Chapter_1_Introduction_to_Enterpreneurial_Finance

Download Report

Transcript Chapter_1_Introduction_to_Enterpreneurial_Finance

1. หลักพืน้ ฐานของเศรษฐศาสตร์
2. ปั จจัยที่มีผลต่ อการประกอบธุรกิจ
3. แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ พนื ้ ฐานในการประกอบธุรกิจ

Politics


Technology
Enterprise
ความรู้ พนื ้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์
ทฤษฎีการผลิต
แนวคิดทางการตลาด
Economics
Social
•2
$ ทรั พยากรธรรมชาติ มี 2 ประเภท :1. Renewable Natural Resources
2. Non-Renewable Resources
$ ปั จจัยการผลิต แบ่ งเป็ น 4 ประเภท :1. ที่ดนิ (Land) หรื อ ทรั พยากรธรรมชาติ หรื อวัตถุดบิ
2. แรงงาน (Labor) หรื อ กาลังคน
3. ทุน (Capital) หรื อเงินทุน หรื อเครื่ องจักร อุปกรณ์
4. ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)
•3







อัตราดอกเบีย้
อัตราเงินเฟ้อ
ราคานา้ มัน
อัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนีห้ ุน
อัตราการว่ างงาน
ดุลการค้ า
•4




ภาวะเศรษฐกิจตกต่า ▷ อัตราดอกเบีย้ ลดลง
เพราะ..?
ภาวะเศรษฐกิจดี
▷ อัตราดอกเบีย้ สูงขึน้
เพราะ ?...
•5




อัตราเงินเฟ้อเพิ่มสูงขึน้ ▷ ภาวะเศรษฐกิจ....?
อัตราเงินเฟ้อสูงมาก ▷ ภาวะเศรษฐกิจ....?
อัตราลดต่าลง
▷ ภาวะเศรษฐกิจ......?
อัตราเงินเฟ้อที่เหมาะสม 2-3%
•6


ราคานา้ มัน △ ⇒ ภาวะเศรษฐกิจ ▼ เพราะ....?
ราคานา้ มัน▼ ⇒ ภาวะเศรษฐกิจ△ เพราะ....?
•7
ถ้ าอัตราแลกเปลี่ยนเดิม
1 USD = THB 35.00
 ถ้ าอัตราแลกเปลี่ยนใหม่
1 USD = THB 30.00
*** อะไรจะเกิดขึน้ ...การส่ งออก...?
....การนาเข้ า...?

•8


ภาวะเศรษฐกิจ △ ⇒ SET Index ......?
ภาวะเศรษฐกิจ ▼ ⇒
SET Index …….?
•9


ภาวะเศรษฐกิจ △ ⇔ อัตราการว่ างงาน ▼
⇔ อัตราการจ้ างงาน △
ภาวะเศรษฐกิจ ▼ ⇔ อัตราการว่ างงาน △
⇔
อัตราการจ้ างงาน ▼
7. ดุลการค้ า
•ถ้ าประเทศไทยได้ เปรี ยบดุลการค้ า => มูลค่ าสินค้ าส่ งออก >
มูลค่ าสินค้ านาเข้ า
•ส่ งผล ทาให้ GDP ของประเทศเพิ่มสูงขึน้ => เศรษฐกิจประเทศ
เติบโตขึน้
•10
2.1 ปั จจัยมหภาค / ปั จจัยแวดล้ อมภายนอกธุรกิจ
2.2 ปั จจัยจุลภาค / ปั จจัยแวดล้ อมภายในธุรกิจ
•11



ปั จจัยที่ธุรกิจไม่ สามารถควบคุม
ได้
ผลกระทบเกิดกับทุกธุรกิจ
ผลกระทบแต่ ละธุรกิจอาจมาก
น้ อยต่ างกัน
วิกฤตเศรษฐกิจ
ในไทย
วิกฤตการณ์
ที่ U.S.A.
การส่ งออก
ของไทย
การจ้ างงาน
การผลิต
•12






Economic at Large
Legislation &
Regulation
Population
Demographics
Immediate Industry
and Competitive
Environment
Social Values &
Lifestyles
Technology
Economic at Large
Legislation
& Regulation
Technology
company
Social Values
& Lifestyles
Competitive
Environment
Population
Demographics
•13


เศรษฐกิจของประเทศเติบโต ⇔
ธุรกิจเติบโต
เศรษฐกิจของประเทศตกต่า ⇔
ธุรกิจถดถอย
รัฐมีเงิน
ลงทุนเพิ่ม
เศรษฐกิจ
เติบโต
• รัฐมีภาษีเพิ่ม
การผลิตเพิ่มขึน้
กาลังซือ้ เพิ่ม
การจ้ างงานเพิ่ม
รายได้ เพิ่ม
•14








กฎหมาย
กฎหมายรั กษาสิ่งแวดล้ อม
กฎหมายเกี่ยวกับสุขภาพ
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ภาษีมูลค่ าเพิ่ม
ภาษีศุลกากร
โควตาการส่ งออก
ฯลฯ
รัฐเพิ่มภาษี
มูลค่ าเพิ่ม
เศรษฐกิจ
หดตัว
ยอดขาย
ลดลง
การจ้ างงาน
ลดลง
การผลิต
ลดลง
•15





เพศ
อายุ
การศึกษา
รายได้
ฯลฯ
สุขภาพ
อาหารเสริม
การออกกาลัง
เพศหญิง>
เพศชาย
เครื่องสาอาง
แฟชั่น
สินค้ าของ
ผู้หญิง
•16
• ราคาและคุณภาพ
C
A
E
ต่า
ผลิตภัณฑ์ เฉพาะ
B
ผลิตภัณฑ์ หลายชนิด
D
ผลิตภัณฑ์ ครบทุกชนิด
•17




การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
# ครอบครั วเล็กลง, ความสัมพันธ์ ของคนในครอบครั ว, ฯลฯ
เปลี่ยนรสนิยม
# กระโปรงสัน้ -ยาว, ผมสัน้ -ผมยาว-โกนหัว, ฯลฯ
เปลี่ยนค่ านิยม
# รถจักรยานยนต์ -รถยนต์ , หอพัก-อาคารชุด, สูบ-ไม่ สูบบุหรี่ ฯลฯ
เปลี่ยนแปลงวิถีชีวติ
# การแข่ งขันสูง, ทาอะไรต้ องรวดเร็ว, รถยนต์ -รถไฟฟ้า, ฯลฯ
•18




มือถือ
Computer, Note Book
Internet
ฯลฯ
•19

Five Forces Model ของ Michael E. Porter :1. อุปสรรคจากคู่แข่ งรายใหม่ (Threat of New Entrants)
2. อานาจต่ อรองกับ Suppliers (Bargaining Power of Suppliers)
3. อานาจต่ อรองกับ Buyers (Bargaining Power of Buyers)
4. อุปสรรคจากสินค้ าทดแทน (Substitutes)
5. ความรุ นแรงของการแข่ งขัน (Rivalry among existing firms)
•20

บทบาทขององค์ กรธุรกิจและตลาดโลกในระดับเศรษฐกิจจุลภาค
(The Role of Firms and Markets in the Micro Economy)
1. What … จะผลิตอะไร? จะขายอะไร?
2. Where …จะไปขายที่ไหน? สานักงานอยู่ท่ ไี หน?
3. When….. จะดาเนินการเมื่อใด? ผลิตเมื่อใด?
4. Who…… ใครจะเป็ นผู้ดาเนินงาน?
5. For whom… .ใครคือกลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย?
6. How ….. จะทาอย่ างไร?
•21
วงจรกิจกรรม
ค่ าใช้ จ่าย
ตลาดสินค้ า หรื อ
ตลาดผลผลิต
สินค้ าและบริการ
รายได้
ผู้บริโภคหรื อ
เจ้ าของปั จจัย
การผลิต
ผู้ผลิต/ธุรกิจ
รายได้
ปั จจัยการผลิต
ค่ าใช้ จ่าย
ตลาดปั จจัย
การผลิต
ปั จจัยการผลิต
•22
วงจรกิจกรรม
ตลาดสินค้ า /
ตลาดผลผลิต
ผลผลิต
รายจ่ าย
ค่ าใช้ จ่าย
ผู้บริโภค/เจ้ าของ สินค้ าและบริการ
ปั จจัยการผลิต
รัฐบาล
รายได้
สินค้ าและบริการ
ผู้ผลิต/ธุรกิจ
รายได้ / ภาษี
รายได้ /ภาษี
ค่ าใช้ จ่าย
รายได้
ปั จจัยการผลิต
สินค้ าและบริการ
ตลาดปั จจัย
การผลิต
ปั จจัยการผลิต
•23
1.
2.
3.
ทฤษฎีอุปสงค์ และอุปทาน (Demand & Supply Theory)
ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
แนวคิดทางการตลาด (Marketing Concept)
•24


อุปสงค์ หมายถึง
$ ปริมาณสินค้ าหรื อบริการที่ผ้ ูบริโภคมีความต้ องการซือ้ (Want)
$ มีความสามารถและเต็มใจที่จะซือ้ (Ability & Willingness to pay)
ปั จจัยกาหนดอุปสงค์ :$ ราคาสินค้ า X ถ้ าราคา(PX) ↑ ⇒ อุปสงค์ ของสินค้ า(X) ↓
$ รายได้ ผ้ ูบริโภค ถ้ ารายได้ (i) ↑⇒ อุปสงค์ ของสินค้ า(X) ↑
$ ราคาสินค้ าทดแทน ราคา(PY) ↑⇒ อุปสงค์ ของสินค้ า(X) ↑
$ รสนิยม/ความพอใจ รสนิยมสินค้ าX ↑⇒ อุปสงค์ สินค้ า(X) ↑
•25
ฟั งก์ ช่ ันอุปสงค์ : QDX = f ( PX, Y, PY, T, …etc.)
เมื่อ QDX
= ปริมาณสินค้ า X ที่ผ้ ูบริโภคต้ องการซือ้
PX
= ราคาสินค้ า X
Y
= รายได้ ของผู้บริโภค
PY
= ราคาสินค้ าทดแทน
T
= รสนิยมของผู้บริโภค
•26
การเคลื่อนย้ ายเส้ นอุปสงค์
D2
D1
0
D3
(Q) ปริมาณ
•27





Demand shift ได้ ถ้ ารายได้ เพิ่ม ราคาสินค้ าทดแทนเพิ่ม หรื อ สินค้ าเป็ นที่
นิยมมากขึ ้น ปั จจัยเหล่านี ้ทาให้ ความต้ องการเพิ่มขึ ้น ณ ระดับราคาเท่าเดิม
แต่ในความเป็ นจริ ง เมื่อมีความต้ องการเพิ่ม ราคามักจะปรับขึ ้น ทาให้ ผ้ ขู ายสามารถ
มีกาไรเกินปกติในระยะสัน้
เมื่อคนเห็นว่าได้ กาไรมาก จึงเริ่ มเข้ ามาทาธุรกิจแข่งมากขึ ้น (Supply) เพิ่มขึ ้น
เมื่อ Supply เพิ่มขึ ้น หากเพิ่มขึ ้นมากกว่า demand ก็จะทาให้ ราคาปรับ
ลดลง
สรุ ป การวิเคราะห์ D & S สาหรั บผู้ประกอบธุรกิจ คือการผลิตและขาย
ในช่ วงที่ยังมีความต้ องการสินค้ าอยู่ และลดการผลิตเมื่อความต้ องการสินค้ า
ลดลง
ปั ญหาฟองสบูเ่ ศรษฐกิจ ปี 40 ก็คือ ปั ญหา supply อสังหาริมทรัพย์มีสงู กว่า
real demand มากๆ
•28

ราคาสูงขึน้ ⇒ จานวนที่ต้องการขาย ↑
ราคาสินค้ าต่าลง ⇒ จานวนที่ต้องการขาย ↓

ฟั งก์ ช่ ันอุปทาน : Qsx = f ( PX )

•29
เส้ นอุปทาน
P (ราคา)
S
0
Q (ปริมาณ)
•30






ราคาปั จจัยการผลิต ↓⇒ กาไร ↑⇒ อุปทาน ↑
ราคาปั จจัยการผลิต ↑⇒
กาไร ↓⇒ อุปทาน ↓
ประสิทธิภาพ ↑⇒ ต้ นทุน ↓⇒ กาไร ↑⇒ อุปทาน↑
ประสิทธิภาพ ↓⇒ ต้ นทุน ↑⇒ กาไร↓⇒ อุปทาน↓
ราคาสินค้ าอื่น↑⇒ ผลิตสินค้ าอื่น ↑=> อุปทาน ↓
ราคาสินค้ าอื่น ↓⇒ ผลิตสินค้ าอื่น ↓=> อุปทาน ↑
•31
การเคลื่อนย้ ายเส้ นอุปทาน
P(ราคา)
S3
S1
S2
0
Q (ปริมาณสินค้ า)
•32


อุปทานส่ วนเกิน (Excess Supply or Surplus)
คือ ปรากฏการณ์ ท่ อี ุปทาน > อุปสงค์ ในระยะเวลาสัน้ ๆ
อุปสงค์ ส่วนเกิน (Excess Demand or Shortage)
คือ ปรากฏการณ์ ท่ อี ุปสงค์ > อุปทาน ในระยะเวลาสัน้ ๆ
•33
ราคา
ราคาขาย
0
อุปทาน(Supply)
จุดดุลยภาพ
อุปสงค์ (Demand)
ปริมาณสินค้ า
•34
ราคา
อุปสงค์ ต่อสินค้ าจาเป็ น
อุปสงค์ ต่อสินค้ าฟุ่ มเฟื อย
0
ปริมาณ
อุปสงค์ ต่อสินค้ า
•35

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ต่อราคา
= อัตราการเปลี่ยนแปลงจานวนสินค้ าที่มีผ้ ูต้องการซือ้
อัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้ า
Ed
= QD2 – QD1 P2 – P1
QD1
P1
= P1 X △QD
Q1 △P
หรื อ %△Q
%△P
•36



สรุ ป คือ ถ้ าราคาสินค้ าเพิ่มขึน้ 1% ความต้ องการซือ้ จะลดลงกี่ %
หรื อ ถ้ าราคาสินค้ าลดลง 1% ความต้ องการซือ้ จะเพิ่มขึน้ กี่ %
Price Elastic of Demand จะมีค่าเป็ น ลบ (-) เสมอ
เพราะเป็ นการเปลี่ยนแปลงในทิศตรงข้ ามกัน ดังนัน้ เราจะไม่ พจิ ารณา
เครื่ องหมายหน้ าตัวเลข จะพิจารณาเฉพาะค่ าสัมบูรณ์ (Absolute Value)
เท่ านัน้
•37


CD เพลงราคาแผ่ นละ 150 บาท ขายได้ วันละ 50 แผ่ น ต่ อมา CD เพลงนีม้ ี
ราคาสูงขึน้ เป็ นแผ่ นละ 160 บาท ทาให้ การชายลดลงเหลือวันละ 40 แผ่ น
ถามว่ า ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elastic Demand) ต่ อ CD เพลงชุดนีม้ ีค่า
เท่ าใด?
•38

ความยืดหยุ่นของอุปทานต่ อราคา
= อัตราการเปลี่ยนแปลงจานวนสินค้ าที่มีผ้ ูประสงค์ นาออกขาย
อัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้ า
= QS2 – QS1
P 2 – P1
QS1
P1
= △QS x P
△P
QS
•39


การผลิต : กระบวนการในการแปรรู ปปั จจัยการผลิตต่ างๆ ให้ เป็ นผลผลิต ซึ่ง
แบ่ งเป็ นสินค้ าและบริการ
ต้ นทุนการผลิตทางเศรษฐศาสตร์ หรื อ ค่ าเสียโอกาส (Opportunity Cost) :
การเสียโอกาสที่ไม่ สามารถผลิตสินค้ าหรื อบริการอย่ างหนึ่ง เพราะได้ นา
ทรั พยากรนัน้ มาผลิตสินค้ าหรือบริการนีแ้ ล้ ว
•40



ค่ าใช้ จ่ายต่ างๆที่เกิดขึน้ ในการผลิตสินค้ า : ค่ าแรงงาน ค่ าวัตถุดบิ ค่ านา้ ค่ า
ไฟฟ้า ค่ านา้ มัน ฯลฯ รวมถึง ค่ าแรงของเจ้ าของ
ต้ นทุนที่มองเห็นว่ าได้ จ่ายจริง (Explicit Cost) : ค่ าแรงงาน ค่ านา้ ค่ าไฟฟ้า ค่ า
นา้ มัน ฯลฯ
ต้ นทุนที่มองไม่ เห็นว่ าได้ จ่ายจริง (Implicit Cost) : ค่ าเสื่อมราคา ค่ าเสียโอกาส
ฯลฯ
•41
TC
TC
TFC
TVC
=
=
=
=
TFC + TVC
Total Cost (ต้ นทุนทัง้ หมด)
Total Fixed Cost (ต้ นทุนคงที่ทงั ้ หมด)
Total Variable Cost (ต้ นทุนผันแปรทัง้ หมด)
•42
TC, TFC, TVC
Cost
TC
TVC
10
TFC
5
0
X
ปริมาณการผลิต
•43
ATC
ATC
AFC
AVC
เมื่อ ATC
AFC
AVC
= AFC + AVC
= Average Total Cost (ต้ นทุนทัง้ หมดเฉลี่ยต่ อหน่ วย)
= Average Fixed Cost (ต้ นทุนคงที่เฉลี่ยต่ อหน่ วย)
= Average Variable Cost (ต้ นทุนผันแปรเฉลี่ยต่ อหน่ วย)
= TC / Q
= TFC / Q
= TVC / Q
•44
•45
•MC =Marginal cost ต้ นทุนต่ อ 1 หน่ วยผลิตที่เพิ่มขึน้
•เส้ น AC เป็ นเส้ นต้ นทุนผลิตในระยะสัน้ ซึ่งจะมีปัจจัยหนึ่งคงที่ เช่ น จานวนเครื่ องมือ ดังนัน้ การเพิ่ม
แรงงานเข้ าไปในช่ วงแรก จะทาให้ ผลิตได้ มากขึน้ ต้ นทุนต่าลง แต่ หากเพิ่มไปเรื่ อยๆ (ในขณะที่
เครื่ องมือยังคงที่) จะทาให้ ผลิตได้ น้อยลง เพราะจะมีปริมาณแรงงาน (X) ที่เหมาะสมกับจานวนเครื่ องมือ
ซึ่งจะถือว่ าได้ ใช้ ทรั พยากรการผลิตอย่ างเต็มประสิทธิภาพแล้ ว การเพิ่มแรงงานต่ อไปก็ไม่ เกิดประโยชน์
•46
•AC
•SATC
1
•SATC4
•LATC
•SATC2 •SATC3
•E
•0
•Q
•Q



Economies of scale หมายถึงปริมาณการผลิตที่เหมาะสม คือมี
ต้ นทุนเฉลี่ยต่อหน่วยต่าที่สดุ หากต้ นทุนส่วนเพิ่ม MC สูงกว่า ต้ นทุนเฉลี่ยต่อ
หน่วย AC ก็ควรหยุดผลิต เพราะหากผลิตเพิ่มจะทาให้ ต้นทุนเฉลี่ยสูงขึ ้น
ธุรกิจจาเป็ นจะต้ องผลิตในประมาณที่ทาให้ เกิดต้ นทุนต่าที่สุดหรื อไม่
การที่เราเข้ าใจว่า ณ ระดับการลงทุนระดับหนึง่ จะต้ องจัดปั จจัยการผลิตให้
เหมาะสม จึงจะเป็ นการใช้ ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด นัน่ คือผลิตได้ ที่ต้นทุน
ต่าที่สดุ เป็ นสิง่ ที่ถกู ต้ อง แต่ต้องดูด้วยว่าตลาดความต้ องการสินค้ าของเรามี
จานวนเท่าไหร่ แล้ วค่อยมาตัดสินใจลงทุนเพื่อผลิตให้ ได้ ปริมาณใกล้ เคียงกับ
ความต้ องการ โดยจะเป็ นการลงทุนที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
นัน่ เอง
•48
ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ (Perfectly Competitive Market)
ตลาดแข่ งขันไม่ สมบูรณ์ (Imperfect Competitive Market)
1.
2.
1.
2.
3.
ตลาดกึ่งแข่ งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)
ตลาดผูกขาดแท้ จริง (Pure Monopoly)
ตลาดผู้ขายน้ อยราย (Oligopoly)
•49
Perfectly
Competitive
Market
ผู้ขายมากมาย
Monopolistic
Competition
Oligopoly
Pure Monopoly
ผู้ขายมาก
ผู้ขายไม่ ก่ ีราย
ผู้ขายมี 1 ราย
ข้ าว, ผลไม้ ,
ร้ านขาย Lottery
ฯลฯ
สบู่, ยาสีฟัน,
นา้ ดื่ม, โรงแรม,
เสือ้ ผ้ า รองเท้ า
ฯลฯ
รถยนต์ , เบียร์ ,
ปูนซีเมนต์ ,
สายการบิน,
โทรศัพท์ , ฯลฯ
รถไฟ
ประปา
ไฟฟ้า
•50