วัสดุอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก

Download Report

Transcript วัสดุอุปกรณ์ในการทำผ้าบาติก

ประวัติผ้าบาติกหรือผ้ าปาเต๊ ะ
เป็ นคำที่ใช้เรี ยกผ้ำชนิดหนึ่งที่มีวิธีกำรทำโดยใช้เทียนปิ ดส่ วน
ที่ไม่ตอ้ ง กำรให้ติดสี และใช้วธิ ีกำรแต้ม ระบำย หรื อย้อมในส่ วนที่
ต้องกำรให้ติดสี ผ้ำบำติกบำงชิ้นอำจจะผ่ำนขั้นตอนกำรปิ ดเทียน
แต้มสี ระบำยสี และย้อมสี นบั เป็ นสิ บ ๆ ครั้ง ส่ วนผ้ำบำติกอย่ำงง่ำย
อำจทำโดยกำรเขียนเทียนหรื อพิมพ์เทียน แล้วจึงนำไปย้อมสี ที่ตอ้ ง
กำรคำว่ำ บำติก หรื อปำเต๊ะ
ประวัตผิ ้ าบาติกหรือผ้ าปาเต๊ ะ
เดิมเป็ นคำในภำษำชวำใช้เรี ยกผ้ำที่มีลวดลำยที่เป็ นจุด คำว่ำ
“ ติก ” มีควำมหมำยว่ำ เล็กน้อย หรื อจุดเล็กๆมีควำมหมำยเช่น
เดียวกับคำว่ำตริ ติก หรื อ ตำริ ติก ดังนั้นคำว่ำ บำติก จึงมีควำมหมำย
ว่ำเป็ นผ้ำที่มีลวดลำยเป็ นจุดๆ ด่ำงๆ วิธีกำรทำผ้ำบำติกในสมัย
ดั้งเดิมใช้วธิ ีกำรเขียนด้วยเทียน { wax- writing}
ประวัตผิ ้ าบาติกหรือผ้ าปาเต๊ ะ
เดิมเป็ นคำในภำษำชวำใช้เรี ยกผ้ำที่มีลวดลำยที่เป็ นจุด คำว่ำ
“ ติก ” มีควำมหมำยว่ำ เล็กน้อย หรื อจุดเล็กๆมีควำมหมำยเช่น
เดียวกับคำว่ำตริ ติก หรื อ ตำริ ติก ดังนั้นคำว่ำ บำติก จึงมีควำมหมำย
ว่ำเป็ นผ้ำที่มีลวดลำยเป็ นจุดๆ ด่ำงๆ วิธีกำรทำผ้ำบำติกในสมัย
ดั้งเดิมใช้วธิ ี กำรเขียนด้วยเทียน
ประวัตผิ ้ าบาติกหรือผ้ าปาเต๊ ะ
ดังนั้นผ้ำบำติกจึงเป็ น ลักษณะผ้ำที่มีวิธีกำรผลิตโดยใช้เทียน
ปิ ดในส่ วนที่ไม่ตอ้ งกำรให้ติด สี แม้วำ่ วิธีกำรทำผ้ำบำติกในปัจจุบนั
จะก้ำว หน้ำไปมำกแล้วก็ตำม แต่ลกั ษณะเฉพำะประกำรหนึ่งของ
ผ้ำบำติกก็คือ จะต้องมีวธิ ีกำรผลิตโดยใช้เทียนปิ ดส่ วน ที่ไม่ตอ้ งกำร
ให้ติดสี หรื อปิ ดส่ วนที่ ไม่ตอ้ งกำรให้ติดสี ซ้ ำอีก แหล่งกำเนิด แหล่ง
กำเนิดของผ้ำบำติกมำจำกไหนยังไม่เป็ นที่ยตุ ิ นักวิชำกำรชำวยุโรป
หลำยคนเชื่อว่ำมีในอินเดียก่อน แล้วจึงแพร่ หลำยเข้ำไปในอินโด
นีเซียอีกหลำยคนว่ำมำจำกอียปิ ต์หรื อเปอร์เซีย
ประวัตผิ ้ าบาติกหรือผ้ าปาเต๊ ะ
แม้วำ่ จะได้มีกำรค้นพบผ้ำบำติก ที่มีอำยุเก่ำแก่ในประเทศอื่น
ทั้งอียปิ ต์ อินเดีย และญี่ปุ่นแต่บำงคนก็ยงั เชื่อว่ำ ผ้ำบำติกเป็ นของ
ดั้งเดิมของอินโดนีเซีย และยืนยันว่ำศัพท์เฉพำะที่เรี ยกวิธีกำรและ
ขั้นตอนในกำรทำผ้ำบำติก เป็ นศัพท์ภำษำอินโดนีเซีย สี ที่ใช้ยอ้ มก็
มำจำกพืชที่มีในอินโดนีเซี ยแท่งขี้ผ้ งึ ชนิดที่ใช้เขียนลำยก็ เป็ นของ
อินโดนีเซีย ไม่เคยมีในอินเดียเลย เทคนิคที่ใช้ใน อินโดนีเซียสูง
กว่ำที่ทำกันในอินเดีย
ประวัตผิ ้ าบาติกหรือผ้ าปาเต๊ ะ
จำกกำรศึกษำค้นคว้ำของ N.J.Kron นักประวัติศำสตร์ชำว ดัตช์ก็
สรุ ปไว้วำ่ กำรทำโสร่ งบำติกหรื อโสร่ งปำเต๊ะเป็ นวัฒนธรรมดั้งเดิมของ
เอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ก่อนติดต่อกับอินเดีย จำก กำรศึกษำของบุคคล
ต่ำง ๆ อำจกล่ำวได้วำ่ แม้วำ่ จะมีกำรค้นพบลักษณะผ้ำบำติกในดินแดน
อื่น ๆ นอกจำกอินโดนีเซีย แต่กค็ งเป็ นลักษณะเฉพำะท้องถิ่น วิธีกำร
ปลีกย่อยจะแตกต่ำงกันตำมวิธีกำรทำผ้ำ ของชำติต่ำง ๆ ที่จะให้มี
ลวดลำยสี สัน ผ้ำบำติกของอินโดนีเซียเอง คงไม่ได้รับกำรถ่ำยทอดจำก
ชำติอื่น ในทำงกลับกันในระยะต่อมำกำรทำผ้ำบำติกของอินโดนีเซีย
ได้รับกำรเผยแพร่ ไปยัง ชำติอื่น ๆ ส่ วนกำร ทำผ้ำโสร่ งบำติกนั้น คงมี
กำเนิดจำกอินโดนีเซียค่อนข้ำงแน่นอน
วัสดุอุปกรณ์ ในการทาผ้ าบาติก
1.เฟรมหรื อกรอบไม้ชนิดต่างๆที่ใช้ทาผลิตภัณฑ์
2.ผ้าใยธรรมชาติเนี้อบางเบาเช่นผ้ามัสลิน
3.เทียนสาเร็ จรู ป
4.จันติ้งพร้อมใส้แยง
5.สี และภู่กนั ขนาดต่างๆ
6.น้ ายากันสี ตก(น้ ายาเคลีอบชิลิเกต)
วัสดุอุปกรณ์ ในการทาผ้ าบาติก
7.หม้อต้มเทียนและต้มผ้าขนาดตามต้องการ
8.เตาแก็สสาหรับต้มผ้าและต้มเทียน
9.ภาชนะใส่ สีขนาดตามต้องการ
10.ผงซักฟอก โชดาแอ็สสาหรับต้มผ้า
11.กระติกน้ าร้อน(ใช้น้ าผสมสี )
หมายเหตุ
สาหรับ สี เทียนสาเร็ จรู ป ผ้า จันติ้ง หาชี้อได้ตามร้านที่
จาหน่ายผลิตภัณฑ์ในการทาผ้าบาติก
1. ออกแบบลวดลายบนกระดาษด้วยดินสอ เมื่อเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วจึง
ใช้ปากกาเมจิกสี ดาลากเส้นตามรอยดินสอเพื่อให้ลวด ลายชัดเจน 2
2. นาเทียนที่เขียนบาติกซึ่ งหลอมละลายให้เหลวแล้วมาทาลงขอบ
เฟรม โดยใช้แปรงจุ่มเทียนแล้วนามาทาลงบนขอบเฟรมให้ทวั่ ทั้ง 4
ด้าน ระวังอย่าให้หนาเกินไปเพราะจะทาให้ผา้ หลุดรนได้ง่าย
หลังจากนั้นจึงนาผ้าไปติดบนเฟรมโดยใช้วสั ดุหรื อของแข็งหน้า
เรี ยบ เช่น ก้นขวด เหรี ยญ กุญแจ กดลงบนขอบเฟรมและถูเบา ๆ ที
ละด้านทั้ง 4 ด้านของกรอบเฟรม
3. นาลายที่เตรี ยมไว้สอดไว้ใต้เฟรมผ้าที่ขึงตึงเพื่อทาการลอกลายลง
บนผ้าด้วย ดินสอ 2B ขึ้นไป
4.
ใช้จนั ติ้งตักน้ าเทียนที่มีอุณหภูมิพอเหมาะโดยตักน้ าเทียนเททิ้ง 2-3
ครั้ง เพื่อเป็ นการปรับอุณหภูมิของจันติ้งแล้วจึงทดลองเขียนบนเศษผ้า
ดูก่อนเพื่อ ให้แน่ใจว่าเส้นเทียนได้ขนาดตามต้องการ ซึ่งเส้นเทียนไม่
ควรใหญ่เกิน 2 – 3 ม.ม.แล้วจึงเริ่ มเขียนจริ งโดยเริ่ มเขียนเป็ นสี่ เหลี่ยม
ขอบกรอบรอบนอกก่อน เพื่อกันสี ลามไปที่กรอบไม้ ถึงจะเขียนตาม
ลวดลายที่ลอกไว้ลากช้าๆ ระวังอย่าให้เส้นเทียนขาดตอนเพราะจะทาให้
เวลาที่ลงสี สี จะรั่วเข้าหากัน สี จะเน่าไม่สวยและจาเป็ นจะต้องใช้
กระดาษทิชชูซบั น้ าเทียนบริ เวณรอบนอกตัว ปากกาเขียนเทียนทุกครั้ง
เพื่อมิให้เทียนหยดลงบนชิ้นงาน
5.
ลงสี ที่ตอ้ งการลงในลาย คล้ายเป็ นการระบายสี ลงในช่องว่างด้วย
พูก่ นั โดยให้น้ าหนักสี อ่อนแก่เพื่อเกิดเป็ นระดับ ซึ่ งวิธีระบายสี อ่อน
ก่อนแล้วใช้สีกลางและเน้นด้วยสี เข้มจะเกิดเป็ นแสงเงาสวย งาม ถ้า
ต้องการให้มีความพลิ้วหวานก็ให้ใช้น้ าเปล่าระบายเฉพาะส่ วนที่
ต้องการให้ สี อ่อนแล้วแต้มสี เข้มเกลี่ยสี เข้าหากันจนทาให้เกิดแสง
เงามีน้ าหนักอ่อน - เข้ม และดูมีความชัดลึก สวยงาม แล้วรอจนสี
แห้งสนิท
6. นาผ้าที่ระบายสี และแห้งสนิทเคลือบโซเดียมซิ ลิเกตเพื่อเป็ นการกัน
สี ตกมี 2 วิธี คือ การเคลือบโดยการจุ่มลงไปในถังน้ ายา โดยกดจมให้
น้ ายาเปี ยกทัว่ ทั้งผืน แล้วยกมาพาดขึ้นปากถังเพื่อให้น้ ายาหยดกลับ
ลงไปในถังนากลับไปใช้ได้อีก และอีกวิธี คือ ใช้แปรงหรื อลูกกลิ้ง
จุ่มน้ ายาแล้วนามาทาลงบนผ้าที่ขึงอยูบ่ นเฟรมให้ทวั่ ทั้ง ผืน วิธีน้ ีเป็ น
วิธีที่นิยมใช้เพราะกันสี ตกได้ดีและชิ้นงานเสี ยหายน้อย หลังจากนั้น
ก็ทิ้งไว้ 6 – 8 ชัว่ โมง เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีก่อนนาไปล้าง
7.
นาผ้ามาล้างน้ ายาเคลือบเพื่อให้เมือกของโซเดียมซิ ลิเกตหลุด
ออกไปในภาชนะที่ มีขนาดโตสามารถใส่ น้ าได้ในปริ มาณที่มากๆ
เพราะจะมีสีส่วนเกินหลุดออกมาและจะต้องเปิ ดน้ าให้ไหลผ่านอยู่
ตลอดเวลา หรื อเปลี่ยนน้ าบ่อยๆ จนกว่าน้ าที่ซกั จะใสและหมดลื่น
มือจึงหยุดขั้นตอนการซัก คลี่ออกผึ่งอย่าให้เป็ นก้อน เพราะสี จะตก
ใส่ กนั ซึ่ งควรล้างทีละผืนจนสะอาดเพื่อให้สีที่หลุดออกไปติดกลับ
มาใหม่
8. นาผ้าไปต้มในน้ าเดือดที่ผสมผงซักฟอกหรื อสบู่ซนั ไลต์ ใน
ประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 20 ลิตร เพื่อลอกเอาเส้นเทียนออกจาก
ตัวผ้า โดยใช้มือจับปลายผ้าแล้วจุ่มผ้าลงในน้ าเดือดให้ทวั่ ทั้งผืน แล้ว
ค่อยๆยกขึ้นลงและผึ่งผ้าออกจนเทียนหลุดออก สลับอีกด้านจุ่มลงทา
เหมือนเดิม สังเกตว่าเส้นเทียนหลุดออกหมดหรื อยัง ห้ามต้มแช่ไว้
นานเป็ นอันขาดจะทาให้ผา้ เสี ยได้
9. นาผ้าใส่ ลงในถังซักที่มีน้ าเต็มซักผ้าโดยการจับปลายจุ่มลงเหมือน
การลอกเอา เทียนออกเพื่อล้างจนเศษเทียนหลุดจนหมดแล้วนามาแช่
น้ าทิ้งไว้ 1 – 2 ชัว่ โมง ถ้าเป็ นสี เข้มควรเช็คดูวา่ มีสีตกอยูห่ รื อไม่ ถ้า
ตกให้เปลี่ยนน้ าในกะละมังใหม่จนมีส่วนเกินตกจนหมด
10. บิดน้ าออกพอหมาดๆด้วยมือ หรื อใช้เครื่ องซักผ้าปั่นแล้วนาไป
ตาก โดยผึ่งออกทั้งผืน ไม่มีส่วนใดส่ วนหนึ่งวางซ้อนกันและใช้ที่
หนีบผ้าหนีบไว้ ส่ วนการตากควรตากไว้ในที่ร่มหรื อผึ่งแดด เมื่อ
แห้งแล้วให้รีบเก็บอย่างปล่อยทิ้งไว้นานอาจทาให้สีซีดได้ และนาไป
รี ด ตัดเย็บตามต้องการ
ปัญหา สาเหตุ และวิธีแก้ ไข
ปัญหาที่พบ
ข้อที่ 1 เดินเส้นเทียนไม่สะดวก
สาเหตุ
- ขึงผ้าไม่ตรึ ง
- ปากกาเขียนเทียน(ชานติ้ง)ยังใหม่
วิธีแก้ ไข
ก่อนต้มเทียนที่แข็งอยูใ่ นภาชนะต้มเทียน ให้ใช้ของแข็งปลาย
แหลมเจาะรู ระบายอากาศ ประมาณ 10-15รู ก่อนนาเทียนมาต้มจะทา
ให้แรงดันของเหลว ขณะหลอมเหลวมีแรงดันต่าลง
ปัญหา สาเหตุ และวิธีแก้ ไข
ปัญหาที่พบ
ข้อที่ 2 เส้นเทียนขาด
สาเหุต
- เทียนยังไม่ร้อน
- ปากกาเขียนเทียนอุดตัน
วิธีแก้ ไข
- ต้องรอให้เทียนร้อนได้พอเหมาะ
- แช่ชานติ้งในน้ าเทียน 3 นาที แล้วลองเขียนใหม่
ปัญหา สาเหตุ และวิธีแก้ ไข
ปัญหาที่พบ
ข้อที่ 3 เส้นเทียนโตมีฟองอากาศ
สาเหุต
- เทียนร้อนเกินไป
- เขียนช้า
วิธีแก้ ไข
- ต้องรอให้เทียนเย็นลงพอเหมาะ
- เขียนให้เร็ วขึ้นกว่าเดิม
ปัญหา สาเหตุ และวิธีแก้ ไข
ปัญหาที่พบ
ข้อที่ 4 เทียนหยดบนชิ้นงาน
สาเหตุ
เมื่อตักเทียนแล้วไม่ได้ซบั ด้วยผ้า หรื อกระดาษทิชชู ส่ วนที่เกาะอยู่
ภายนอกของปากกาเขียนเทียน
วิธีแก้ ไข
นาผ้าต้มให้ร้อนใหม่อีกครั้ง ซักตากให้แห้ง แล้วนามาเขียนใหม่