Inspection by Aerodrome Operator)
6. รายละเอียดการตรวจ
-การตรวจบริเวณพื้นผิวคอนกรีตและแอสฟัลติกส์คอนกรีต (ทางวิ่ง ทางขับ
ลานจอด)
-การตรวจบริเวณพื้นหญ้าในพื้นที่เคลื่อนไหว
-การกรวดน้าขังบนทางวิ่ง - ทางขับ ในขณะฝนตกและหลังฝนตก
-การตรวจวัดความฝืดของผิวทางวิ่ง แบ่งเป็น
1 การตรวจวัดด้วยสายตา
2 การตรวจวัดด้วยอ ุปกรณ์
-การตรวจพื้นผิวจากัดสิ่งกีดขวาง
-การตรวจรัว้ กัน้ เขตการบิน
-การตรวจการระบายน้า
7. การบันทึกและการเก็บบันทึกการตรวจ
8. การรายงานผลการตรวจ
การตรวจสอบสนามบินโดยผู้ประกอบการสนามบิน (Aerodrome Safety Inspection by Aerodrome Operator)
การรายงานข้ อมูลข่ าวสารของสนามบิน
(Aerodrome Reporting)
การรายงานข้ อมูลข่ าวสารของสนามบิน (Aerodrome Reporting)
ข้อ มูล ข่ า วสารของสนามบิ น เป็ นปั จจัย หนึ่ ง ที่ มี ก ระทบต่ อ
ความปลอดภัย และความรวดเร็ว ในการปฏิ บัติ ก ารบิ น และการ
เดินอากาศของผูใ้ ช้สนามบิน เนื่องจากข้อมูลข่าวสารของสนามบิ น
เป็นส่วนสาคัญในการวางแผนการบิ นของนักบิ นและผูเ้ กี่ยวข้องให้
เป็นไปอย่างปลอดภัย ดังนัน้ ข้อมูลที่สนามบินจาเป็นต้อ งรายงานจึง
เป็นข้อมูลที่ สาคัญ มีความถกู ต้องและทันสมัย ข้อมูลข่ าวสารของ
สนามบิ นอาจมี การเปลี่ยนแปลงได้ ไม่ว่าจะเป็นการชัว่ คราวหรือ
ถาวร จึ งเป็นหน้าที่ ข องสนามบิ นที่ ต อ้ งมี การกาหนดกฎ ระเบี ยบ
และวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ข องสนามบิ น ในการรายงานข้อ มูล ที่ จ าเป็ น
เหล่านัน้
การรายงานข้ อมูลข่ าวสารของสนามบิน (Aerodrome Reporting)
1. ความรับผิดชอบของผูด้ าเนินการสนามบิน
ผูด้ าเนินการสนามบินต้องจัดให้มีหน่วยงานและ/หรือบ ุคลากรที่ รับผิดชอบ
ในการรายงานข้อมูลข่าวสารของสนามบินที่ชดั เจน ทาหน้าที่และสามารถ
ติดต่อได้ตลอดเวลา
2. บ ุคลากร
ผูร้ บั ผิดชอบในการรายงานต้องมีความรท้ ู ี่เพียงพอ และเข้าใจกระบวนการ
รายงานข้อมูลข่าวสารของสนามบิน
3. ข้อมูลสนามบินที่ตอ้ งรายงานต่อหน่วยงานให้บริการ
ข่าวสารการเดินอากาศ (AIS)
รายงานข้อมูลข่าวสารตามระเบียบที่ออกตาม
Manual on certification of Aerodrome (Doc 9774),
Appendix 1, Part 3
การรายงานข้ อมูลข่ าวสารของสนามบิน (Aerodrome Reporting)
4. การรายงานการเปลี่ยนแปลงข้อมูลข่าวสารของสนามบิน
-การรายงานการเปลี่ยนแปลงเพื่อขอตรวจสอบ และออกประกาศนักบิน (NOTAM)
ลักษณะข้อมูลข่าวสารที่ตอ้ งออก NOTAM และการเปลี่ยนแปลงที่ตอ้ งทาการออก NOTAM
-การรายงานเพื่อเปลี่ยนแปลงข้อมูลสนามบินในเอกสารแถลงข่าวการบิน (AIP) ประกอบด้วย
1. การรายงานเพื่อเปลี่ยนแปลงข้อมูลสนามบินในเอกสารแถลงข่าวการบินเป็นการถาวร
2.
3. การรายงานเพื่อขอออกประกาศเวียนการบิน (Aeronautical Information Circulars)
4. การเปลี่ยนแปลงที่ตอ้ งทาการรายงานเพื่อขอออกประกาศเวียนการบิน
-วิธีการรายงานการเปลี่ยนแปลงเพื่อขอตรวจสอบ และออกประกาศนักบิน (NOTAM) และ
เพื่อเปลี่ยนแปลงข้อมูลการบินในเอกสารแถลงข่าวการบิน (AIP)
-การเก็บบันทึกการรายงานการขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลข่าวสารสนามบิน
-การปฏิบตั ิเมื่อข่าวสารที่ขอเปลี่ยนแปลงได้รบั การเปลี่ยนแปลงแล้ว
การรายงานข้ อมูลข่ าวสารของสนามบิน (Aerodrome Reporting)
การรายงานข้ อมูลข่ าวสารของสนามบิน (Aerodrome Reporting)
การรายงานข้ อมูลข่ าวสารของสนามบิน (Aerodrome Reporting)
การรายงานข้อมูลข่าวสารของสนามบิน (Aerodrome Reporting)
ที่มา http://www.cargolaw.com/2005nightmare_c130.html
การเข้ า - ออกเขตการบิน
(Access To Airside)
การเข้ า – ออกเขตการบิน (Access To Airside)
เนื่องจากโดยทัว่ ไปในบริเวณเขตการบิ นมีกิจกรรมต่าง ๆ
ทัง้ การปฏิบัติงานของอากาศยาน ยานพาหนะและบคุ คลในเขต
พื้ นที่ เดี ยวกัน ทาให้มีค วามจ าเป็นต้องมี การควบคมุ บคุ คลและ
ยานพาหนะที่จะเข้าไปปฏิบตั ิงานในเขตการบิ นเท่าที่จาเป็ นหรือให้
น้อยที่ส ุด ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อการปฏิบตั ิงานในเขตการบิน โดย
ด ูแลให้บ ุคคล ยานพาหนะที่มีหน้าที่ในการปฏิบตั ิงานโดยตรง หรือ
มี ค วามจ าเป็ น เข้า ไปในเขตการบิ น เท่ า นั้น เพื่ อ ให้เ กิ ด ความ
ปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานของอากาศยาน บ ุคคล และยานพาหนะ
ที่อยูใ่ นเขตการบิน และในการควบค ุมการเข้า - ออกเขตการบิ นนี้
ก็เป็นการป้องกันการร ุกล้าเข้าไปยังเขตการบินทัง้ โดยการเจตนา
และไม่เจตนา
การเข้ า – ออกเขตการบิน (Access To Airside)
1. ความรับผิดชอบของผูด้ าเนินการสนามบิน
ผูด้ าเนินการสนามบินมีหน้าที่รบั ผิดชอบในการดาเนินการควบค ุมการเข้า ออกเขตการบินและ จัดให้มีหน่วยงานที่มีหน้าที่รบั ผิดชอบในการเข้า - ออก
เขตการบินอย่างชัดเจน
2. การอน ุญาตในการเข้า – ออกเขตการบิน
จากัดจานวนบ ุคคล และยานพาหนะเข้า – ออกเขตการบินเท่าที่
จาเป็น และต้องมีบตั รอน ุญาตจากผูด้ าเนินการสนามบิน
3. มาตรการในควบค ุมการเข้า – ออกเขตการบิน
–กาหนดเขตการบินอย่างชัดเจน
–กาหนดประต ูที่ใช้ในการเข้า - ออกเขตการบิน จัดเตรียม
อ ุปกรณ์ และเครือ่ งมือที่ใช้สาหรับการควบค ุมการเข้า –
ออก เขตการบิน
–กาหนดขัน้ ตอนการปฏิบตั ิในการเข้า – ออกเขตการบิน
การเข้ า – ออกเขตการบิน (Access To Airside)
การเข้ า – ออกเขตการบิน (Access To Airside)
การปฏิบัตงิ านก่ อสร้ างในเขตการบิน
(Aerodrome Work Safety)
การปฏิบัตงิ านก่ อสร้ างในเขตการบิน (Aerodrome Work Safety)
การปฏิบตั ิงานก่อสร้างในเขตการบินมีความจาเป็นจะต้องนา
บ ุคคล ยานพาหนะ เครือ่ งมือ วัสด ุ และสิ่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าไปใน
เขตการบิน จึงจาเป็นจะต้องมีการควบค ุมด ูแลเพื่อป้องกันไม่ให้การ
ปฏิบตั ิงานก่อสร้างภายในเขตการบินก่อให้เกิดความเสียหายกับ
อากาศยาน หรือทาให้เกิดความสับสนกับการปฏิบตั ิการของอากาศ
ยานซึ่งอาจนาไปสูก่ ารเกิดอ ุบัติเหต ุ/อ ุบัติการณ์หรือเกิดความล่าช้า
รวมถึงอันตรายที่อาจเกิดกับบ ุคคลผูป้ ฏิบตั ิงานก่อสร้าง
การปฏิบัตงิ านก่ อสร้ างในเขตการบิน (Aerodrome Work Safety)
1. ความรับผิดชอบในการควบค ุมการปฏิบตั ิงานก่อสร้างในเขต
การบิน
ออกกฎระเบียบการปฏิบตั ิงาน และกาหนดหน่วยงานที่รบั ผิดชอบในการ
ควบค ุมการปฏิบตั ิงานก่อสร้างในเขตการบิน
2. การแต่งตัง้ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
แต่งตัง้ เจ้าหน้าที่เป็นลายลักษณ์อกั ษร และเจ้าหน้าที่ตอ้ งมีความรู้
ความสามารถในการควบค ุมการปฏิบตั ิงานก่อสร้างในเขตการบิน
3. การควบค ุมการปฏิบตั ิงานก่อสร้าง
ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบที่ผด้ ู าเนินการสนามบินกาหนด
ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานของกรมการบินพลเรือน
การปฏิบัตงิ านก่ อสร้ างในเขตการบิน (Aerodrome Work Safety)
4. การจัดทาแผนการปฏิบตั ิงานก่อสร้าง
จัดทาแผนสาหรับการปฏิบตั ิงานก่อสร้างของสนามบินให้สอดคล้องตาม
มาตรฐาน
5. การปฏิบตั ิงานก่อสร้างหรือซ่อมบาร ุงที่ไม่มีผลกระทบต่อการ
ปฏิบตั ิการของอากาศยาน
การปฏิบัตงิ านก่ อสร้ างในเขตการบิน (Aerodrome Work Safety)
6. การปฏิบตั ิงานก่อสร้างหรือซ่อมบาร ุงที่มีผลกระทบต่อการ
ปฏิบตั ิการของอากาศยาน
การกวาดและล้ างทาความสะอาดลานจอด
(Sweeping and Cleaning Apron Area)
การกวาดและล้ างทาความสะอาดลานจอด (Sweeping and Cleaning Apron Area)
เนื่ อ งจากอัน ตรายที่ เ กิ ด จากสิ่ ง แปลกปลอม คราบเปรอะ
เป้ ื อน และความไม่สะอาดของพื้นลานจอด ส่งผลให้เกิดความไม่
ปลอดภัยแก่อากาศยาน คน ยานพาหนะ และอ ุปกรณ์ ที่ปฏิบตั ิ งาน
ในเขตพื้นที่ลานจอด ดังนัน้ จึงต้องมีการด ูแลทาความสะอาดไม่ให้มี
เศษสิ่งแปลกปลอม และคราบเปรอะเป้ ื อนที่ เ ป็นอันตรายต่ อการ
ปฏิบตั ิงานต่างๆของทัง้ อากาศยาน ยานพาหนะ และคนในบริเวณ
ลานจอด
การกวาดและล้ างทาความสะอาดลานจอด (Sweeping and Cleaning Apron Area)
1. ความรับผิดชอบของผูด้ าเนินการสนามบิน
ผูด้ าเนินการสนามบินออกกฎระเบียบ มาตรการในการปฎิบตั ิในการกวาด
และการล้างทาความสะอาดลานจอด และกาหนดหน่วยงานที่รบั ผิดชอบ
2. การกวาด และการล้างทาความสะอาดลานจอด
กาหนดมาตรการในการกวาด และการล้างทาความสะอาดลานจอด ตัง้ แต่
ความถี่ในการทาความสะอาด การจดบันทึกการปฏิบตั ิงาน อ ุปกรณ์ที่ใช้
วิธีการในการทาความสะอาด
3. การตรวจ
กาหนดให้มีการตรวจความสะอาดของลานจอดเป็นประจาสม่าเสมอ
การกวาดและล้ างทาความสะอาดลานจอด (Sweeping and Cleaning Apron Area)
4. การป้องกันอันตรายจากสิ่งแปลกปลอมและคราบเปรอะเป้ ื อน
กาหนดโปรแกรมการป้องกันอันตรายจากสิ่งแปลกปลอมและคราบเปรอะเป้ ื อน
เพื่อเป็นการช่วยลดความเสี่ยงจากอันตรายที่เกิดขึ้นในขณะที่มีการปฏิบตั ิงาน
ของบ ุคคล ยานพาหนะ อากาศยานในเขตลานจอด
การกวาดและล้ างทาความสะอาดลานจอด (Sweeping and Cleaning Apron Area)
การกวาดและล้ างทาความสะอาดลานจอด (Sweeping and Cleaning Apron Area)
การบริหารจัดการอันตรายจากสั ตว์
(Wildlife Hazard Management)
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)
ปัญหาอากาศยานอ ุบัติเหต ุจากการชนสัตว์ทงั้ บนพื้นและขณะบินอยู่
ในอากาศบริ เ วณสนามบิ น และบริ เ วณใกล้เ คี ย งสนามบิ น เป็ น
สาเหต ใุ ห้เ กิ ด ความเสี ย หายแก่ ชี วิ ต และทรัพ ย์สิ น เป็ นอย่า งมาก
เพื่ อ ให้เ กิ ด ความปลอดภัย ต่ อ การปฏิ บัติ ก ารบิ น ผู้ด าเนิ นการ
สนามบิ นจึงจาเป็นต้องกาหนดกฎระเบี ยบและวิธีการปฏิบตั ิ ต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสัตว์ที่อาจเป็นอันตรายต่อการบิน
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)
1. ความรับผิดชอบของผูด้ าเนินการสนามบิน
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)
2. หน่วยงานและมาตรการด้านการบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์
ของสนามบิน
-หน่วยงานด้านการบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์
-มาตรการและการดาเนินการ
1. มาตรการป้องกัน
2. การลดและบรรเทาอันตรายจากสัตว์
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)
3. การรายงานอันตรายจากสัตว์
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)
4. การประเมินความเสี่ยงที่เกิดจากสัตว์
-การประเมินอันตรายจากสัตว์เบื้องต้นเป็นประจาท ุกฤด ูกาล
-การวิเคราะห์อนั ตรายจากสัตว์ เมื่อได้รบั รายงาน
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)
5. การป้องกันอันตรายจากสัตว์
ทาการจากัดหรือกาจัดแหล่งที่อยูอ่ าศัย แหล่งเพาะพันธแ์ ุ ละแหล่งหากิน
ของสัตว์ รวมถึงทาการสารวจระบบนิเวศวิทยาโดยรอบ
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)
6. การลดและบรรเทาปัญหาอันตรายจากสัตว์
-มีมาตรการขับไล่หรือกาจัดสัตว์ที่เป็นอันตรายต่อการบิน
-มีการสังเกต และบันทึกปฏิกิรยิ าของสัตว์ต่อวิธีการที่ใช้ในการขับไล่หรือ
กาจัด
-มีขนั้ ตอนการใช้มาตรการขับไล่หรือกาจัดสัตว์ที่เป็นอันตรายต่อการบินขณะ
มีการปฏิบตั ิการบิน
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)
7. การเฝ้าติดตามและการประเมินผลความสาเร็จ
-การบันทึกข้อมูลการดาเนินการบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์
-ทาการประเมินความสาเร็จของมาตรการที่สนามบินใช้
การบริหารจัดการอันตรายจากสัตว์ (Wildlife Hazard Management)