Transcript LOGO

LOGO
ปูนซีเมนต์
ปอร์ ตแลนด์
1
ปูนซีเมนต์
LOGO
ปูนซี เมนต์เป็ นวัสดุที่เมื่อทำปฎิกิริยำกับน้ ำแล้วจะให้แรง
ยึดเกำะทั้งแบบ adhesion และ cohesion ซึ่ ง จะเชื่อมประสำน
ส่ วนประกอบต่ำงๆ เช่น หิ น ทรำย และวัสดุอื่นๆเข้ำด้วยกันและ
เมื่อแข็งตัวแล้วจะกลำยเป็ นสำรประกอบใหม่ที่มีคุณสมบัติแข็ง
คล้ำยหิ น
2
LOGO
3
LOGO
วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ ในการผลิตปูนซีเมนต์
ประกอบด้ วยแร่ ธาตุสาคัญ 5 ชนิด ได้ แก่
1. แคลเซียมออกไซด์ (CaO)
2. ซิลกิ อนไดออกไซด์ (SiO2)
3. อลูมเิ นียมออกไซด์ (Al2O3)
4 เหล็กออกไซด์ (FeO2 , Fe2O3)
5. แคลเซียมซัลเฟต (CaSO4)
4
LOGO
วัตถุดบิ ทีใ่ ช้ ในการผลิตปูนซีเมนต์ ได้ มาจาธรรมชาติ
วัตถุดบิ ทีใ่ ห้ แร่ ธาตุแคลเซียมออกไซด์ (CaO) ได้ แก่
หินปูน (limestone) ดินสอพอง (chalk) ปูนขาว (marl)
วัตถุดบิ ทีใ่ ห้ แร่ ธาตุซิลกิ อนไดออกไซด์ (SiO2) อลูมิเนียม
ออกไซด์ (Al2O3) ได้ แก่ หินดินดานหรือหินเชล (shale) หินชนวน
(slate) ดินเหนียว (clay)
วัตถุดบิ ทีใ่ ห้ แร่ ธาตุเหล็กออกไซด์ (FeO2 , Fe2O3) ได้ แก่
ดินลูกรัง และดินศิลาแลง (laterite)
วัตถุดบิ ทีใ่ ห้ แร่ ธาตุแคลเซียมซัลเฟต (CaSO4) ได้ แก่ แร่ ยบิ
ซัม (CaSO4)
5
LOGO
กรรมวิธีการผลิตปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์
ประกอบด้ วยขั้นตอนสาคัญอยู่ 3 ขั้นตอนดังนี้
1. การเตรียมวัตถุดบิ (Preparing of Raw Materials)
2. การเผาวัตถุดบิ (Calcining)
3. การบดปูนเม็ด (Cement Mill)
6
การเตรียมวัตถุดบิ
LOGO
กรรมวิธี ก ารเตรี ย มวัต ถุ ดิ บ ส าหรั บ การผลิต ปู น ซี เ มนต์
มี 2 วิธี
1. กรรมวิธีการเตรียมแบบเปี ยก (Wet Process)
2. กรรมวิธีการเตรียมแบบแห้ ง (Dry Process)
7
LOGO
กรรมวิธีการเตรียมแบบเปี ยก (Wet Process)
วัตถุ ดิบหลักที่ใช้ ในกระบวนการผลิตคือ ดินขาว (Marl) และดิน
เหนียว (Clay) สาหรั บดินขาวมีอยู่ในระดับฟื้ นดินหรื อใต้ ดินตามธรรมชาติ โดย
ปกติจะมีความชื้นสู ง
การผลิ ต เริ่ ม จากน าวั ต ถุ ดิ บ ทั้ ง สองชนิ ด มาผสมกั บ น้ า ในบ่ อ ตี ดิ น
(WashMill) กวนให้ เข้ ากัน นาไปบดให้ ละเอียดในหม้ อ บดดิน (Slurry Mill) จน
ได้ น้าดิน (Slurry) แล้ วกรองเอาเศษหินและส่ วนที่ไม่ ละลายน้าออก เหลือแต่ น้า
ดินทีล่ ะลายเข้ ากันดี จากนั้นนาไปเก็บพักไว้ ในยุ้งเก็บ (Silo)นา้ ดิน ที่มีส่วนผสมที่
ถูกต้ องแล้ ว จะถูกนาไปรวมกันที่บ่อกวนดิน (Slurry Basin) เพื่อให้ มีปริ มาณ
เพียงพอ และกวนให้ ส่วนผสมรวมตัวเป็ นเนื้อเดียวกันอีกครั้ งหนึ่ ง ก่ อนที่จ ะ
นาไปเผาในหม้ อเผาแบบหมุน (Rotary Kiln)
8
LOGO
(ต่ อ) กรรมวิธีการเตรียมแบบเปี ยก (Wet Process)
ขั้นตอนการบดปูนเม็ดให้ กลายเป็ นปูนซีเมนต์ ทาโดยนาปูนเม็ดมา
ผสมกับยิปซัม(Gypsum) แล้วบดให้ ละเอียดเป็ นผงในหม้ อบดซีเมนต์
(Cement Mill) ความละเอียดในการบดและอัตราส่ วนระหว่ างปูนเม็ดกับ
ยิปซัมต้ องเลือกอย่ างเหมาะสม เพือ่ ให้ ได้ ปูนซีเมนต์ ทมี่ ีคุณสมบัตติ ามที่
ต้ องการ จากนั้นจะลาเลียงปูนซีเมนต์ ไปเก็บไว้ ในยุ้งเก็บปูนซีเมนต์ ผง
(Cement Silo) เพือ่ รอการจาหน่ ายต่ อไป
การผลิตปูนซีเมนต์ แบบเปี ยกนีไ้ ม่ เป็ นทีน่ ิยมในปัจจุบัน เนื่องจาก
ต้ องใช้ เชื้อเพลิงปริมาณมากในการผลิตปูนเม็ด และยังมีอตั ราการผลิตต่า
9
LOGO
กรรมวิธีการเตรียมแบบแห้ ง (Dry Process)
วัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ ในกระบวนการผลิตคือ หินปูน (Limestone) ซึ่งได้ จากการ
ระเบิดหินจากภูเขาหินปูน แต่ หินปูนที่ได้ ยังมีขนาดใหญ่ จึงต้ องนามาลดขนาดโดย
เครื่องย่ อย (Crusher) เพื่อให้ เหมาะสมกับกระบวนการผลิตขั้นต่ อไป ส่ วนวัตถุดิบที่
ผ่ านการย่ อยแล้ วจะถูกนามาเก็บไว้ ที่กองเก็บวัตถุดิบ (Storage Yard) จากนั้นก็จะ
ลาเลียงไปยังหม้ อบดวัตถุดนิ (Raw Mill) ต่ อไป
หม้ อบดวัตถุดบิ (Raw Mill) มีหน้ าทีบ่ ดหินปูน ดินดาน และวัตถุดบิ
ปรับแต่ งคุณสมบัตใิ ห้ เป็ นผงละเอียดซึ่งเรียกว่ า วัตถุดบิ สาเร็จ (Raw Meal) การ
ควบคุมอัตราส่ วนของวัตถุดบิ ทีป่ ้ อนเข้ าสู่ หม้ อบดวัตถุดบิ มีความสาคัญ เนื่องจาก
อัตราส่ วนของวัตถุดบิ ทีเ่ หมาะสมจะทาให้ วตั ถุดบิ สาเร็จมีคุณสมบัติทางเคมีที่
เหมาะสมกับการเผา
10
LOGO
(ต่ อ)กรรมวิธีการเตรียมแบบแห้ ง (Dry Process)
หลังจากผ่ านกระบวนการบดแล้ว จึงส่ งวัตถุดิบสาเร็จไปยังยุ้งผสม
วัตถุดิบสาเร็จ (Raw Meal Homogenizing Silo) เพือ่ เก็บและผสมวัตถุดิบ
สาเร็จให้ เป็ นเนือ้ เดียวกัน ก่อนส่ งไปเผาในหม้ อเผาแบบหมุน (Rotary
Kiln) กระบวนการเผาช่ วงแรกเป็ น ชุ ดเพิม่ ความร้ อน (Preheater) จะ
ค่ อยๆ เพิม่ ความร้ อนให้ แก่วตั ถุดิบสาเร็จ แล้วส่ งวัตถุดิบสาเร็จไปเผาใน
หม้ อเผา ซึ่งมีอุณหภูมิเพิม่ สู งขึน้ จนถึงประมาณ 1200-1400 องศาเซลเซียส
จะเกิดปฏิกริ ิยาทางเคมีตามลาดับ จนในทีส่ ุ ดกลายเป็ นปูนเม็ด (Clinker)
11
LOGO
(ต่ อ)กรรมวิธีการเตรียมแบบแห้ ง (Dry Process)
หลังจากผ่ านกระบวนการบดแล้ ว จึงส่ งวัตถุดบิ สาเร็จไปยังยุ้งผสมวัตถุดบิ
สาเร็จ (Raw Meal Homogenizing Silo) เพือ่ เก็บและผสมวัตถุดบิ สาเร็จให้ เป็ นเนือ้
เดียวกัน ก่ อนส่ งไปเผาในหม้ อเผาแบบหมุน (Rotary Kiln) กระบวนการเผาช่ วงแรก
เป็ น ชุ ดเพิม่ ความร้ อน (Preheater) จะค่ อยๆ เพิม่ ความร้ อนให้ แก่ วตั ถุดบิ สาเร็จ แล้ว
ส่ งวัตถุดบิ สาเร็จไปเผาในหม้ อเผา ซึ่งมีอุณหภูมเิ พิม่ สู งขึน้ จนถึงประมาณ 1200 -1400
องศาเซลเซียส จะเกิดปฏิกริ ิยาทางเคมี จนในทีส่ ุ ดกลายเป็ นปูนเม็ด (Clinker)
จากนั้นทาให้ ปูนเม็ดเย็นลง แล้ วจึงลาเลียงปูนเม็ดไปเก็บไว้ ที่ย้ ุงเก็บเพือ่ รอ
การบดปูนเม็ดต่ อไป สาหรับการบดปูนเม็ดให้ กลายเป็ นปูนซีเมนต์ น้ัน มีข้ันตอนดังที่
กล่าวมาแล้วในการผลิตแบบเปี ยก
12
LOGO
เครื่องย่อย (Crusher)
ยุ้งผสมวัตถุดบิ สาเร็จ
(Raw Meal Homogenizing Silo)
LOGO
หม้ อเผาแบบหมุน (Rotary Kiln)
LOGO
ตาราง สารประกอบหลักในการผลิตปูนซีเมนต์
(Major Compounds of Portland Cement)
ชื่อสารประกอบหลัก
สั ญลักษณ์ ทางเคมี
ชื่อย่ อ
ไตรแคลเซียม ซิลเิ กต
(Tricalcium Silicate)
3Ca.SiO2
C3S
ไดแคลเซียม ซิลเิ กต
(Dicalcium Silicate)
2Ca.SiO2
C3S
ไตรแคลเซียม อลูมเิ นต
(Tricalcium Aluminate)
3CaO.Al2O3
C3A
เตตราแคลเซียมอลูมโิ น
เฟอร์ ไรท์
4CaO. Al2O3.Fe2O3
15
C4AF
LOGO
คุณสมบัตขิ องสารประกอบหลัก
1. ไตรแคลเซียมซิลเิ กต เป็ นสารประกอบที่มีความสาคัญที่สุด เนื่องจากเป็ น
ตัวทีใ่ ห้ กาลังมากทีส่ ุ ดของปูนซีเมนต์ ทาปฏิกริ ิยากับนา้ ได้ รวดเร็ว
2. ไดแคลเซียมซิลเิ กต เป็ นสารประกอบที่ให้ กาลังเช่ นเดียวกับ ไตรแคลเซียม
ซิลเิ กต แต่ ทาปฏิกริ ิยากับนา้ ได้ ช้ากว่ า ดังนั้นจึงแข็งตัวช้ า แต่ จะให้ กาลังสู งในระยะปลาย
3. ไตรแคลเซียมอลูมเิ นต เป็ นสารประกอบทีท่ าปฏิกริ ิยากับนา้ ได้ อย่ างรวดเร็ว
หลังจากทาปฏิกิริยากับน้าแล้ ว เกิดสารประกอบที่ถูกกัดกร่ อนได้ ง่ายจากสารซั ลเฟตใน
นา้ ทะเล
4. เตตราแคลเซียมอลูมโิ นเฟอร์ ไรท์ มีอยู่ในปูนซีเมนต์ ในปริมาณน้ อยทีส่ ุ ด
16
LOGO
ตารางแสดง คุณสมบัตทิ างกายภาพของสารประกอบหลัก
คุณสมบัติ
C3S
C2S
C3A
C4AF
1. อัตราการ
เกิดปฏิกริ ิยา
เร็ว
ช้ า
เร็วมาก
เร็ว
2. การพัฒนา
กาลังอัด
เร็ว
ช้ า
เร็วมาก
เร็วมาก
3. กาลังอัด
ประลัย
สู ง
สู ง
ต่า
ต่า
4. ความร้ อน
จากปฏิกริ ิยา
สู ง
ต่า
สู งมาก
ปานกลาง
17
LOGO
ตารางแสดงคุณสมบัตขิ องสารประกอบรอง
ออกไซด์
เปอร์ เซ็นต์ โดย
นา้ หนัก
มาตรฐานกาหนด
CaO
-
< 3.0%
MgO
0.1 - 5.5
<5.0%
Na2O + K2O
0.5 - 1.3
-
TiO2
0.1 - 0.4
-
SO3
1-3
2.3-4.0
18
LOGO
ปฏิกริ ิยาไฮเดรชั่น (Hydration of Cement)
เกิดขึน้ ทันทีที่เติมน้าลงในปูนซี เมนต์ แต่ ปฏิกิริยานี้จะยังไม่
สมบูรณ์ ในเวลาอันสั้ น ความสมบูรณ์ ของปฏิกิริยาไฮเดรชั่ นต้ องใช้
เวลาที่ยาวนาน และสารประกอบหลักแต่ ละตัวต้ องใช้ เวลาที่แ ตกต่ าง
กัน
19
LOGO
ต่ อปฏิกริ ิยาไฮเดรชั่น (Hydration of Cement)
ปฏิกริ ิยาไฮเดรชั่นของแคลเซียมซิลเิ กต (C3S,C2S)
แคลเซี ยมซิ ลิเกตทาปฏิกิริยากับน้า จะได้ สาร Calcium Silicate
Hydrate (CSH) และ Ca(OH)2
2(3CaO.SiO2) + 6H2O
3CaO.2SiO2.2H2O + 3Ca(OH)2 + Heat
2C3S + 6H2O
C3S2H + 3 Ca(OH)2
ในทันทีที่เกิดปฏิกิริยา (CSH) ที่ได้ จะมีลักษณะเป็ นวุ้น(gel) ยังไม่
แข็งตัว แต่ จะค่ อยๆแข็งตัวและมีการพัฒนากาลังเชื่อมประสานเพิ่มขึน้
20
LOGO
ต่ อปฏิกริ ิยาไฮเดรชั่น (Hydration of Cement)
3 Ca(OH)2 ที่ได้ จากปฏิกริ ิยาไฮเดรชั่น ทาให้ ซีเมนต์ เพสต์ มี
คุณสมบัตเิ ป็ นด่ างอย่ างมาก คือมีค่า pH ประมาณ 12.5 ซึ่งจะช่ วย
ป้องกันการเกิดสนิมของเหล็กเสริมได้ อย่ างดี
ปฏิกริ ิยาไฮเดรชั่นของไตรแคลเซียมอลูมิเนต (C3A)
จะเกิดขึน้ ได้ อย่ างรวดเร็ว โดยจะแข็งตัวสู งสุ ดในเวลาทันที
และปล่ อยความร้ อนออกมามากดังสมการ
3CaO.Al2O2 + 6H2O
3CaO.Al2O2.H2O
C3A + 6H2O
3C3AH6
21
LOGO
ต่ อปฏิกริ ิยาไฮเดรชั่น (Hydration of Cement)
การแข็งตัวอย่ างรวดเร็วของ (CAH) จะทาให้ เกิดปัญหา
ในทางปฏิบัตเิ นื่องจากขั้นตอนการผสมและการเทคอนกรีจาเป็ นต้ อง
ใช้ เวลามาก
ปฏิกริ ิยไฮเดรชั่นของเตทตราแคลเซียมอลูมิโนเฟอร์ ไรท์
(C4AF) ทาให้ เกิดสารประกอบทีใ่ ห้ กาลังด้ านการเชื่อมประสานน้ อย
มาก แต่ ช่วยเร่ งปฏิกริ ิยาไฮเดรชั่นของ C3S และ C2S
4CaO.Al2O2.Fe2O2 + CaSO2.2H2O + Ca(OH)2
22
3CaO(Al2O3Fe2).3CaSO2
LOGO
ประเภทของปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ไว้ 5 ประเภทดังนี้
ประเภทที่ 1 ปูนซี เมนต์ปอร์ตแลนธรรมดำ สำหรับใช้ในกำรทำคอนกรี ต หรื อ
ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรมที่ไม่ตอ้ งกำรคุณภำพพิเศษกว่ำธรรมดำ และใช้
สำหรับงำนกำรก่อสร้ำงตำมปกติทวั่ ไป
ประเภทที่ 2 ปูนซี เมนต์ปอร์ตแลนด์สำหรับใช้ในกำรทำคอนกรี ตหรื อ
ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรมที่เกิดควำมร้อนและทนซัลเฟตได้ปำนกลำง
ประเภทที่ 3 ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทเกิดแรงสู งเร็ ว ใช้ในงำนก่อสร้ำงที่
ต้องกำรให้เกิดแรงบีบน้ ำหนักได้เร็ ว เหมำะสำหรับใช้ในงำนคอนกรี ต
ที่ตอ้ งกำรถอดแบบได้เร็ ว หรื องำนที่ตอ้ งกำรใช้เร็ วเพื่อแข่งกับเวลำ
LOGO
(ต่ อ) ประเภทของปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ไว้ 5 ประเภทดังนี้
ประเภทที่ 4 ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทเกิดควำมร้อนต่ำ ใช้ในงำน
คอนกรี ตที่มีเนื้อหนำๆ เช่น กำรสร้ำงเขื่อนกั้นน้ ำจืดขนำดใหญ่ งำน
โครงสร้ำงที่เป็ นแท่งหนำมำกๆ
ประเภทที่ 5 ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตได้สูง ใช้ในงำนก่อสร้ำง
ในทะเลหรื อตำมชำยฝั่งทะเล บนดินที่มีควำมเค็มปนอยู่ หรื อใช้
บริ เวณที่มีซลั เฟตสูง
LOGO
ปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ธรรมดา
(Ordinary Portland Cement)
ปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์
ประเภททีห่ นึ่ง
LOGO
ปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์
เกิดกาลังอัดสู งและเร็ว (High
Early Strength Portland
Cement) ปูนซีเมนต์ ปอร์ แลนด์
ประเภทที่สาม
LOGO
ปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ทนซัลเฟตได้ สูง
(Sulphate Resistance Portland
Cement) ปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ประเภท
ทีห่ ้ า
LOGO
1.4 ปูนซีเมนต์ สาหรับงานขุดเจาะบ่ อนา้ มัน (Oil Well Cement)
คุณสมบัติ:
ตามมาตรฐานของ API Specification 10 A
(API = American Petroleum Institute)
คุณสมบัติทสี่ าคัญคือต้ องมีความหนืดตา่ ในช่ วงต้ น เพือ่ ให้ สามารถสู บ
ไปได้ ในระดับความลึกที่ต้องการ และแข็งตัวได้ รวดเร็วภายในเวลาที่
กาหนด ทนทานต่ ออุณหภูมิ ความดัน และการกัดกร่ อนของนา้ ทะเล
การใช้ งาน:
เหมาะสาหรับอุตสาหกรรมงานขุดเจาะบ่ อนา้ มัน และก๊าซ
ธรรมชาติ
LOGO
ปูนซีเมนต์ สาหรับงานขุดเจาะบ่ อนา้ มัน
(Oil Well Cement)
LOGO
1.5 ปูนซีเมนต์ ผสม (Mixed Cement)
ปูนซีเมนต์ ทไี่ ด้ จากการผสมวัสดุเฉื่อย เช่ น ทราย หรือหินปูน ลงไปบด
พร้ อมกับปูนเม็ดของปูนปอร์ ตแลนด์ ธรรมดา
คุณสมบัติ:
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก.80
การใช้ งาน:
เหมาะกับงานก่ออิฐ ฉาบปูน เนื่องจากมีความลืน่ ทา
ทางานง่ าย ยืดหดตัวน้ อยทาให้ พนื้ ผิวสวยเรียบ คงทน ไม่ หลุดล่อน นิยม
ใช้ กบั งานก่อสร้ างอาคารบ้ านขนาดเล็ก ผลิตภัณฑ์ ก่อสร้ าง และงานปั้น
LOGO
ปูนซีเมนต์ ผสม
(Mixed Cement)
LOGO
2. ปูนซีเมนต์ ขาว (WhiteCement)
LOGO
2.1 ปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ สีขาว
(White Portland Cement)
ปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ประเภทหนึ่งซึ่งมีสีขาว
คุณสมบัติ:
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก.133-2518ซึ่ง
ให้ กาลังการยึดเกาะสู ง สามารถใช้ ผสมกับแม่ สีทไี่ ม่ เกิดปฏิกริ ิยาเคมีกบั
ปูนซีเมนต์
การใช้ งาน:
เหมาะที่จะใช้ กบั งานตกแต่ งอาคาร ห้ องนา้ สระว่ ายนา้
หินขัด หินล้าง ทรายล้าง กรวดล้าง และใช้ ในการทาผลิตภัณฑ์ อนื่ ๆ ที่
ต้ องการความสวยงาม ควบคู่กบั ความแข็งแรง ทนทาน
LOGO
3. ปูนสาเร็จรู ป (Dry Mortar)
ปูนสาเร็จรูป คือวัสดุผสมระหว่ างปูนซีเมนต์ วัสดุคละ และ
สารเคมีชนิดพิเศษที่มีการคัดเลือกให้ เหมาะสมกับประเภทของงาน โดย
ส่ วนผสมต่ างๆ จะผลิตสาเร็จจากโรงงานให้ อยู่ในสภาพเตรียมพร้ อม
สาหรับการใช้ งาน ซึ่งมีหลายประเภทเหมาะกับการใช้ งานได้ หลากหลาย
ผู้ใช้ งานเพียงแต่ ผสมนา้ ให้ ตรงตามสั ดส่ วนทีก่ าหนดก็สามารถนามาใช้
งานได้ ทันที
LOGO
คุณสมบัติ:
2528
3.1 ปูนก่ อ (Masonry Mortar)
ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมปูนก่อ มอก. 598-
การใช้ งาน:
เหมาะสาหรับงานก่อผนังต่ างๆ เช่ น ผนังก่ออิฐมอญ หรือ
คอนกรีตบล็อค เนื่องจากมีสารผสมของสารเคมีทชี่ ่ วยเพิม่ ประสิ ทธิภาพ
ในการเพิม่ การทรงตัวของเนือ้ ปูนขณะใช้ งาน และช่ วยเพิม่
ประสิ ทธิภาพการยึดเกาะทาให้ ผนังแข็งแรงทนทาน
LOGO
3.1 ปูนก่ อ (Masonry Mortar)
LOGO
3.2 ปูนฉาบ (Plastering Mortar)
คุณสมบัต:ิ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมมอร์ ต้าร์
สาหรับฉาบ มอก.1776-2542 มีส่วนผสมของวัสดุยดึ ประสาน
วัสดุคละ และสารเคมีผสมพิเศษ ทีท่ าให้ ฉาบง่ าย และอุ้มนา้ ได้ ดี
นอกจากนีย้ งั เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการยึดเกาะ ลดการแตกร้ าวได้
โดยทั่วไปสามารถแบ่ งเป็ นประเภทต่ างๆ ดังนี้
LOGO
3.2.1 ปูนฉาบทัว่ ไป (General Plaster Mortar)
การใช้ งาน
เหมาะสาหรับงานผนัทวั่ ไป
ทีต่ ้ องการความสะดวกรวดเร็ว
ผนังฉาบเรียบสมา่ เสมอ และ
สวยงาม ใช้ ได้ กบั ผนังก่ออิฐ
หรือคอนกรีตบล็อคทุก
ประเภททั้งภายใน แลภายนอก
LOGO
3.2.4 ปูนฉาบบาง (Skim Coat)
การใช้ งาน
เหมาะสาหรับการฉาบบาง
เป็ นพิเศษ เพื่อตกแต่งผนัง
เพดาน หรือพื้นผิวอิฐที่ฉาบแล้ว
รวมถึงพื้นผิวคอนกรีต
ให้เรียบสวย (เป็ นปูนสาเร็จรูป
ที่นอกเหนือจาก มอก. กาหนด)
LOGO
3.3 ปูนเทปรับพืน้ (Floor Screed Mortar)
การใช้ งาน:
เหมาะสาหรับใช้ ในการเทพืน้ เพือ่ ปรับระดับ
พืน้ ผิวให้ เรียบพร้ อมสาหรับการติดวัสดุตกแต่ งพืน้ เช่ น
กระเบือ้ ง ปาเก้ เป็ นต้ น เพราะมีสารเคมีทชี่ ่ วยไหลลืน่ ทาให้ เท
ปรับพืน้ ผิวได้ ง่ายยิง่ ขึน้
LOGO
3.4 ปูนซ่ อมเอนกประสงค์ (Repair Mortar)
การใช้ งาน:
เหมาะสาหรับงานซ่ อมแซมต่ างๆ สาหรับ
บริเวณพืน้ ทีข่ นาดเล็ก เช่ นซ่ อมรอยแตกร้ าว หลุดล่อนบน
ผนัง และพืน้ งานซ่ อมปะติดกระเบือ้ งเซรามิค และงานซ่ อม
จุดปะรอยแตก หรือรอยเจาะฝังท่ อ กันซึม
LOGO
4. กาวซีเมนต์ (Tile Adhesive)
LOGO
4.1 กาวซีเมนต์ ปูกระเบือ้ งเซรามิค (Tile Adhesive for
Ceramic Tiles)
ได้ จากปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ประเภททีห่ นึ่ง ผสมกับหินปูนบดละเอียด
และสารเคมีต่างๆ ทาให้ มีแรงยึดเกาะมากกว่ าปูนซีเมนต์ ธรรมดา
คุณสมบัต:ิ
การยึดเกาะตัวสู ง ยืดหดตัวน้ อย สามารถทางานได้
รวดเร็ว ประหยัดเวลา และแรงงาน ลดการเกิดคราบเชื้อรา หรือคราบนา้
ทีท่ าให้ กระเบือ้ งหลุดล่ อนภายหลัง
การใช้ งาน:
สาหรับใช้ ในงานปูกระเบือ้ งเซรามิคโดยเฉพาะ ใช้ ได้
ทั้งภายใน และภายนอกอาคาร
LOGO
4.2 กาวซีเมนต์ ปูหินอ่อน แกรนิต หรือกระเบือ้ งเซรามิคขนาดใหญ่
(Tile Adhesive for Marble, Granite and Large Ceramic Tiles)
ได้ จากปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ประเภททีห่ นึ่ง ผสมกับหินปูนบดละเอียด และสารเคมี
พิเศษต่ างๆ ทาให้ มแี รงยึดเกาะสู งมากขึน้
คุณสมบัต:ิ
เหมือนกับคุณสมบัตขิ องกาวซีเมนต์ ปูกระเบือ้ งเซรามิคแต่ ให้ แรง
ยึดเกาะทีส่ ู งกว่ า
การใช้ งาน:
เหมาะใช้ งานปูกระเบือ้ งเซรามิคขนาดใหญ่
แผ่นหินอ่อน
หรือหินแกรนิต และช่ วยลดคราบขาวของเกลือ (Efflorescence) ทีเ่ กิดจาก
ปฏิกริ ิยาของนา้ ฝนกับปูนซีเมนต์ บนหินอ่ อน หรือหินแกรนิต
4.3 กาวซีเมนต์ ปูทบั พืน้ เดิม
(Tile Adhesive for Application Over Existing Tiles)
LOGO
ได้ จากปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ ประเภททีห่ นึ่ง ผสมกับหินปูนบดละเอียด และสารเคมี
ผสมพิเศษต่ างๆ ทีท่ าให้ มีแรงยึดเกาะมากเป็ นพิเศษ
คุณสมบัต:ิ
เหมือนกับคุณสมบัตขิ องกาวซีเมนต์ 2 ชนิดแรก แต่ ให้ แรงยึดเกาะ
ทีส่ ู งทีส่ ุ ด
การใช้ งาน:
เหมาะใช้ งานปูทบั พืน้ ผิวเดิม เช่ น กระเบือ้ งเซรามิค กระจก ยิปซั่ม
และปูบนพืน้ ทีท่ มี่ แี รงสั่ นสะเทือน เช่ น อาคารใกล้ ถนนทีม่ รี ถบรรทุกหนักแล่ นผ่ าน
ประหยัดเวลา และแรงงานรื้อกระเบือ้ งเดิม
LOGO
4.4 กาวยาแนว (Tile Grout)
ได้ จากปูนซีเมนต์ ปอร์ ตแลนด์ สีขาว ผสมกับหินปูนบดละเอียด และสารเคมี
ผสมพิเศษที่ช่วยเพิม่ แรงยึดเกาะ ลดการแตกร้ าว ลดการซึมผ่ านของนา้
และผสมสี ต่างๆ ให้ สวยงาม
การใช้ งาน:
เหมาะใช้ งานตกแต่ ง หรือยาแนว กระเบือ้ งเซรามิคโมเสก
หินอ่อน แกรนิต และสุ ขภัณฑ์ สามารถเลือกสี ได้ ตามต้ องการ
LOGO
LOGO
LOGO
LOGO
LOGO