การจัดทำแผนการเรียนรู้ การใช้ปัญหาเป็นฐานการเรียนรู้

Download Report

Transcript การจัดทำแผนการเรียนรู้ การใช้ปัญหาเป็นฐานการเรียนรู้

การจัดทาแผนการเรียนรู ้
การใช้ปญั หาเป็ นฐานการเรียนรู ้ (PBL)
การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู ้
หากอาจารย์จะต้องเตรียมตัวสอนในรายวิชาที่
ได้รบั มอบหมาย จะมีขนั้ ตอนการดาเนินงานอย่างไร
คาอธิบายรายวิชา
การกาหนดเนื้อหา
มคอ.2 (จุดมุง่ หมายของรายวิชา)
การแบ่งสัดส่วนคะแนน
การกาหนดรูปแบบการสอน
การกาหนดรูปแบบการประเมิน
PBL
Project-based Learning
Problem-based Learning
(NUS ; National University of Singapore)
NUS ได้มกี ารเปลีย่ นวิธกี ารเรียนการสอนของนักศึกษา
และอาจารย์ ซึง่ แต่เดิม NUS ก็ใช่วธิ กี ารเล็คเชอร์เหมือนที่
อืน่ ๆ (มหาวิทยาลัยเมืองไทย) ให้กลายมา
เป็ น Problem-based Learning
(การใช้ปญั หาเป็ นฐานในการเรียนรู ้ หรือ PBL)
ทางฝ่ ายผูบ้ ริหาร NUS ก็ตอกยา้ ว่า
"ความรูจ้ ากเล็คเชอร์น้นั นักศึกษาเรียนจบแล้วเอาไปใช้ได้
แค่ 3 ปี ถงึ 5 ปี ความรูน้ ้นั ก็ลา้ สมัยแล้ว” เพราะมันคงทาให้
ความรูน้ ้นั “ตาย” อย่างไม่เกิดประโยชน์ ซ้ายังไม่เพิม่ ทักษะ
การศึกษาค้นคว้าให้แก่บณ
ั ฑิตเมื่อเรียนจบกลับออกไป
ทางาน
“เขาไม่ได้เปลีย่ นหลักสูตร แต่
เปลีย่ นวิธกี ารสอน ...เช่นเดียวกัน
กับมหาวิทยาลัยขัน้ นาของโลก
…. สิง่ ทีเ่ ป็ นปัจจัยความสาเร็จ
ของมหาวิทยาลัยชัน้ นาไม่ใช่
หลักสูตร ไม่ใช่ตกึ เรียนทันสมัย แต่
คือ วิธีการสอน”
สอนเนื้อหาไปบางส่วนก่อน หลังจากจากนัน้ ก็ทดลองให้นกั เรียนแก้ปญั หาเป็ น
กลุม่ ย่อย ซึง่ เป็ นวิธสี อนแบบแก้ปญั หา แต่เป็ นการสอนแบบ
แก้ปญั หา (Problem solving method)
หรือผูส้ อนว่าไปตามทฤษฎี เนื้อหาทีส่ อนแล ้วก็ยกกรณีศึกษาขึ้นมาให้นกั เรียน
ถกกัน ก็ไม่ใช่วธิ กี ารสอนแบบ PBL
หากแต่ PBL นัน้ ผูส้ อน ต้องนาปัญหาทีเ่ กี่ยวข้องกับศาสตร์วชิ าของผูเ้ รียน
โดยตรงต้องมาก่อน แล ้วใช้ปญั หาหรือกรณีศึกษานัน้ เป็ นโจทย์กระตุน้ เพือ่ ให้
ผูเ้ รียนไปค้นคว้าหาความรู ้ ความเข้าใจด้วยตนเอง เพือ่ จะได้คน้ พบคาตอบของ
ปัญหาดังกล่าว โดยกระบวนการหาความรูด้ ว้ ยตนเองนี้ทาให้ผูเ้ รียนเกิดทักษะ
ในการแก้ไขปัญหา (Problem solving skill) ระหว่างการเรียน
ผูส้ อนอาจจะแนะแนวทางการค้นหาคาตอบหากเห็นว่าจะไม่อยู่ในศาสตร์วชิ าที่
สอนนัน้ ได้
PBL
Problem-based Learning
การเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็ นฐาน หรือ การเรียนรูท้ ใ่ี ช้ลกั ษณะการตัง้ ปัญหาเป็ น
ประเด็นนา ซึง่ จะช่วยกระตุน้ ให้ผูเ้ รียนเกิดความต้องการทีจ่ ะค้นคว้าหาความรูม้ า
เพือ่ ขบคิดแก้ไขปัญหา หรือเรียนรูจ้ ากปัญหาอาจเป็ นสถานการณ์จริง ได้ถกู นามาใช้
อย่างได้ผลในหลายระดับการศึกษา เป็ นรูปแบบการเรียนอีกรูปแบบหนึ่งทีเ่ น้น
ผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง และรูจ้ กั การทางานร่วมกันเป็ นทีมของผูเ้ รียน โดยผูส้ อนมี
ส่วนร่วมน้อยแต่ก็ทา้ ทายผูส้ อนมากทีส่ ุด
ลักษณะสาคัญของการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็ นฐานประกอบด้วย
1. ใช้ปญั หาทีส่ อดคล ้องกับสถานการณ์จริงเป็ นตัวกระตุน้ หรือจุดเริ่มต้นในการแสวงหาความรู ้
2. การบูรณาการเนื้อหาความรูใ้ นสาขาต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับปัญหานัน้
3. เน้นกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลและเป็ นระบบ
4. เรียนเป็ นกลุม่ ย่อย โดยมีครู หรือ ผูส้ อนเป็ นผูส้ นับสนุนและกระตุน้ ผูเ้ รียนต้องร่วมกัน
สร้างบรรยากาศทีส่ ่งเสริมการเรียนรูใ้ ห้เกิดขึ้นในกลุม่
5. เน้นกระบวนการเรียนรูท้ ใ่ี ช้ผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลางและสอดคล ้องกับวัตถุประสงค์ทต่ี นเองหรือ
กลุม่ ตัง้ ไว ้
วัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์ทค่ี าดหวังจากการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็ นฐาน ได้แก่
1. ได้ความรูท้ ส่ี อดคล ้องกับบริบทจริงและสามารถนาไปใช้ได้
2. พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารญาณ การให้เหตุผล และการนาไปสู่การ
แก้ปญั หาทีม่ ปี ระสิทธิผล
3. ผูเ้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่อง
4. ผูเ้ รียนสามารถทางานและสือ่ สารกับผูอ้ น่ื ได้อย่างมีประสิทธิาาพ
5. เป็ นการสร้างแรงจูงใจในการเรียนรูใ้ ห้แก่ผูเ้ รียน
6. ความคงอยู่ของความรูจ้ ะนานขึ้น
ปัจจัยอะไรบ้างทีม่ ผี ลต่อคุณาาพของการจัดการเรียนการสอนแบบ PBL
1. ความสาคัญของเนื้อหา ต้องเลือกเนื้อหาทีเ่ ป็ นแกน หรือหลักการและสอดคล้องกับ
การนาไปใช้ในสถานการณ์จริง
2 คุณาาพของโจทย์ปญั หา ต้องเลือกปัญหาทีพ่ บบ่อยในสถานการณ์จริงและสร้าง
ปัญหาให้สอดคล ้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ปัญหาทีด่ จี ะต้องน่ าสนใจและกระตุน้
ในผูเ้ รียนสามารถอาิปรายและเรียนลงไปในระดับลึกจนเข้าใจแนวคิดของปัญหามากกว่า
การท่องจาสามารถเชื่อมโยงความรูเ้ ดิมของผูเ้ รียนกับข้อมูลใหม่
3 กระบวนการกลุม่ ทัง้ ครูและผูเ้ รียนต้องเข้าใจพลวัตรของกระบวนการกลุ่ม บทบาท
ของแต่ละคนในกลุม่ กระบวนการกลุม่ ทีด่ จี ะทาให้การเรียนรูม้ ปี ระสิทธิผลยิง่ ขึ้น
ปัจจัยอะไรบ้างทีม่ ผี ลต่อคุณาาพของการจัดการเรียนการสอนแบบ PBL
4.บทบาท และทักษะของครู ครูหรือผูส้ อนยังมีบทบาทสาคัญในการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็ น
ฐาน แต่จะเปลีย่ นไปจากการสอนแบบบรรยาย ดังได้กล่าวมาแล้ว
5. การพัฒนาทักษะต่างๆ ของทัง้ ครูและผูเ้ รียน ครูอาจไม่มนใจตนเองในการที
ั่
่ตอ้ งเป็ นครูใน
วิชาทีต่ นไม่ชานาญ ครูจะต้องได้รบั การพัฒนาและฝึ กทักษะต่างๆ ของการเป็ นครูประจากลุม่
จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบความสาเร็จมากขึ้น ผูเ้ รียนก็จะต้องรับความเข้าใจเกี่ยวกับ
แนวคิดการเรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็ นฐานและการเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนแบบนี้
6.ทรัพยากรการเรียนรู ้ เนื่องจากเป็ นแหล่งข้อมูลหรือความรูท้ ส่ี าคัญ การเตรียมและจัดหา
แหล่งทรัพยากรการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย พร้อมทัง้ เทคโนโลยีทเ่ี กี่ยวข้องจึงมีความจาเป็ นต่อการ
เรียนรูโ้ ดยใช้ปญั หาเป็ นฐาน
7.การบริหารจัดการ ความร่วมมือและประสานงานกันระหว่างาาควิชาหรือหน่วยงาน
ตลอดจนการวางแผนงานทีเ่ หมาะสมจะทาให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิาาพ
หากต้องการให้ ผูเ้ รียนเปลีย่ นแปลงวิธกี ารเรียน
ผูส้ อนต้องเปลีย่ นแปลงรูปแบบการสอนก่อน