ECON 1103 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 3 (3

Download Report

Transcript ECON 1103 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 3 (3

บทที่ 4
การผลิต และต้ นทุนการผลิต
ความหมายของการผลิต
คือรู ปแบบการผลิตสิ นค้ าและบริการทีผ่ ู้ผลิตสามารถผลิต
ขึน้ มาได้ สูงสุ ด ภายใต้ จานวนปัจจัยการผลิตละระดับเทคโนโลยีที่มี
อยู่อย่ างจากัด ทาให้ สินค้ าและบริการทีผ่ ลิตขึน้ มาได้ มีจานวน
จากัดไปด้ วย
ผูผ้ ลิตหรื อภาคธุรกิจมีหน้าที่ซ้ื อปั จจัยการผลิตจาก
ครัวเรื อนมาผลิตสิ นค้าและบริ การ เพื่อให้ได้รับกาไร
สูงสุ ดจากการผลิต (Maximize Profit)
ต้ นทุนทางเศรษฐศาสตร์ และต้ นทุนทางการบัญชี
ต้ นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Cost)
ประกอบด้วยต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนแฝง
ต้ นทุนทางบัญชี(Accounting Cost) คือต้นทุนที่รวม
เฉพาะต้นทุนชัดแจ้งที่มีหลักฐานรับและจ่ายเงินที่สามารถ
บันทึกบัญชีได้
การแบ่ งต้ นทุนตามลักษณะการใช้ จ่าย
 ต้นทุนที่จ่ายเป็ นตัวเงิน (Monetary Cost) หรื อต้นทุนทางตรง
(Direct Cost) หรื อต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost)
 ต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายเป็ นตัวเงิน (Nonmonetary Cost) หรื อ
ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost) หรื อค่าเสี ยโอกาส
(Opportunity Cost) หรื อต้นทุนแฝง (Implicit Cost)
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จะสูงกว่าต้นทุนทางบัญชี
เพราะต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จะประกอบด้วยต้นทุนที่จ่าย
เป็ นตัวเงินและต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายเป็ นตัวเงิน
กาไร คือ ส่ วนต่างระหว่างรายรับจากการขายสิ นค้ากับต้นทุน
หรื อค่าใช้จ่ายในการผลิต เนื่องจากผูผ้ ลิตเป็ นผูซ้ ้ือปัจจัยการผลิต
จากครัวเรื อนมาทาการผลิตสิ นค้าและบริ การ จึงต้องจ่าย
ค่าตอบแทนปัจจัยการผลิตให้แก่ครัวเรื อนประกอบด้วยค่าเช่า
ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกาไร
กาไรทางบัญชีและกาไรทางเศรษฐศาสตร์
กาไรทางบัญชี(Account Profit)หาได้จากผลต่าง
ระหว่างรายรับที่เกิดขึ้นกับต้นทุนทางบัญชี
กาไรทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Profit)หาได้จาก
ผลต่างระหว่างรายรับกับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
โดยที่ตน้ ทุนทางเศรษฐศาสตร์ประกอบด้วยต้นทุนชัด
แจ้งและต้นทุนที่ไม่ชดั แจ้ง ทาให้ตน้ ทุนทางเศรษฐศาสตร์สูง
กว่าต้นทุนทางบัญชี ดังนั้นกาไรทางเศรษฐศาสตร์ จึงน้อย
กว่ากาไรทางบัญชี
ประเภทขององค์ กรธุรกิจ
1. องค์กรธุรกิจเอกชน
1.1 กิจการเจ้าของคนเดียว ดาเนินธุรกิจขนาดเล็ก มีการ
จัดตั้งและดาเนินงานโดยเจ้าของคนเดียว อยูใ่ นลักษณะ
ร้านค้าปลีกหรื อธุรกิจส่ วนตัว
1.2 ห้างหุน้ ส่ วน(Partnerships) คือบุคคลตั้งแต่ 2 คน
ขึ้นไปตกลงกันเพื่อกระทากิจการร่ วมกัน ด้วยประสงค์จะ
แบ่งกาไรอันพึงได้จากกิจการที่ทากัน แบ่งห้างหุน้ ส่ วน
สามัญ และห้างหุน้ ส่ วนจากัด
1.3 บริ ษทั จากัด(Corporations) คือการดาเนินธุรกิจที่มีผู้
ร่ วมลงทุนมากกว่า 7 คนขึ้นไป จดทะเบียนจัดตั้งกิจการใน
รู ปแบบบริ ษทั
1.4 บริ ษทั มหาชน จากัด(Public Company) มีผถู้ ือหุ น้
มากกว่า 100 คนขึ้นไป ผูถ้ ือหุน้ มีความรับผิดชอบไม่เกินมูลค่าที่
ชาระ
1.5 สหกรณ์(Cooperation) คือคณะบุคคลที่ร่วมกันจัดตั้ง
ขึ้น ไม่นอ้ ยกว่า 10 คน
2. องค์การธุรกิจภาครัฐบาล (State Enterprise)
คือรู ปแบบการดาเนินธุรกิจที่รัฐบาล หรื อองค์กรที่รัฐบาล
ดาเนินงานเอง หรื อเป็ นผูถ้ ือหุน้ ส่ วนใหญ่เกินร้อยละ 50 ของ
ทุนจดทะเบียน
ปัจจัยการผลิตในระยะสั้ น
การผลิตในระยะสั้น (Short run Production) คือ การ
ผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตผันแปร (Variable Factors) และปัจจัย
การผลิตคงที่ (Fixed Factors)
ปัจจัยผันแปร คือ ปัจจัยที่ปริ มาณการใช้แปรผันตาม
ปริ มาณผลผลิตและเป็ นปัจจัยที่ผลผลิตสามารถปรับเปลี่ยน
จานวนความต้องการได้ตลอดเวลา
ปัจจัยคงที่ คือ ปั จจัยที่มีปริ มาณคงที่ไม่แปรผันตาม
ปริ มาณผลผลิต
ฟังก์ ชันการผลิตในระยะสั้ น
ผลผลิตรวม (Total Product) คือ จานวนผลผลิตทั้งหมด
ที่ผลิตขึ้นจากการใช้ปัจจัยผันแปรกับปัจจัยคงที่
ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product) คือ จานวนผลผลิต
ทั้งหมดเฉลี่ยด้วยปัจจัยผันแปรที่ใช้
AP = TP
VR
ผลผลิตหน่วยสุ ดท้าย (Marginal Product: MP) จานวน
ผลผลิตทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีการใช้ปัจจัยผัน
แปรเปลี่ยนแปลงไปหนึ่งหน่วย
MP =  TP
 VR
ฟังก์ชนั การผลิตในระยะสั้นประกอบด้วย ผลผลิตรวม
ผลผลิตเพิ่มและผลผลิตเฉลี่ยของธุรกิจผลิตเสื้ อผ้าสาเร็ จรู ป
ปัจจัยคงที่
ที่ดนิ (หน่ วย)
ปัจจัยผันแปร (VR)
แรงงาน (หน่ วย)
ผลผลิตรวม (TP)
(หน่ วย)
ผลผลิตเฉลีย่ (AP)
ผลผลิตเพิม่ (MP)
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
0
50
150
350
650
800
850
850
800
700
550
50
75
116.67
162.50
160
141.67
121.43
100
77.78
55
50
100
200
300
150
50
0
-50
-100
-150
การแบ่ งช่ วงผลผลิต(Stage Production)
ช่วงที่ 1 เป็ นช่วงที่เส้นผลผลิตเพิ่ม เส้นผลิตรวม และเส้น
ผลผลิตเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น หมายความว่าอัตราการเพิ่มของ
ผลผลิตมากกว่าอัตราการเพิ่มปัจจัยผันแปร ผูผ้ ลิตไม่ควรหยุด
การผลิตในช่วงนี้ การที่ MP มีค่าสูงเนื่องจาก
1. ผูผ้ ลิตสามารถใช้ประโยชน์จากปัจจัยคงที่ได้มากขึ้น
2. ประสิ ทธิภาพปัจจัยผันแปรเพิ่มขึ้น
ช่วงที่ 2 เป็ นช่วงที่ผลผลิตเพิม่ ลดลง เส้นผลผลิตรวมเพิม่ ขึ้น
ในอัตราที่ลดลง และเส้นผลผลิตเฉลี่ยลดลงจากค่าสูงสุ ด ช่วงนี้
สิ้ นสุ ดเมื่อผลผลิตรวมค่าสู งสุ ด และค่าผลิตเพิ่มเท่ากับศูนย์
ช่วงที่ 3 เป็ นช่วงผลผลิตเพิม่ ขึ้นมีค่าเป็ นลบ เส้นผลผลิตรวม
มีค่าลดลงจากค่าสูงสุ ด เส้นผลผลิตเฉลี่ยลดลงแต่ยงั มีค่ามากกว่า
ผลผลิตเพิ่ม
กฎการลดน้ อยถอยลงของผลผลิตหน่ วยสุ ดท้ าย
(Law of Diminishing Marginal Return)
 เมื่อเพิม่ ปั จจัยผันแปรเข้าไปร่ วมกับปั จจัยคงที่เรื่ อยๆ ทีละ
หน่วยแล้ว ในระยะแรกผลผลิตหน่วยสุ ดท้ายจะเพิม่ ขึ้น
เรื่ อยๆ จนถึงระดับหนึ่งที่สูงสุ ดแล้ว หลังจากนั้นถ้ายังเพิ่ม
ปัจจัยผันแปรต่อไป ผลผลิตหน่วยสุ ดท้ายจะลดลงตามลาดับ
ต้ นทุนการผลิต
ต้นทุนรวม(Total Cost:TC) หมายถึงต้นทุนที่
ประกอบด้วย ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost : TFC) และ
ต้นทุนแปรผันรวม(Total Variable Cost : TVC)
ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย (Average Total
Cost : ATC) หรื อ AC ได้แก่ตน้ ทุนรวมหารด้วยผลผลิตหรื อ
เท่ากับต้นทุนคงที่เฉลี่ยและต้นทุนแปรผันเฉลี่ย
ต้นทุนส่ วนเพิม่ หรื อต้นทุนเพิม่ ( Marginal Cost : MC)
คือต้นทุนรวมที่เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากผลผลิตเพิ่มขึ้น
หรื อลดลง 1 หน่วย
ลักษณะต้ นทุนรวม
เส้นต้นทุนรวม (TC) มีลกั ษณะคล้ายกับเส้นต้นทุนผัน
แปรรวมและส่ วนต่างระหว่างเส้นต้นทุนรวมกับเส้นต้นทุน
แปรผันรวมคือต้นทุนคงที่รวม
ลักษณะต้ นทุนรวม
ต้นทุนคงที่รวม (TFC) มีลกั ษณะเป็ นเส้นตรงขนานกับ
แกนนอนและอยูค่ งที่ตลอด
เส้นต้นทุนผันแปรรวม (TVC) มีลกั ษณะทอดจากซ้าย
ขึ้นไปทางขวาแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างประมาณการ
ผลิตและต้นทุนผันแปรรวมมีความสัมพันธ์ในทิศทาง
เดียวกัน โดยการผลิตสิ นค้าในหน่วยหลังๆต้นทุนผันแปร
รวมจะเพิ่มสูงขึ้น
ลักษณะต้ นทุนเฉลีย่ ระยะสั้ น
เมือ่ จานวนการผลิตสิ นค้ าเปลีย่ นแปลง
 AFC ลดลงเรื่ อยๆเมื่อมีการผลิตสิ นค้าจานวนมากขึ้นทีละหน่วย
 AVC ในระยะแรกจะลดลงก่อนเมื่อมีการผลิตสิ นค้าเพิม่ จานวน
ขึ้น แต่ในที่สุดจะเพิ่มขึ้น
 ATC จะลดลงก่อนและในที่สุดจะเพิม่ ขึ้น
 MC มีลกั ษณะลดลงก่อนและในที่สุดจะเพิ่มขึ้นเหมือน ATC
ต้ นทุนการผลิตในระยะยาว
(Long Run Cost)
ระยะยาว คือระยะยาวที่ยาวพอที่หน่วยธุรกิจจะ
เปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้ ดังนั้นต้นทุนการผลิต
จะเป็ นต้นทุนผันแปรทุกชนิด
ต้ นทุนเฉลีย่ ในระยะยาวมีลกั ษณะคล้ ายกับตัวยู แสดงถึง
 การผลิตในช่วงแรกต้นทุนเฉลี่ยมีค่าลดลง ธุรกิจเกิดการ
ประหยัดจากขนาด (Economices of scale)
 การขยายการผลิตในช่วงกลางต้นทุนเฉลี่ยคงที่แสดงถึงผลได้
ต่อขนาดคงที่
 การขยายการผลิตในช่วงหลัง ต้นทุนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ธุรกิจเกิด
การไม่ประหยัดจากขนาด (Diseconomices of Scale)
รายรับ หมายถึง รายได้ ทผี่ ู้ผลิตได้ รับจากการขายสิ นค้ าและบริการ
 รายรับรวม (Total Revenue : TR) จะเท่ากับราคาสิ นค้าต่อ
หน่วย (P)คูณกับปริ มาณสิ นค้าที่ขาย TR = P X Q
 รายรับเฉลีย่ ต่ อหน่ วย (Average Revenue : AR) จะเท่ากับ
รายรับรวม หารด้วยปริ มาณสิ นค้าที่ขาย
AR = TR
Q
- รายรับหน่ วยสุ ดท้ ายหรือรายรับเพิม
่ (Marginal Revenue :
MR)จะเท่ากับอัตราส่ วนระหว่างส่ วนเปลี่ยนแปลงของ
รายรับรวม (TR)และส่ วนเปลี่ยนแปลงของปริ มาณขาย
(Q)
MR = TR
Q