560131_prkppt - มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

Download Report

Transcript 560131_prkppt - มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

ถาม-ตอบ
การควบคุมยาสูบ
ในประเทศไทย
ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ
เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
31 มกราคม 2556
Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิ ธิรณรงค์เพื่อการไม่สบ
ู บุหรี่
1
ทาไมจึงต้อง
ควบคุมยาสูบ?
2
เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ
 เป็ นยาเสพติด
 ทาให้เกิดการสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจ
 นาไปสู่ สิ่งเสพติดอื่น
 การทาไร่ ยาสู บทาให้สิ่งแวดล้อมเสื่ อมโทรม

3
คาจากัดความของคาว่ า
ยาเสพติด (สิ่ งเสพติด)
4
ต้องเสพทั้ง ๆ ที่รู้วา่ เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ
 เมื่อติดแล้วหากไม่เสพจะรู ้สึกไม่สบาย
 อาการไม่สบายจะหายไปเมื่อได้เสพ
 เมื่อติดแล้วจะเสพได้ในปริ มาณที่เพิ่มขึ้น

5
อานาจการเสพติดของยาสูบ
นิโคติน > เฮโรอิน > โคเคน > แอลกอฮอล์ > คาแฟอิน
ความยากในการเลิก
นิโคติน = เฮโรอิน = โคเคน = แอลกอฮอล์ > คาแฟอิน
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งลอนลอน
6
2543
ควันบุหรี่
ประกอบด้ วยสาร
อะไรบ้ าง?
7
องค์ ประกอบของควันบุหรี่
8
• บุหรี่ ทาจากใบยาสูบ มวนด้วยกระดาษ
ในใบยาสูบนอกจากสารเสพติดที่มีอยูต่ าม
ธรรมชาติของใบยา ยังมีสารปรุ งแต่งอีก
มากมาย
• เมื่อจุดบุหรี่ ควันบุหรี่ จะมีสารประกอบ
ทางเคมีประมาณ 7,000 ชนิด ใน
จานวนนี้มีสารก่อมะเร็ งไม่ต่ากว่า 62 ชนิด
สารพิษในควันบุหรี่
9
1.
2.
3.
4.
นิโคติน (สารเสพติด)
สารก่อมะเร็ ง (มากกว่า 70 ชนิด)
สารพิษ (มากกว่า 250 ชนิด)
สารเคมีชนิดต่างๆ 7,000 ชนิด
องค์ ประกอบของควันบุหรี่
Acetone
Ammonia
Arsenic
Benzopyrene
Carbonmonoxide
DDT
Formaldehyde
Hydrogen cyanide
Naphthalene
Nicotine
Toluene
10
นา้ ยาล้างเล็บ
นา้ ยาล้างห้ องนา้
ยาเบื่อหนู
ควันจากเครื่องยนต์ ดีเซล
ก๊าซจากควันท่ อไอเสี ย
ยาฆ่ าแมลง
นา้ ยาดองศพ
ก๊าซทีใ่ ช้ ในการประหารชีวิต
ลูกเหม็น
ยาฆ่ าแมลง
สารละลายที่ใช้ ในโรงงาน
ยาสูบ
เป็ นอันตรายต่ อ
สุขภาพอย่ างไร?
11
ทาให้ เกิดโรค
12
โรคเสพติดบุหรี่
 โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
 โรคปอดเรื้ อรัง
 โรคมะเร็ ง
 โรคแทรกซ้อนเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
 โรคอื่น ๆ

ความเสี่ ยงที่จะเสียชีวติ
จากการสูบบุหรี่มมี ากน้ อย
เพียงไร?
13
ความเสี่ ยงการเสี ยชีวติ ในประเทศอังกฤษ
14
โดยเฉลีย่ ในผู้สูบบุหรี่ 1,000 คน
 หนึ่ ง คน จะเสี ยชี วิตจากการถูกฆาตกรรม
 หก คน จะตายจากอุบต
ั ิเหตุจราจร
 250 คน จะตายจากการสู บบุหรี่ ในวัยกลางคน
 250 คน จะตายจากการสู บบุหรี่ ในวัยสู งอายุ
ในประเทศทีก่ าลังพัฒนา
15
โดยเฉลีย่ ในคนที่อายุ 15 ปี จานวน 1,000 คน ที่สูบบุหรี่อย่ างสม่าเสมอ
-
ประมาณ 10 คน จะตายจากความรุ นแรง
ประมาณ 10 คน จะตายจากอุบตั ิเหตุทางถนน
ประมาณ 30 คน จะตายจากสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับการ
ดื่มสุ รา
ประมาณ 125 คน จะตายจากการสู บบุหรี่ ในวัยกลางคน
ประมาณ 125 คน จะตายจากการสู บบุหรี่ ในวัยสูงอายุ
แหล่ง ธนาคารโลก 2542
ความเสี่ ยงของการเสี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่
16

ผูท้ ี่สูบบุหรี่ อย่างต่อเนื่องโดยไม่เลิก
- ครึ่ งหนึ่งจะเสี ยชีวติ จากโรคที่เกิดจากการสู บบุหรี่
(ในประเทศที่พฒั นาแล้ว)
- หนึ่งในสามจะเสี ยชีวติ จากโรคที่เกิดจากการสู บบุหรี่
(ในประเทศกาลังพัฒนา)
พ.ศ.2554
6 ใน 8 อันดับสาเหตุการเสี ยชีวติ แรกของโลก
เป็ นผลจากการใช้ ยาสู บ
17
1.
2.
3.
4.
7.
8.
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคเส้นเลือดสมอง
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่ วนล่าง
ถุงลมปอดพอง
วัณโรค
มะเร็ งปอด
5. HIV / AIDS*
6. ท้องร่วง*
องค์การอนามัยโลก 2551
*ไม่เกี่ยวกับยาสูบ
ควันบุหรี่มอื สอง
คืออะไร?
18
ควันบุหรี่มอื สอง คือ
19
ควันที่ลอยจากปลายมวนบุหรี่
ระหว่างการสูบ
 ควันที่ผส
ู้ ูบบุหรี่ พน่ ออกมา

= ควันทั้งสองแหล่ งรวมกัน
การได้ รับควันบุหรี่มอื สอง
20
คือ การหายใจเอาอากาศที่ปนเปื้ อนด้วย
ควันบุหรี่ ในอากาศบริ เวณที่มีคนสูบ
บุหรี่ อยู่
ทั่วโลกมีผ้ ูเสี ยชีวติ
จากการสูบบุหรี่ปีละกีค่ น?
จากการได้ รับควันบุหรี่มอื สองกีค่ น?
21


22
จากการสูบบุหรี่
=
5.4 ล้านคน
จากการได้รับ
=
ควันบุหรี่ มือสอง
600,000 คน
ภาระโรคทีเ่ กิดจากการใช้ ยาสู บ
23


ผูส้ ูบบุหรี่ 1,300 ล้านคน 800 ล้านคนอยูใ่ นประเทศกาลังพัฒนา
ยาสูบเป็ นสาเหตุการเสี ยชีวิต 1 ใน 10 ของประชากรผูใ้ หญ่ใน
โลก

เสี ยชีวิต 5.4 ล้านคน ในปี พ.ศ.2551

จะเสี ยชีวติ เพิม่ เป็ น 10 ล้านคนต่อปี ใน พ.ศ.2573
มะเร็งที่เกิดจากการ
สูบบุหรี่มกี ชี่ นิด
มีอะไรบ้ าง?
24
มะเร็ง 10 ชนิดทีเ่ ป็ นผลจากการสู บบุหรี่
1.
2.
3.
4.
5.
มะเร็ งปอด
มะเร็ งช่องปาก
มะเร็ งกล่องเสี ยง
มะเร็ งหลอดอาหารส่ วนต้น
มะเร็ งกระเพาะอาหาร
6.
7.
8.
9.
10.
25
มะเร็ งเม็ดเลือดขาวชนิด
เฉี ยบพลัน
มะเร็ งตับอ่อน
มะเร็ งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็ งของไต
มะเร็ งปากมดลูก
โรคหัวใจและหลอด
เลือดมีโรคอะไรบ้ าง?
26
โรคหัวใจและหลอดเลือด
1.
2.
3.
4.
5.
27
เส้นเลือดใหญ่ในท้องโป่ ง
เส้นเลือดหัวใจตีบ
เส้นเลือดสมองตีบหรื อแตก
เส้นเลือดส่ วนปลายตีบ
หลอดเลือดแข็งตัวทัว่ ไป
โรคระบบทางเดิน
หายใจ มีโรคอะไรบ้ าง?
28
ระบบทางเดินหายใจ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
29
ถุงลมปอดโป่ งพอง
ปอดบวม
การพัฒนาของปอดทารกในครรภ์ลดลง
โรคทางเดินหายใจของเด็กเล็กและวัยรุ่ น
ปอดเสื่ อมในผูใ้ หญ่
อาการหื ดรุ นแรงขึ้น
ทาให้วณั โรครักษาหายยาก
โรคเกีย่ วกับการ
ตั้งครรภ์ และเจริญพันธ์
มีอะไรบ้ าง?
30
31
1.
2.
3.
4.
5.
มีบุตรยาก
ทารกตายในครรภ์และไหลตาย
ทารกมีน้ าหนักน้อย
การตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน
ทาให้การเคลื่อนไหวของสเปิ ร์มลดลง
โรคอืน่ ๆ
มีอะไรบ้ าง?
32
1.
2.
3.
4.
5.
6.
33
ต้อกระจกตา
สุ ขภาพโดยทัว่ ไปทรุ ดโทรม
กระดูกพรุ น
กระดูกตะโพกหักง่าย
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคเอดส์ลุกลามเร็ วขึ้น
อันตรายของ
ควันบุหรี่มอื สอง
มีอะไรบ้ าง?
34
ทาให้ เกิด
35
มะเร็ งปอด
 โรคหลอดเลือดหัวใจ
 การติดเชื้ อทางเดินหายใจในเด็ก
 อาการหอบหื ด

ในปี พ.ศ.2547
36
ข้อมูลจาก 192 ประเทศ
มีผไู ้ ม่สูบบุหรี่ ที่เสี ยชีวติ จากการได้รับควันบุหรี่ ที่ผอู้ ื่นสูบ
= 603,000 คน
เป็ นผูช้ าย
= 150,750 คน (25%)
เป็ นผูห้ ญิง
= 283,410 คน (47%)
เป็ นเด็ก (อายุต่ากว่า 5 ขวบ)
= 165,000 คน (28%)
ส่ วนใหญ่เป็ นการได้ รับควันบุหรี่ในบ้ าน โดยเฉพาะเด็กและ
ผูห้ ญิง
การเสี ยชีวติ จากควันบุหรี่มอื สอง
37
ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547
จากโรคหัวใจ
จากโรคหอบหืด
จากมะเร็งปอด
จากโรคติดเชื้อในปอด
รวม
379,000
36,900
21,400
165,000
603,000
คน
คน
คน
คน
คน
The Lancet 377, 2011
คนไทยเสี ยชีวต
ิ
จากการสูบบุหรี่ปีละ
กีค่ น?
38
การเสี ยชีวติ ของคนไทยจากโรคทีเ่ กิดจากการสู บบุหรี่
พ.ศ.2552
39
โรคมะเร็ งปอด
 โรคมะเร็ งอื่น ๆ
 โรคถุงลมพอง
 โรคปอดอื่น ๆ
 โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
 โรคอื่น ๆ
รวม

=
=
=
=
=
=
=
11,740
7,244
11,896
3,040
11,666
5,124
50,710
คน
คน
คน
คน
คน
คน
คน
คณะทางานภาระโรคฯ กสธ. 2554
การสูบบุหรี่เป็ นสาเหตุ
การเจ็บป่ วยและ
เสี ยชีวติ ที่สาคัญอันดับ
ที่เท่ าไรของคนไทย?
40
คนไทยสูบบุหรี่กนั มากน้ อยเท่ าไร
41
จานวนผูส้ ูบบุหรี่ รวม =
เป็ นเพศชาย
=
เป็ นเพศหญิง
=
 อัตราการสู บ ในเพศชาย =
ในเพศหญิง=

ล้านคน
ล้านคน
คน
%
%
จานวนและอัตราการสู บบุหรี่ปัจจุบัน
ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึน้ ไป
อัตราการสู บบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึน้ ไป
แบ่ งตามเพศ
อัตราการสู บบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึน้ ไป
แบ่ งตามเขตการปกครอง
- เขตเทศบาล = 3.5 ล้านคน
- เขตชนบท = 8.9 ล้านคน
คนไทยทีส่ ู บบุหรี่ อยู่ใน
ภาคไหนมากทีส่ ุ ด?
45
จานวนผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย 2552
ภาคใต้
ภาคอีสาน
ภาคกลาง
ภาคเหนือ
กทม.
รวม
46
จานวน (ล้ านคน)
2.0
4.2
2.9
2.1
1.0
12.2
การสารวจการสู บบุหรี่ ในผูใ้ หญ่ระดับโลก 2552
จานวนคนไทยทีส่ ู บบุหรี่
ในเขตเทศบาล VS
นอกเขตเทศบาล
47
48

ในเขตเทศบาล 3.5 ล้านคน (รวม กทม.)

นอกเขตเทศบาล 8.9 ล้านคน
สาเหตุที่ทาให้ เด็ก ๆ ติดบุหรี่
อายุเฉลีย่ ของเด็กไทยทีต่ ิดบุหรี่
49
พ่อ-แม่เป็ นแบบอย่างที่ไม่ดี
 แบบอย่างที่ไม่ดีจากผูใ้ หญ่ในสังคม
 บุหรี่ ราคาถูก
 เข้าถึงบุหรี่ ง่าย
 การโฆษณาและส่ งเสริ มการขาย
 กลยุทธ์การตลาดของบริ ษท
ั บุหรี่
 การขาดความรู ้ถึงพิษภัยและอานาจการเสพติดบุหรี่

50
การป้องกันไม่ ให้ วยั รุ่น
ติดบุหรี่มคี วามสาคัญ
อย่ างไร?
51

เป็ นการป้ องกันการติดยาเสพติด

เป็ นการป้ องกันการเกิดโรคจากบุหรี่

เป็ นการป้ องกันวัยรุ่ นจากอบายมุขอื่น ๆ
บุหรี่ สมั พันธ์กบั อบายมุขอื่น ๆ อะไรบ้าง?
52
การสู บบุหรี่กบั พฤติกรรมเสี่ ยงของนักเรียน-นักศึกษา
4,645 ตัวอย่ างจาก 25 จังหวัดทั่วประเทศ
1.การดืม่ เหล้ า
2.การเที่ยวสถานบันเทิง
3.การเล่ นการพนัน
4.การเสพยาเสพติด
5.การมีเพศสั มพันธ์
53
สานักงานวิจยั เอแบคโพลล์
สู บ (%)
ไม่ สูบ (%) สู บ : ไม่ สูบ
88.5
68.1
40.7
10.6
67.4
25.2
21.3
12.4
0.6
18.0
2547
3.5
3.0
3.3
17.6
3.7
คนสูบบุหรี่ไทยแต่ ละคน
เสี ยค่ าซื้อบุหรี่เดือนละ
เท่ าไร?
54
ค่ าใช้ จ่ายทีส่ ู บบุหรี่ซอง เฉลีย่ ต่ อคนต่ อเดือน (บาท)





กทม.
ภาคกลาง
ภาคใต้
ภาคอีสาน
ภาคเหนือ
759
628
545
523
460
55
การสารวจการสูบบุหรี่ในผูใ้ หญ่ระดับโลก 2552
ทาไมจึงบอกว่ า
“บุหรี่ยงิ่ สูบยิง่ จน”
56
ค่ าใช้ จ่ายซื้อบุหรี่ในกลุ่มประชากรทีจ่ นทีส่ ุ ด
จานวนประชากรที่จนที่สุดที่สูบบุหรี่ ซอง
 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อคน
 ค่าซื้ อบุหรี่ เฉลี่ยต่อเดือนต่อคน
 ค่าซื้ อบุหรี่ คิดเป็ นสัดส่ วนของรายได้

=
=
=
=
955,000 คน
2,094 บาท
450 บาท
21.5%
การสารวจการสูบบุหรี่ในผูใ้ หญ่ระดับโลก 2552
เศรษฐานะของคนไทยทีส่ ู บบุหรี่
ตามกล่ มประชากร (2552)
กลุ่มจนที่สุด
 กลุ่มเกือบจน
 กลุ่มปานกลาง
 กลุ่มรายได้สูง
 กลุ่มรวย

=
=
=
=
=
2.28
2.98
3.16
2.34
1.70
ล้านคน
“
“
“
“
กลยุทธ์ การตลาด
ของบริษทั บุหรี่มี
อะไรบ้ าง?
59
60

การโฆษณาและส่ งเสริ มการขายรู ปแบบต่าง ๆ

การสร้างค่านิยมสูบบุหรี่

การวิง่ เต้นขัดขวางมาตรการควบคุมยาสูบ
ทาไมบริษทั บุหรี่จงึ พ่งุ
เป้ าการตลาดไปที่เด็ก ๆ
61
เพื่อหาลูกค้าใหม่ทดแทนคนสูบที่ตายหรื อเลิกสูบ
 เพราะการติดบุหรี่ เกิดในวัยเด็กและวัยรุ่ น อายุเฉลี่ยที่
ติดคือ 17.4 ปี
 เพราะเด็ก ๆ ยังไม่รู้ถึงพิษภัยและอานาจการเสพติด
ของบุหรี่

62
บริษทั บุหรี่ได้ พ่งุ เป้ าการตลาดไปทีเ่ ยาวชน
ในฐานะ “ผู้สูบบุหรี่ทดแทน” ผู้ทเี่ ลิกสู บบุหรี่
หรือเสี ยชีวติ
บริษทั บุหรี่รู้ดวี ่ า การทาให้ เยาวชนเสพติดบุหรี่
เป็ นความหวังเดียวทีม่ ขี องอนาคตของธุรกิจ
เพราะการเสพติดบุหรี่เกือบทั้งหมดเกิดก่ อนอายุ 21 ปี
องค์ การอนามัยโลก
7 มีนาคม 2551
63
การตลาดของบริษทั บุหรี่

64
บริ ษทั บุหรี่ มีการวางแผนการตลาดด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อ
ดึงดูดเยาวชน
นายเบนเนท ลีโบว ประธานบริ ษทั เวคเตอร์กรุ๊ ป
เจ้าของบุหรี่ ชื่อดังหลายยีห่ อ้ กล่าวว่า
“ถ้าบริ ษทั บุหรี่ หยุดทาการตลาดที่พงุ่ เป้ าที่วยั รุ่ น
บริ ษทั จะต้องเลิกกิจการในเวลา 25 ถึง 30 ปี เพราะ
จะไม่มีลกู ค้าพอที่บริษทั จะอยูไ่ ด้
ข้ อสาคัญ คือ ต้ องมีความรู้ ให้ มากทีส่ ุ ด
เกีย่ วกับแบบแผนและทัศนคติของพฤติกรรมการ
สู บบุหรี่ในเด็ก วัยรุ่ นวันนี้ คือผู้ที่อาจจะเป็ น
ลูกค้ าประจาของบริษทั บุหรี่ในวันหน้ า
บริษทั บุหรี่ ฟิ ลลิป มอร์ ริส
65
การออกแบบซองบุหรี่
นายฟิ ลิป กาเบอร์แมน หัวหน้าฝ่ าย ครี เอทีฟขอ
โรเบริ ต ไบรอัน แอสโซซิ เอจ เปิ ดเผยว่า
“เราได้รับการติดต่อจากลูกค้าให้ออกแบบซอง
บุหรี่ ที่ดึงดูดวัยรุ่ น แบบซองที่ออกจะต้องเตะตา
วัยรุ่ น”
66
มาตรการควบคุมยาสูบ
มีอะไรบ้ าง?
67
การให้ความรู้ถึงพิษภัยและการเสพติดของยาสูบ
 การจากัดที่สูบ
 การห้ามการโฆษณาส่ งเสริ มการขายและการให้ทุนอุปถัมภ์
 การพิมพ์ภาพคาเตือนบนซองบุหรี่
 การขึ้นภาษี
 การช่วยให้เลิกสู บ
 การป้ องกันการแทรกแซงนโยบายโดยบริ ษท
ั บุหรี่
 การป้ องกัน/ปราบปรามบุหรี่ เถื่อน
 การช่วยเหลือชาวไร่ ยาสู บในการปลูกพืชทดแทนและการ
คุม้ ครองสุ ขภาพและสิ่ งแสดล้อม

68
มาตรการควบคุมยาสูบ
ที่เรียกว่ า “Best Buys”
มีอะไรบ้ าง?
69
Best Buys
70
การขึ้นภาษี
 การปกป้ องจากการได้รับควันบุหรี่
 การเตือนพิษภัยบุหรี่
 การห้ามโฆษณาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

MPOWER package
ของ WHO คืออะไร?
71
72
M
=
Monitor tobacco use
P
=
Protect from tobacco smoke
O
=
Offer help to quit
W
=
Warn about danger of tobacco use
E
R
=
=
Enforce advertising ban
Raise price & tax
6 มาตรการการลดคนตายจากยาสู บ
73
1.
2.
3.
4.
5.
6.
เฝ้ าระวังการใช้ยาสู บและนโยบายการป้ องกันการใช้ยาสูบ
ปกป้ องประชาชนจากการได้รับควันบุหรี่ มือสอง
ให้การช่วยเหลือการเลิกสู บบุหรี่
รณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่
เข้มงวดการบังคับใช้กฎหมายห้ามโฆษณาและส่ งเสริ ม
การขาย
ขึ้นภาษีบุหรี่ อย่างต่อเนื่อง
องค์การอนามัยโลก 7 กุมภาพันธ์ 2551
การให้ ความรู้ ถึงพิษภัย
และการเสพติดยาสูบ
ทาได้ อย่ างไรบ้ าง?
74



75
ผ่านช่องทางสื่ อต่าง ๆ โปสเตอร์ สื่ อสิ่ งพิมพ์
วิทยุ โทรทัศน์
ผ่านบุคลากรสาธารณสุ ขเวลาผูส้ ูบบุหรี่ มาใช้
บริ การ
ผ่านหลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ
ทาไมจึงต้อง
จากัดทีส่ ู บบุหรี่?
76
ประโยชน์ ของกฎหมายห้ ามสู บบุหรี่ในสถานทีส่ าธารณะ
77
คุม้ ครองสุ ขภาพของผูไ้ ม่สูบบุหรี่
 ทาให้ผส
ู้ ูบบุหรี่ นอ้ ยลง
 ทาให้ผส
ู้ ูบบุหรี่ หลายคนเลิกสูบบุหรี่
 เป็ นการเปลี่ยนค่านิ ยมของการสู บบุหรี่ ทาให้เด็ก ๆ ริ เริ่ ม
การสูบบุหรี่ นอ้ ยลง
 ลดความเสี่ ยงอุบต
ั ิเหตุไฟไหม้
 ลดค่าใช้จ่ายการดูแลสถานที่

ประกาศกระทรวง
สาธารณสุข ฉบับที่ ๑๙
ห้ ามสูบบุหรี่ทไี่ หนบ้ าง?
78
79

ที่สาธารณะที่ทางานที่เป็ นอาคาร/มีหลังคา

ยวดยานสาธารณะ

สถานที่ออกกาลังกาย

พักผ่อนหย่อนใจ
“ การห้ ามสู บบุหรี่กระทบต่ อธุรกิจของเราอย่ าง
แน่ นอน ถ้ าลูกค้ าของเรามีโอกาสสู บบุหรี่น้อยลง
การสู บบุหรี่ของเขาก็จะลดลง ซึ่งจะส่ งผลกระทบต่ อ
กาไรของเรา”
บริ ษทั ฟิ ลิป มอริ ส 2537
80
สถานที่สาธารณะที่
อนุญาตให้ มกี ารจัดทีส่ ู บ
บุหรี่ได้ มีทไี่ หนบ้ าง?
81
82

สนามบินนานาชาติ

สถานที่ราชการส่ วนที่ไม่ใช่อาคาร

มหาวิทยาลัยส่ วนที่ไม่ใช่อาคาร

ปั้มน้ ามันส่ วนที่ไม่ใช่อาคาร/พื้นที่บริ การ
ถ้ ามีการจัดเขต/ทีส่ ู บบุหรี่
ลักษณะต้ องเป็ นอย่ างไร?
83
84

ต้องไม่ใช่อยูใ่ กล้บริ เวณทางเข้าออก

ต้องอยูใ่ นที่ลบั ตา

ต้องไม่เป็ นการรบกวนผูอ้ ื่น
ทาไมจึงต้องห้ าม
โฆษณา ส่ งเสริมการขาย
และการให้ ทุนอุปถัมภ์ ?
85

ทาให้เด็ก ๆ ติดบุหรี่

ทาให้ผสู้ ูบบุหรี่ สูบมากขึ้น

ทาให้ผสู้ ูบบุหรี่ ไม่คิดอยากเลิก

ทาให้ผทู้ ี่อยากเลิกบุหรี่ เลิกยากขึ้น

ทาให้เห็นว่าการสูบบุหรี่ เป็ นพฤติกรรมปกติ

ทาให้สื่อไม่เผยแพร่ ข่าวสารทางลบของยาสูบ

ทาให้เป็ นอุปสรรคต่อการผลักดันมาตรการควบคุมยาสูบ
86
พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์
ยาสูบ พ.ศ.2535
ห้ ามอะไรบ้ าง?
87
88

ห้ามโฆษณาส่ งเสริ มการขายทั้งทางตรงทางอ้อม

ต้องพิมพ์ภาพคาเตือน

ต้องแจ้งส่ วนประกอบผลิตภัณฑ์

ห้ามอุปถัมภ์กิจกรรม
รู้ จัก 4 P
ในการขายสิ นค้ า?
89




Product
Price
Place
Promotion
ยกตัวอย่างสิ นค้ายาสูบและมาตรการที่ใช้ควบคุม
90
เกีย่ วกับการ
ประชาสั มพันธ์ การทา
กิจกรรมเพือ่ สั งคม (CSR)
มีการห้ ามหรือไม่ อย่ างไร?
91
ประกาศกรมประชาสั มพันธ์
92
เรื่ อง “การกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรการ
เพื่อลดการบริ โภคยาสู บ ทางสถานี
วิทยุกระจายเสี ยงและวิทยุโทรทัศน์”
12 พฤษภาคม 2548
“ห้ามแสดงหรื อโฆษณา การได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
ใด ๆ จากบริ ษทั ผูผ้ ลิต ผูน้ าเข้ายาสูบ...........
รวมถึงชื่อบริ ษทั หรื อองค์กรของรัฐ รวมถึงสัญลักษณ์หรื อ
อักษรย่อใด ๆ ..........”
ประกาศกรมประชาสัมพันธ์
12 พฤษภาคม 2548
93 93
ทาไมจึงต้องห้าม
การแสดงทีม่ ฉี ากสูบบุหรี่
ในทีว?ี
94



95
ดาราสูบบุหรี่ ทาให้เด็ก ๆ เลียนแบบ
มีหลักฐานว่าบริ ษทั บุหรี่ จา้ งให้ดาราและผูส้ ร้าง
ภาพยนตร์ทาให้มีฉากสูบบุหรี่ ในภาพยนตร์
หลักฐานการวิจยั พบว่าฉากสูบบุหรี่ ในภาพยนตร์เป็ น
สาเหตุหลักของการติดบุหรี่ ของวัยรุ่ นอเมริ กา
กฎหมายอะไร
ห้ ามมีฉากสูบบุหรี่ใน
การเผยแพร่ ทางทีว?ี
96
การห้ ามมีฉากสู บบุหรี่ในทีวี
97
“รายการที่จะออกอากาศโดยส่ งทางวิทยุกระจายเสี ยง
และวิทยุโทรทัศน์ จะต้องไม่เป็ นการเผยแพร่ ภาพการ
สูบบุหรี่ หรื อผลิตภัณฑ์ยาสูบ”
กฎกระทรวง พ.ร.บ.วิทยุกระจายเสี ยง
และโทรทัศน์ พ.ศ.2544
12 มกราคม 2544
ทาไมจึงต้องห้าม
การแสดงซองบุหรี่ทจี่ ุดขาย?
98
การแสดงซองบุหรี่ทจี่ ุดขาย
99
เป็ นการโฆษณารู ปแบบหนึ่ง
 ทาให้คนสู บบุหรี่ เห็นแล้วเกิดการซื้ อโดยไม่ได้
ตั้งใจที่จะซื้อตั้งแต่แรก
 ทาให้คนที่อยูใ่ นระหว่างการเลิกสู บบุหรี่ แพ้
ใจตัวเอง กลับมาสูบใหม่
 เป็ นการส่ งสัญญาณว่า “บุหรี่ ไม่ใช่สินค้าปกติ”

บริษทั บุหรี่
ฝ่ าฝื นกฎหมายห้ ามโฆษณา
ของไทยอย่ างไร?
100

101
พิมพ์โลโกบุหรี่ บนสิ่ งของเครื่ องใช้อื่น ๆ

จัดกิจกรรมต่าง ๆ โดยใช้ชื่อบริ ษทั บุหรี่

ใช้พริ ตตี้ส่งเสริ มการขาย

ใช้ชื่อบริ ษทั ให้ทุนอุปถัมภ์แก่โรงเรี ยน องค์กรต่าง ๆ

โฆษณาทางอินเตอร์เน็ต
ทาไมจึงห้าม
บริษทั บุหรี่ทากิจกรรมเพือ่
สั งคม CSR?
102
บริษทั บุหรี่ทากิจกรรม CSR เพือ่
103
เบี่ยงเบนภาพลักษณ์บริ ษทั ที่ผลิตสิ นค้าเสพติดที่
เป็ นอันตรายถึงชีวิต
ั ผูก้ าหนดนโยบาย
 สร้างความสัมพันธ์กบ
 ซื้ อความเงียบ
 ลดทอนกระแสการควบคุมยาสู บ
 บล็อกการกาหนดนโยบาย/ออกกฎระเบียบเพื่อ
ควบคุมยาสูบ

ระดับความน่ าเชื่อถือของธุรกิจ
104
1. สิ นค้าอุปโภคบริ โภค
6. สิ นค้าอิเล็คโทรนิค
10. ธุรกิจยา
16. ธุรกิจคมนาคม
20. ก่อสร้าง-เอ็นจีเนีย
26. ธุรกิจยาสู บ
75.47
70.65
67.49
65.87
62.71
51.44
The Global Reputation Pulse. June 2010
ระดับความน่ าเชื่อถือของวิชาชีพ
105
สูงสุ ด 1. ครู / อาจารย์ / นักวิชาการ
2. บุคลากรสาธารณสุ ข
3. ผูพ้ ิพากษา
4. นักวิทยาศาสตร์ / นักวิจยั
...................
22. ธุรกิจสุ รา
23. ธุรกิจยาสูบ
24. เซลล์แมน
25. ธุรกิจยาชูกาลัง
ต่าสุ ด 26. ธุรกิจผับบาร์
เอแบคโพลล์ มกราคม 2552
ถ้ าบริษทั บุหรี่มคี วามจริงใจ
ที่จะทา CSR จะทาโครงการ
อะไรได้ บ้าง?
106

ช่วยเหลือคนที่เจ็บป่ วยจากการสูบบุหรี่

ช่วยเหลือครอบครัวของคนที่ตายจากการสู บบุหรี่

107
ช่วยเหลือคนยากจนที่ติดบุหรี่ ซึ่งก็คือช่วยผูท้ ี่
ได้รับผลกระทบจากธุรกิจยาสูบ
ทาไมต้องพิมพ์รูปภาพ
คาเตือนบนซองบุหรี่?
108

109
เป็ นช่องทางเตือนพิษภัยของการสูบบุหรี่ ที่มีประสิ ทธิ ภาพคุม้ ค่า
ที่สุด

ผูส้ ูบบุหรี่ เห็นคาเตือนทุกครั้งที่สูบบุหรี่ 10 -20 ครั้งต่อวัน

คาพูด 1,000 คา ไม่เท่าการเห็นหนึ่งรู ปภาพ

คนอ่านหนังสื อไม่ออก/มีการศึกษาน้อยก็เข้าใจรู ปภาพได้

คนไม่สูบบุหรี่ กเ็ ห็นภาพคาเตือนด้วย

ลดความดึงดูดของซองบุหรี่

รัฐบาลเป็ นคนคิด บริ ษทั บุหรี่ เป็ นคนออกค่าใช้จ่าย

เป็ นการส่ งสัญญาณว่า “บุหรี่ ไม่ใช่สินค้าปกติ”
ทาไมต้องขึน้ ภาษีบาป?
110

ราคาบุหรี่ เป็ นปัจจัยสาคัญที่สุดในการที่
- จะทาให้คนสูบบุหรี่ นอ้ ยลง
- ทาให้คนเลิกสู บมากขึ้น
- ทาให้เด็ก ๆ ติดบุหรี่ ใหม่นอ้ ยลง


111
ทาให้รัฐบาลมีรายได้จากภาษีบุหรี่ มากขึ้น
รัฐบาลจ่ายค่ารักษาพยาบาลลดลงจากการที่คนสู บบุหรี่ ลดลง
นโยบาย “กาไร 3 ต่ อ”
ข้ อโต้ แย้ ง/คัดค้ านการขึน้
ภาษีของบริษทั บุหรี่
มีอะไรบ้ าง?
112
 จะทาให้บุหรี่ เถื่อนเพิม
่ ขึ้น
113

ทาให้รัฐบาลมีรายได้ลดลง

เป็ นการทาร้ายคนจนที่สูบบุหรี่

ชาวไร่ ยาสู บจะตกงาน

ผูค้ า้ ปลีกจะเดือดร้อน
อัตราภาษีสรรพสามิต, ยอดจาหน่ ายบุหรี่, รายได้ ภาษีสรรพสามิต และอัตราการสู บบุหรี่
ปี
อ ัตราภาษี ยอดจาหน่าย
(%)
(ล้านซอง)
ภาษีสรรพสามิต
(ล้านบาท)
2532 35-55
1,843

2533 55
1,941

2534 55
1,942

2535 55
1,983

2536 55
2,135

2537 60
2,328

2538 62
2,171

2539 68
2,463

2540 68
2,415

2542 70
1,810

2523 71.5
1,826

2544 75
1,727

2545 75
1,716

2546 75
1,904

2547 75
2,110

2548 75
2,187

2549 79
1,793

2550 80
1,958

2551 80
1,837

2552 85
1,790

2553 85
1,800

2554 85
2,038

2555 87
2,153
แหล่งข้อมูล : เว็บไซต์โรงงานยาสูบ-กรมสรรพสามิ ต

ราคาบุหรี่
ต่อซอง(บาท)
จานวนผูส
้ บ
ู บุหรี่
(ล้านคน)
14,664 ----------------------------------------------15,461 ----------------------------------------------15,898 ----------------------------------12.2
15,438 ------------- 12 ----------------------------15,345 ------------- 12
20,002 ------------- 15-----------------------------20,736
24,092 ------------- 18 ----------------12.5
29,755
26,708 ------------- 24
28,110 ------------- 28
29,627 ------------- 32 -------------- 11.9
31,247
33,582
36,326 ----------------------------------------------39,690-----------------------------------------------35,646 ------------- 42 --------------- 10.8
41,528 ------------- 45
40,489 ------------- 45
44,167 ------------- 58------------------10.9
53,381 ---------------58
57,196 ---------------58------------------11.5
59,873 ---------------65
ปัญหาเรื่องภาษีบุหรี่ของ
ประเทศไทย มีอะไรบ้ าง?
115

จุดอ่อนของโครงสร้างภาษีบุหรี่ ซิกาแรต
ภาระภาษีผลิตภัณฑ์ยาสู บต่างชนิดกันไม่
เท่ากัน
 บริ ษท
ั บุหรี่ แจ้งราคาต้นทุนต่ากว่าความจริ ง
 ระบบการปราบปรามบุหรี่ เถื่อนยังมีปัญหา

116
ทาไมจึงต้องช่ วยให้คน
เลิกสูบบุหรี่?
117
ผูส้ ู บบุหรี่ มากกว่าครึ่ งต้องการที่จะเลิกสู บ
บุหรี่ แต่เลิกไม่ได้

นิโคตินมีอานาจการเสพติดสู งเทียบเท่า
เฮโรอีน

118
ประโยชน์ ของการเลิก
สูบบุหรี่มอี ะไรบ้ าง?
119
สุ ขภาพดีข้ ึนทันที
 ไม่ตอ
้ งเป็ นพะวงกับการพกพาอุปกรณ์สูบบุหรี่
 ไม่ตอ
้ งกระวนกระวายเวลาอยูใ่ นที่ที่หา้ มสูบบุหรี่
 ตัวไม่เหม็นกลิ่นบุหรี่
 ประหยัดเงินค่าบุหรี่
 ลดความเสี่ ยงเกิดโรคต่าง ๆ
 เลิกทาร้ายคนใกล้ชิดทั้งกายและใจ

120
คนไทยทีเ่ ลิกสูบบุหรี่ได้
เลิกด้ วยวิธีอะไร?
121



เลิกด้วยตนเอง
เลิกด้วยการใช้ยาช่วย
เลิกด้วยการรับคาปรึ กษา
88.9%
10.6%
5.8%
GATS 2009
122
วิธีการช่ วยให้ คนเลิกสู บบุหรี่
123
1.
แนะนา/รักษาผูส้ ูบบุหรี่ โดยตรง
2.
การปรับสิ่ งแวดล้อมที่จะส่ งผลให้คนเลิกสูบ
อย่ างไหนสาคัญกว่ ากัน?
การปรับสิ่ งแวดล้ อมเพือ่ ให้
ผู้สูบบุหรี่เลิกสู บและผู้ไม่ สูบไม่ เริ่ม
124





ให้ความรู้ถึงพิษภัยของยาสูบ
เตือนภัยบนซองบุหรี่
ห้ามสิ่ งกระตุน้ ให้สูบบุหรี่
จากัดที่สูบบุหรี่
ขึ้นภาษี
ทาไมจึงต้องป้องกันการ
แทรกแซงนโยบายควบคุม
ยาสูบโดยบริษทั บุหรี่?
125


126
การแทรกแซงนโยบายควบคุมยาสูบ โดยบริ ษทั
บุหรี่ เป็ นอุปสรรคสาคัญที่สุดในการควบคุมยาสูบ
บริ ษทั บุหรี่ มีประวัติยาวนานในการแทรกแซงการ
ควบคุมยาสูบ ของประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลก ทั้งโดย
ลับ ๆ และเปิ ดเผย
วิธีการที่บริษัทบุหรี่ใช้
ในการแทรกแซงนโยบาย
ควบคุมยาสูบ มีอะไรบ้ าง?
127



บริ จาคเงินให้เงินแก่พรรคการเมือง/ นักการเมือง/
ข้าราชการ / หน่วยงานราชการ
ทากิจกรรมเพื่อสังคม “CSR”
อาศัยองค์กรบังหน้า / ผูค้ า้ ปลีก / ชาวไร่ ยาสูบ/
สมาคม / สถานประกอบการบันเทิง
รู ปแบบการแทรกแซงในประเทศไทยมีอะไรบ้ าง?
128
รู ปแบบของการแทรกแซงนโยบายในประเทศไทย
129
- การขึ้นภาษียาสู บ
- การปรับโครงสร้างภาษียาสูบ
- การเก็บภาษียาเส้น
 คัดค้านการเปลี่ยนคาเตือนที่มีขนาดใหญ่ข้ ึน
 คัดค้านการออกกฎกระทรวงเกี่ยวกับการเปิ ดเผยส่ วนประกอบ
บุหรี่ ซิกาแรต
 คัดค้านการออกประกาศห้ามพิมพ์คาว่า เมนทอลบนซองบุหรี่
 การทุ่มทา CSR

คัดค้าน
มาตรา 5.3
อนุสัญญาควบคุมยาสูบ
กาหนดแนวทางปฏิบัติไว้
อย่ างไร?
130
มาตรการ 5.3 อนุสัญญาควบคุมยาสู บ องค์ การอนามัยโลก
กาหนดให้
131
1.
2.
ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่ วนของสังคมรู ้ถึงกลยุทธ์การ
แทรกแซงนโยบายควบคุมยาสูบโดยบริ ษทั บุหรี่
จากัดการติดต่อของเจ้าหน้าที่รัฐกับผูแ้ ทนบริ ษทั บุหรี่ ให้
เหลือเท่าที่จาเป็ นในการบังคับใช้กฎหมายควบคุมยาสู บ
เท่านั้น
3.
4.
132
ป้ องกัน การเกิ ด กรณี ผ ลประโยชน์ ท ับ ซ้ อ น โดยห้ า ม
เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ร่ ว มกิจ กรรมเพื่อ สั ง คมที่ จัด โดยบริ ษ ัท
บุหรี่ รับบริ จาคหรื อบริ การจากบริ ษทั บุหรี่
ประชาสัมพันธ์ให้รู้ถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริ งของการทา
กิจกรรมเพื่อสังคมของบริ ษทั บุหรี่ ก็เพื่อลดทอนกระแส
การควบคุ มยาสู บ ผูกมิ ตรกับผูก้ าหนดนโยบายเพื่อซื้ อ
ความเงียบจนกระทัง่ คัดค้านมาตรการควบคุมยาสู บ
5.
6.
7.
8.
133
ห้ามเปิ ดเผย ประชาสัมพันธ์การทากิ จกรรมเพื่อ
สังคมของบริ ษทั บุหรี่
ห้ามการทากิจกรรมเพื่อสังคมโดยบริ ษทั บุหรี่
ห้ามให้สิทธิ พิเศษแก่บริ ษทั บุหรี่ ในการประกอบ
ธุรกิจ
ปฏิบตั ิต่อธุรกิจยาสูบอย่างเท่าเทียมกัน
บุหรี่ผดิ กฎหมาย(บุหรี่เถื่อน)
ประกอบด้ วยบุหรี่ชนิดไหน?
134
135

บุหรี่ ที่หนีภาษี (ไม่ได้เสี ยภาษี)

บุหรี่ ปลอม
บุหรี่หรือผลิตภัณฑ์ ยาสูบ
ที่ผดิ กฎมายในประเทศไทยมี
อะไรบ้ าง?
136


บุหรี่ ที่ไม่ได้ติดแสตมป์

ชิชา (ยาเส้นหมัก)

137
บุหรี่ ที่ไม่มีภาพคาเตือนเป็ นรู ปภาพตามที่ สคส.
กาหนด
บุหรี่ ไร้ควัน
- ชนิดเคี้ยว
- อิเล็คทรอนิค
พิธีสาร
“การค้ ายาสูบทีผ่ ดิ กฎหมาย”
คืออะไร?
138
พิธีสาร “การค้ ายาสูบทีผ่ ดิ กฎหมาย”
139
เป็ นพันธกรณี ที่รัฐภาคีอนุสญ
ั ญาควบคุมยาสูบ
ต้องปฏิบตั ิ เพื่อควบคุมบุหรี่ ผดิ กฎหมาย ทั้ง
ภายในประเทศและระหว่างประเทศ ทั้งนี้ รัฐภาคี
ต้องลงสัตยาบันในพิธีสาร
บริษทั บุหรี่ทที่ าธุรกิจใน
ประเทศไทยมีใครบ้ าง?
140


141
โรงงานยาสูบ กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง
ผูน้ าเข้าบุหรี่ จากต่างประเทศ
- ฟิ ลิปปิ นส์
- อินโดนีเซีย
- มาเลเซีย
- จีน
- เขมร
- เวียดนาม
กาไรสุ ทธิของบริษทั บุหรี่ พ.ศ.2553
142
บริ ษทั บุหรี่ แห่งชาติจีน
ฟิ ลลิป มอริ ส
บริ ติโทแบคโก
อัลเทรี ยฟิ ลลิป มอริ ส USA
อิมพิเรี ยลโทแบคโก
แจแปนโทแบคโก
โรงงานยาสูบไทย
496,000 ล้านบาท
232,500 ล้านบาท
130,200 ล้านบาท
120,900 ล้านบาท
62,000 ล้านบาท
46,500 ล้านบาท
5,817 ล้านบาท
The Tobacco Atlas, 4th Edition March 2012
โบนัสและสิ ทธิประโยชน์ อนื่ สาหรับ CEO
บริษทั บุหรี่ (พ.ศ.2553)
143
Michael Szymanczyk (Philip Morris USA)
Louis Camilleri (Philip Morris International)
Alison Cooper (Imperial Tobacco)
Nicandro Durante (British American Tobacco)
744 ล้านบาท
669.6 ล้านบาท
102.3 ล้านบาท
74.4 ล้านบาท
The Tobacco Atlas , 4th Edition March 2012
โรงงานยาสู บโบนัสรวม = 527 ล้านบาท (2553)
พ.ศ.2548 ทัว่ โลกเสี ยชีวติ จากการสู บบุหรี่ 4.9 ล้ านคน
144
ฟิ ลลิป มอริ ส
บีเอที
ส่ วนแบ่ งตลาด (%)
18.6
16.9
ทาให้ คนตาย
911,400 คน
828,100 คน
ศาสตราจารย์ไซมอน แชปแมน
มหาวิทยาลัยซิดนีย ์ ออสเตรเลีย
การวางยุทธศาสตร์ การดาเนินการต่ อสู้ เพือ่ การไม่ สูบบุหรี่
145



ต่อสู ้กบั “การสูบบุหรี่ ” ไม่ใช่ “คนสูบบุหรี่ ”
การสู บบุหรี่ ไม่ดี” ไม่ใช่ “คนสู บบุหรี่ ไม่ดี”
รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ” ไม่ใช่ “ต่อต้านการสูบบุหรี่ ”
“จากัดคู่ชกของเราให้ อยู่เฉพาะบริษทั บุหรี่”
“เปลีย่ นพันธมิตรบริษทั บุหรี่มาเป็ นพวกเรา”
ทาไมจึงต้องช่ วยเหลือ
ชาวไร่ ยาสูบในการปลูกพืช
ทดแทน?
146



147
การทาไร่ ยาสูบเป็ นอาชีพของเขา
เมื่อความต้องการยาสูบลดลง ราคาใบยาสูบลดลง
ชาวไร่ อาจจะต้องการความช่วยเหลือในการปลูกพืช
ทดแทน
บริ ษทั บุหรี่ อาศัยชาวไร่ ยาสูบ เป็ นเครื่ องมือในการ
คัดค้านมาตรการควบคุมยาสูบของรัฐ
DECREASE OF ACREAGE AND NUMBER
OF TOBACCO GROWERS 2000 - 2012
148
Year
Acreage (Ha.)
No. of Growers
2000
15,764
23,020
2005
8,520
11,431
2010
3,698
3,377
*2011
4,242
3,024
2012 (Oct . 2012)
2,354
2,428
* Demand by manufacturers increased
PROGRESS OF KENAF CULTIVATION IN
MALAYSIA
149
Year
Acreage
No. of Farmers
2004
0.4 ha.
1
2005
42 ha.
25
2006
112 ha.
13
2007
285 ha.
92
2008
464 ha.
167
2009
343 ha.
50
2010
1,693 ha.
409
2011
1,140 ha.
687
2012 (OCT . 2012)
870.1 ha.
604
ทาไมจึงต้องคุ้มครอง
สุขภาพและสิ่ งแวดล้ อมใน
การทาไร่ ยาสูบ?
150


151
การทาไร่ ยาสูบต้องใช้ ยาปราบศัตรู พชื ยาฆ่าแมลง
เป็ นจานวนมาก ทาให้เป็ นอันตรายต่อชาวไร่ และ
คุณภาพดินเสื่ อม
ชาวไร่ ที่ไม่ระวังป้ องกันอาจจะเกิด “กรี นซิคเนส” จาก
การได้รับนิโคตินเกินขนาด โดยนิโคตินจากใบยาสูบ
ซึมผ่านผิวหนังชาวไร่
ยาสู บพันธุ์เบอร์ เลย์ อ.ศรีสาโรง จ.สุ โขทัย
152
ความถี่การใช้สารกาจัดแมลง (ครั้งต่อปี )
ปริ มาณการใช้สารเคมีกาจัดแมลง
(มิลลิลิตร/ไร่ )
ปริ มาณการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดโรค
พืช (มิลลิลิตร/ไร่ )
ปริ มาณการใช้สารกาจัดวัชพืช
(มิลลิลิตร/ไร่ )
%ครัวเรื อนที่มีอาการแพ้หรื อเจ็บป่ วย
จากการใช้สารเคมี
ยาสู บ ต.ทับผึง้
ข้ าว ต.บ้ านไร่
7.60
0.99
5.85
0.10
= 10 เท่า
0.73
0.09
= 8 เท่า
0.49
0.10
= 5 เท่า
47.5
4.0
= 12 เท่า
ดร.จิระวัฒน์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
อนุสัญญาควบคุมยาสูบ
คืออะไร?
มีความเป็ นมาอย่ างไร?
153


154
เป็ นกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับสุ ขภาพฉบับ
เดียวของโลก
วัตถุประสงค์เพื่อเป็ นเครื่ องมือสนับสนุนประเทศต่าง ๆ
(Guideline) เพื่อสนับสนุนการดาเนินการตามอนุสัญญา

มีผลบังคับใช้เดือนกุมภาพันธ์ 2548

มี 176 ประเทศร่ วมลงนามเป็ นรัฐภาคี
สนธิสัญญาควบคุมยาสู บ องค์ การอนามัยโลก พ.ศ. 2548
155
มาตรา 5.3 การป้ องกันการแทรกแซงนโยบายสาธารณะจากบริ ษทั บุหรี่
มาตรา 6 มาตรการด้านราคาและภาษี
มาตรา 8 การคุม้ ครองภัยจากควันบุหรี่
มาตรา 9 – 10 การควบคุมส่ วนประกอบผลิตภัณฑ์
มาตรา 11 การเตือนภัยยาสูบ
มาตรา 12 การให้สุขศึกษา
มาตรา 13 การห้ามโฆษณาและส่ งเสริ มการขาย
มาตรา 14 การช่วยให้เลิกบุหรี่
มาตรา 15 การปราบปรามบุหรี่ เถื่อน
หน่ วยงาน/องค์ กรที่ทางาน
ควบคุมยาสูบในประเทศไทย
มีอะไรบ้ าง?
หน้ าที่หลักของแต่ ละหน่ วยงาน
คืออะไร?
156
สานักงานควบคุมยาสูบ กสธ.
 มูลนิ ธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
 สถาบันส่ งเสริ มสุ ขภาพไทย
 เครื อข่ายวิชาชีพสุ ขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่
 เครื อข่ายครู เพื่อโรงเรี ยนปลอดบุหรี่
 ศูนย์วจ
ิ ยั และจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ
 สสส.
 เครื อข่ายรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ อาเซี ยน (SEATCA)

157
บทบาทหลักของหน่ วยงานต่ าง ๆ ในการควบคุมยาสู บ
158
- พัฒนานโยบาย
- ประสานงานการบังคับใช้กฎหมาย
 มูลนิธิรณรงค์ ฯ
- สร้างกระแส/เครื อข่าย
- ผลักดันนโยบาย/กฎหมาย
 สถาบันส่ งเสริ มสุ ขภาพไทย
- ผลักดันนโยบาย/กฎหมาย
- เฝ้ าระวัง บริ ษทั บุหรี่
 เครื อข่ ายวิชาชี พฯ
- สถานบริ การปลอดบุหรี่
- ช่วยให้คนเลิกสูบบุหรี่
 ศู นย์ วจ
ิ ัยฯ
- วิจยั /วิเคราะห์ขอ้ มูล
 เครื อข่ ายครู
- โรงเรี ยนปลอดบุหรี่
 สสส.
- สนับสนุนทุน

กระทรวงสาธารณสุ ข