คุณภาพสิ่งแวดล้อม - proton.rmutphysics.com

Download Report

Transcript คุณภาพสิ่งแวดล้อม - proton.rmutphysics.com

สิ่งแวดล้ อม
สิ่งแวดล้ อมหมายถึง สิ่งต่างๆ ที่มี
ลักษณะทางกายภาพและชีวภาพ
ที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ซึง่ เกิดขึ ้นโดย
ธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้ างขึ ้น
คุณภาพสิ่งแวดล้ อม
ดุลยภาพของธรรมชาติ อันได้ แก่
สัตว์ พืชและทรัพยากรต่างๆ และ
สิ่งที่มนุษย์ได้ ทาขึ ้น เพื่อประโยชน์
ต่อการดารงชีพของประชาชนและ
ความสมบูรณ์สืบไปของมนุษย์
มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้ อม
มาตรฐานคุณภาพน ้า อากาศ
เสียง และสภาวะอื่นๆ ของ
สิ่งแวดล้ อม ซึง่ กาหนดเป็ นเกณฑ์
ทัว่ ไปสาหรับการส่งเสริ มและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้ อม
มลพิษ
ของเสีย วัตถุอนั ตรายและมลสาร
อื่นๆรวมทังกาก
้
ตะกอนหรื อสิ่ง
ตกค้ างจากสิ่งเหล่านัน้ ที่ถกู ปล่อย
จากแหล่งกาเนิดมลพิษ ก่อให้ เกิด
ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้ อม
ประเภทของมลพิษ
มลพิษทางนา้
น ้าเสียแบ่งได้ 2 ประเภท
1. น ้าเสียเนื่องจากมีออกซิเจนน้ อยเกินไป
2. น ้าเสียเนื่องจากมีสารเคมีละลายอยู่
คุณภาพนา้
ค่ าออกซิเจนละลายนา้ ละลาย (Dissolved Oxygen; DO )
บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand, BOD)
• การวัดค่าออกซิเจนละลายในน ้าจะทาให้
ทราบถึงแนวโน้ มที่ลาน ้าจะสามารถรองรับ
ความสกปรกและรักษาปริ มาณออกซิเจน
ให้ มีอยู่มากน้ อยเท่าใด
• แหล่งน ้าตามธรรมชาติควรมีค่า
Dissolved Oxygen มากกว่า 2 mg/l
• การตรวจวัดค่าบีโอดีเป็ นการวัดปริ มาณ
สารอินทรี ย์ที่มีอยู่ในแหล่งน ้า ถ้ าแหล่งน ้า
ใดมีปริ มาณสารอินทรี ย์อยู่มาก ย่อมแสดง
ว่าแหล่งน ้านันมี
้ ความสกปรกมาก
•
•
•
•
•
ชั ้น I คุณภาพชั ้นดีเยี่ยม
ชั ้นที่ II ดีมาก
ชั ้นที่ III ดี
ชั ้นที่ IV พอใช้
ชั ้นที่ V เลว
0-1.5 mg/l
1.5-3 mg/l
3 – 6 mg/l
6 – 12 mg/l
> 12 mg/l
คุณภาพนา้
โคลิฟอร์ มแบคทีเรีย (Coliform Bacteria)
• ดัชนีคณ
ุ ภาพที่แสดงให้ เห็นถึงแนวโน้ มการ
แพร่เชื ้อโรคในแหล่งน ้าโคลิฟอร์ มแบคทีเรี ย
ที่สาคัญได้ แก่ ฟี คอล โคลิฟอร์ ม (Fecal
Coli form)
สภาพความเป็ นกรด – ด่ าง pH
•
ความเป็ นกรดเป็ นด่าง อยู่ระหว่าง 6-8 สภาพความ
เป็ นกรด (Acidity) เกิดจากพวกคาร์ บอนไดออกไซด์
(CO2) เกลือแร่และกรดอินทรี ย์ต่าง ๆ สภาพความ
เป็ นด่าง (Alkalinity) เกิดจากพวกไบคาร์ บอเนต
และเกลือของพวกกรดอย่างอ่อน ๆ เช่น พวก
ฟอสเฟต
คุณภาพนา้
ความกระด้ างของนา้ (Hardness)
คุณภาพนา้
• น ้ากระด้ างเป็ นน ้าที่มีเกลือไบคาร์ บอเนต คาร์ บอเนตคลอไรด์ หรื อซัลเฟต ของธาตุ
แคลเซียม แมกนีเซียมปะปนอยู่
• การแบ่งระดับความกระด้ างของน ้า มีดงั นี ้
–
–
–
–
0 ถึง 75 มิลลิกรัมต่อลิตร เรี ยก น ้าอ่อน
75 ถึง 150 มิลลิกรัมต่อลิตร เรี ยก น ้ากระด้ างปานกลาง
150 ถึง 300 มิลลิกรั มต่อลิตร เรี ยก น ้ากระด้ าง
300 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ ้นไป เรี ยก น ้ากระด้ างมาก
มาตรฐานคุณภาพนา้ ในแหล่ งนา้
• คุณภาพระดับ 1 เป็ นแหล่งน ้าสะอาดดีมากที่ใช้ ประโยชน์เพื่อการอุปโภคและ
บริโภค เพื่อการอนุรักษ์ ระบบนิเวศน์ของแหล่งน ้า ไม่อนุญาตให้ มีการระบายน ้า
ทิ ้งจากกิจกรรมทุกประเภทลงสูแ่ หล่งน ้าระดับ 1
• คุณภาพระดับ 2 เป็ นแหล่งน ้าสะอาดดีที่ใช้ ประโยชน์เพื่อ การอุปโภคและบริโภค
โดยต้ องผ่านขบวนการบาบัด การอนุรักษ์ สตั ว์น ้าโดยทัว่ ไปให้ มีชีวิตอยูร่ อด การ
พักผ่อนหย่อนใจ การทิ ้งน ้าเสียลงสูแ่ หล่งน ้าระดับ 2 จะสามารถกระทาได้ ต่อเมื่อ
ผลของการระบายน ้าเสียนันไม่
้ ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของแหล่งน ้านัน้
• คุณภาพระดับ 3 เป็ นแหล่งน ้าสะอาดปานกลางที่ใช้ ประโยชน์เพื่อ การอุปโภค
และบริโภคโดยต้ องผ่านขบวนการบาบัด การเกษตรกรรม
มาตรฐานคุณภาพนา้ ในแหล่ งนา้
• คุณภาพระดับ 4 เป็ นแหล่งน ้าสะอาดพอใช้ ที่ใช้ ประโยชน์เพื่อ การอุปโภคและ
บริโภค โดยต้ องผ่านขบวนการบาบัดน ้าเป็ นพิเศษ การอุตสาหกรรม กิจกรรมอื่น
ๆ ที่มีความต้ องการน ้าที่มีคณ
ุ ภาพในระดับนี ้
• คุณภาพระดับ 5 เป็ นแหล่งน ้าที่ไม่เหมาะสมสาหรับการใช้ ประโยชน์ข้างต้ น แต่
อาจใช้ ประโยชน์ในด้ านการคมนาคมได้
สาเหตุท่ ที าให้ เกิดมลพิษทางนา้
• น ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม มี ๔ ประเภท
1. นา้ หล่ อเย็น เป็ นน ้าทิ ้งที่เกิดจากการระบายความร้ อนในเครื่ องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ
โดยปรกติ ไม่สกปรกมากนัก แต่น ้าหล่อเย็นจากโรงงานบางโรงงานมีสนิมเจือปน และมีอณ
ุ หภูมิ
สูง
2. นา้ ล้ าง ได้ แก่ น ้าทิ ้งที่เกิดจากการล้ าง ทาความสะอาด เครื่ องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ น ้าล้ างนี ้
อาจมีความสกปรกมาก มีสารเคมีตา่ ง ๆ รวมทังน
้ ้าจากส้ วมและน ้าอาบของคนงาน
3. นา้ จากขบวนการผลิต เป็ นน ้าทิ ้งที่เกิดจากขบวนการผลิต น ้าล้ างผลไม้ ในการทาผลไม้
กระป๋ อง
4. นา้ ทิง้ อย่ างอื่น เช่น น ้าคอนเดนเซอร์ ซึง่ เป็ นน ้าทิ ้งที่ใช้ ในการควบแน่นไอน ้าในบาร์ โรเมตริ ก
คอนเดนเซอร์ ที่สาคัญที่สดุ ได้ แก่น ้าคอนเดนเซอร์ ซงึ่ มีปริ มาณมาก อุณหภูมิสงู และมีสิ่งสกปรก
ละลายปน อยู่ด้วย
คุณภาพอากาศ
• ส่วนประกอบของแก๊ สต่าง ๆ ในชันบรรยากาศค่
้
อนข้ างคงที่ คือ แก๊ ส
ไนโตรเจน 78.09% ออกซิเจน 20.94% อาร์ กอน 0.93%
คาร์ บอนไดออกไซด์ 0.03% และแก๊ สอื่น ๆ อีก 0.01%
มลพิษทางอากาศ
สารพิษที่ทาให้ อากาศเสีย
• คาร์ บอนไดออกไซโซด์ (CO2) เป็ นแก๊ สที่เกิดจากการเผาไหม้ ของเชื ้อเพลิงและ
สิง่ อื่น ๆและเป็ นแก๊ สที่ถกู ปล่อยออกสูบ่ รรยากาศมากที่สดุ
สารพิษที่ทาให้ อากาศเสีย
• แก๊ สคาร์ บอนมอนอกไซด์ (CO) เป็ นแก๊ สที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น น ้าหนักเบา เป็ นแก๊ ส
พิษที่ถกู ปล่อยออกจากท่อไอเสียรถยนต์เป็ นส่วนใหญ่
มีความสามารถในการรวมตัวกับ
ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดงได้
มากกว่าแก๊ สออกซิเจนถึง 200-250
เท่า จะทาให้ เวียนศีรษะ หายใจอึด
อัด คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ าร่างกาย
รับเข้ าไปปริ มาณมากอาจเสียชีวิต
สารพิษที่ทาให้ อากาศเสีย
• แก๊ สซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ (SO2) เป็ นออกไซด์ของกามะถันอย่างหนึง่ เกิดจาก
การเผาไหม้ ของเชื ้อเพลิงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ่านหิน น ้ามัน
สารพิษที่ทาให้ อากาศเสีย
• ออกไซด์ ของไนโตรเจน เป็ นผลจากการเผาไหม้ เชื ้อเพลิงที่อณ
ุ หภูมิสงู มี
อยูด่ ้ วยกันหลายชนิด ที่สาคัญควรกล่าวถึงมีอยู่ 2 ชนิด คือ ไนตริ คออกไซด์
และไนโตรเจนไดออกไซด์ แก๊ สไนตริ คออกไซด์ เป็ นแก๊ สไม่มีสีและกลิน่ จะทา
ปฏิกิริยากับแก๊ สออกซิเจนเปลี่ยนเป็ นไนโตรเจนไดออกไซด์
• ละอองตะกั่ว เป็ นโลหะอ่อนสีเทาเงิน อยูใ่ นรูปของสารประกอบอินทรี ย์
จาพวกเตตราเอทิลเลต เตตราเมทิลเลต ซึง่ เป็ นสารสาหรับใช้ เติมในน ้ามัน
เชื ้อเพลิง เบนซิน การหายใจเอาอากาศที่มีสารตะกัว่ เจือปนอยูเ่ ข้ าไปจะเป็ น
อันตรายต่อระบบประสาทไต ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ ระบบสืบพันธุ์
นอกจากนี ้ยังทาให้ เกิดโรคเลือดจาง เม็ดเลือดแดงอายุสนลง
ั ้ และในหญิงที่มี
ครรภ์สารตะกัว่ จะผ่านทางรกเข้ าสูร่ ่างกายทารก
สารพิษที่ทาให้ อากาศเสีย
• ไฮโดรคาร์ บอน เกิดจากการระเหยของน ้ามันเป็ นส่วนใหญ่มีอยู่หลาย
รูป เช่น ฟอร์ มาลดีไฮด์ อัลดีไฮด์ และคีโทนด์ เป็ นต้ น แก๊ สประเภทนี ้อาจ
ทาให้ เกิดอาการแสบตา แสบจมูก
สารพิษที่ทาให้ อากาศเสีย
• สารคลอโรฟลูออโรคาร์ บอน (CFC)
ปรากฏการณ์ เรือนกระจก (Greenhouse Effects)