หัวข้อการจัดทำหลักสูตร

Download Report

Transcript หัวข้อการจัดทำหลักสูตร

ตัวอย่ าง
หัวข้ อและรายละเอียด
การจัดทาหลักสูตรระดับอดุ มศึกาา
สำนักมำตรฐำนและประเมินผลอุดมศึกษำ
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ 1
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 25..
2
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
1. ชื่อหลักสู ตร
ให้ ระบุชื่อเต็มของหลักสู ตรพร้ อมสาขาวิชา
ทั้ ง ภาาาไทยและภาาาอั ง กฤา (ส าหรั บ
ปกหน้ า ให้ ระบุ ชื่อเต็มของหลักสู ตรพร้ อม
สาขาวิชาและระบุว่าเป็ นหลักสู ตรใหม่ หรื อ
หลักสู ตรปรับปรุ ง และปี พ.ศ.)
3
1.ชื่อหลักสูตร
(ชื่อภาาาไทย) หลักสู ตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร
(ชื่อภาาาอังกฤา) Bachelor of Business
Administration Program
in Finance and Banking
4
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
2. ชื่อปริญญา
ให้ ระบุ ชื่ อ เต็ ม และอั ก ารย่ อของปริ ญ ญา
ทั้งภาาาไทยและภาาาอังกฤา โดยให้ มีความ
สอดคล้ องกัน สาหรั บชื่ อภาาาไทยให้ ใช้ ตาม
พระราชกฤาฎีกาว่ าด้ วยปริ ญญาของสถาบัน
หรื อ ตามหลัก เกณฑ์ ก ารก าหนดชื่ อ ปริ ญ ญา
ของสกอ. ศธ.
5
2.ชื่อปริญญา
ชื่อภาาาไทย : บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงินและ
การธนาคาร)
บธ.บ. (การเงินและการธนาคาร)
ชื่อภาาาอังกฤา : Bachelor of Business
Administration (Finance and
Banking)
B.B.A. (Finance and Banking)
6
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
3. หน่ วยงานรับผิดชอบ
ให้ ระบุภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัยหรือสถาบัน
4. ปรัชญาและ/หรือวัตถุประสงค์ ของหลักสู ตร
ให้ ระบุ ป รั ชญาและ/หรื อวั ต ถุ ป ระสงค์ ของ
หลั ก สู ตรอย่ างชั ด เจน เช่ น เพื่ อ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต
ประเภทและคุ ณ ลั ก าณะใด และ/หรื อเป็ น
วัตถุประสงค์ พเิ ศาอันใดของสถาบันอุดมศึกาานั้น
เป็ นต้ น
7
3.หน่ วยงานที่รับผิดชอบ
ภาควิชาบริหารธุรกิจ
คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัย...........................
8
4.ปรัชญาและวัตถุประสงค์
4.1 ปรัชญาของหลักสู ตร
หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและ
การธนาคาร เป็ นหลักสู ตรที่ม่ ุงผลิตบุคลากรให้ มีความรู้
ความสามารถทางบริ หารธุ รกิจในด้ านการเงิน ซึ่ งสนอง
ความต้ อ งการในการเพิ่ม ศั ก ยภาพทางการแข่ ง ขัน ของ
ประเทศไทยในกระแสโลกาภิ วั ฒ น์ ให้ ทั ด เที ย มนานา
อารยะประเทศอย่ า งมีป ระสิ ทธิ ภาพ โดยมุ่ ง พัฒนาให้
บัณฑิตมีความรอบรู้ ในเชิ งบริ หารการเงิน และสามารถ
ประยุกต์ ใช้ กบั เหตุการณ์ จริงได้ อย่ างเหมาะสม
9
4.2 วัตถุประสงค์ ของหลักสู ตร
1. เพือ่ ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถด้ านการบริหารการเงินและการธนาคาร
มีความรู้ ความเข้ าใจ ในตลาดเงิน ตลาดทุ น และเกณฑ์ ในการตัดสิ นใจลงทุ น รวมทั้ ง
สามารถนาความรู้ ไปประยุกต์ กบั งาน ทั้งในองค์ การธุรกิจและองค์ การที่ไม่ แสวงหากาไร
2. เพือ่ ให้ บัณฑิตสามารถวิเคราะห์ ปัญหาทางการเงิน และแก้ ไขได้ ด้วยตนเอง
3. เพือ่ ให้ บัณฑิตมีความรู้ ในทฤาฎีการเงิน และเครื่องมือทางการเงิน
4. เพือ่ ให้ บัณฑิตสามารถประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารการเงินได้
5. เพื่อให้ บัณฑิตมีโลกทัศน์ กว้ าง มีคุณธรรมและจริ ยธรรม ในการประกอบอาชี พ
ภายใต้ จิตสานึกที่รับผิดชอบต่ อผลที่เกิดขึน้ ต่ อสั งคมส่ วนรวม
6. เพือ่ ผลิตบุคลกรที่มีคุณภาพ ให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของประเทศ
10
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
5. กาหนดการเปิ ดสอน
ให้ ร ะบุ ปี การศึ ก าาที่จ ะเปิ ดด าเนิ น การเรี ยน
การสอน กรณีที่สกอ. ได้ รับทราบ/เห็ นชอบ
หลักสู ตรแล้ ว แต่ ยังไม่ สามารถดาเนินการเปิ ด
สอนในปี ที่กาหนดได้ ให้ แจ้ งเหตุผลและความ
จาเป็ นให้ สกอ.ทราบ
11
5. กาหนดการเปิ ดสอน
ภาคการศึกาาที่ 1 ปี การศึกาา 25..
12
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
6. คุณสมบัตขิ องผู้เข้ าศึกาา
ให้ ระบุคุณสมบัติของผู้เข้ าศึ กาา เช่ น คุณวุฒิ
แต้ ม ระดับ คะแนนเฉลี่ย ประสบการณ์ และ
คุณสมบัตอิ นื่ ๆ ตามความเหมาะสม
13
6. คุณสมบัตขิ องผ้ ูเข้ ารับการศึกาา
1. เป็ นผู้สาเร็ จการศึ กาาชั้ นมัธยมศึ กาาตอน
ปลายหรือเทียบเท่ า
2. มีคุณสมบัติอื่นครบถ้ วนตามประกาศหรื อ
ข้ อ บั ง คับ ของมหาวิท ยาลัย ว่ า ด้ ว ยการรั บ เข้ า
ศึกาาในมหาวิทยาลัย
14
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
7. การคัดเลือกผู้เข้ าศึกาา
ให้ ระบุวธิ ีการและขั้นตอนการคัดเลือกผู้เข้ าศึกาา
โดยสั งเขป
8. ระบบการศึกาา
ให้ ร ะบุ ร ะบบการศึ ก าา การคิด หน่ ว ยกิต รายวิช า
ภาคทฤาฎี รายวิช าภาคปฏิ บั ติ แ ละการฝึ กงาน
หรือการฝึ กภาคสนาม
15
7. การคัดเลือกผู้เข้ าศึกาา
1. สอบคัดเลือกโดยผ่ านทางสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกาา ซึ่งจะเป็ นไป
ตามระเบียบการสอบคัดเลือก เพือ่ เข้ าศึกาา
ในสถาบันอุดมศึกาา
2. วิธีอนื่ ๆ ซึ่งสภามหาวิทยาลัยเป็ นผู้กาหนด
16
8. ระบบการศึกาา
เป็ นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัย ……………… ว่ า
ด้ วยการศึกาาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 25…. โดยใช้ ระบบภาค
การศึกาาแบบทวิภาคต่ อปี การศึกาา ดังนี้
1. ภาคการศึกาาปกติมเี วลาศึกาาประมาณภาคละ 15 สั ปดาห์
2. การศึกาาฤดูร้อนให้ มเี วลาศึกาาประมาณภาคละ 6 สั ปดาห์
17
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
9. ระยะเวลาการศึกาา
ให้ ร ะบุ ร ะยะเวลาการศึ ก าาตลอดหลั ก สู ต ร และ
ระยะเวลาที่ให้ ศึกาาได้ อย่ างน้ อยและอย่ างมากของ
หลักสู ตรนั้น
10. การลงทะเบียนเรียน
ให้ ระบุจานวนหน่ วยกิตอย่ างน้ อยและอย่ างมากที่ให้
ลงทะเบียนเรียนได้ ในแต่ ละภาคการศึกาา
18
9. ระยะเวลาการศึกาา
ตามหลักสู ตร 4 ปี จะสาเร็จการศึกาาได้ ไม่ ก่อน 6 ภาค
การศึกาาปกติ และใช้ เวลาศึกาาไม่ เกิน 8 ปี การศึกาา
สาหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา
10. การลงทะเบียนเรียน
10.1 การลงทะเบียนเรียนของนักศึกาาภาคละ .........หน่ วยกิต
10.2 ให้ เป็ นไปตามข้ อบังคับมหาวิทยาลัย.........................
ว่ าด้ วยการศึกาาขั้นปริญญาตรี พ.ศ.25..
19
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
11. การวัดผลและการสาเร็จการศึกาา
ให้ ระบุเกณฑ์ การวัดผลและเกณฑ์ การสาเร็จการศึกาาตาม
หลักสู ตรอย่ างละเอียด
12. อาจารย์ ผ้ ูสอน
ให้ แ ยกเป็ นอาจารย์ ป ระจ าหลั ก สู ต ร อาจารย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ
หลักสู ตร(เฉพาะหลักสู ตรบัณฑิตศึ กาา) และอาจารย์ พิเศา
โดยระบุรายชื่ อคุณวุฒิและสาขาวิชา ตาแหน่ งทางวิชาการ
ผลงานทางวิชากรและค้ นคว้ าวิจัย หรื อการแต่ งตารา(ถ้ ามี)
รวมทั้งภาระการสอนทั้งที่มีอยู่แล้ ว และที่จะมีในหลักสู ตรที่
เปิ ดสอนใหม่
20
11. การวัดผลและการสาเร็จการศึกาา
1. ต้ องศึกาารายวิชาต่ างๆ ครบถ้ วน ตามที่ระบุ
ไว้ ในหลักสู ตรและข้ อกาหนดอืน่ ๆ
2. ได้ แต้ มระดับคะแนนเฉลีย่ ไม่ น้อยกว่ า 2.00
จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่ า
21
12. จานวนและคุณวุฒขิ องอาจารย์
อาจารย์ ประจาหลักสู ตร
ตาแหน่ ง
สาเร็จการศึกาา
รหัส ทางวิชาการ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา
จากสถาบัน
ปี
1. ..........
รศ.
นาย
D.B.A Business Administration
M.B.A Fanance
บธ.บ. การบัญชีบริหาร
A
B
B
2540
2536
2532
2. ...........
ผศ.
นาง
บธ.ม. การเงินการธนาคาร
บธ.บ. การเงินการธนาคาร
C
D
2538
2535
3. ...........
ผศ.
นาย
วท.ม. เศราฐศาสตรธุรกิจ
ศ.บ. เศราฐศาสตรธุรกิจ
B
E
2539
22
2536
อาจารย์ ประจาหลักสู ตร (ต่ อ)
ตาแหน่ ง
สาเร็จการศึกาา
รหัส ทางวิชาการ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา
จากสถาบัน
ปี
4. ......... อาจารย์
นาย
บธ.ม. การเงินการธนาคาร
บธ.บ. การเงินการธนาคาร
C
D
2543
2540
5. ......... อาจารย์
นางสาว
MBA บริหารธุรกิจ
บธ.บ. การเงินการธนาคาร
B
E
2545
2541
อาจารย์ พเิ ศา
1. .........
รศ.
นาย
Ph.D.
M.B.A
บริหารธุรกิจ
บริหารธุรกิจ
A
A
2530
2527
2. ……..
รศ.
นาง
Ph.D.
M.B.A
บริหารธุรกิจ
การเงินการธนาคาร
B
A
2535
23
2533
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
13. จานวนนิสิตนักศึกาา
ให้ แสดงจานวนนิ สิตนั กศึ กาาที่จะรั บเข้ า ศึ กาาใน
หลักสู ตร และจานวนบัณฑิตที่คาดว่ าจะจบในแต่ ละ
ปี การศึ ก าา เป็ นระยะเวลา 5 ปี การศึ กาา โดยเริ่ ม
ตั้งแต่ ปีการศึกาาทีเ่ ปิ ดสอนหลักสู ตรนั้น
14. สถานทีแ่ ละอุปกรณ์ การสอน
ให้ แจ้ งสถานทีแ่ ละอุปกรณ์ การสอนทั้งทีม่ อี ยู่แล้ ว
และที่ต้องการเพิม่ ในอนาคต
24
13. จานวนนักศึกาา
จานวนนักศึกาาระดับ
ปริญญาตรีช้ันปี ที่
ปี การศึกาา
รวม
2548
2549
1
40
55
80
80
80
335
2
-
40
55
80
80
255
3
4
-
-
40
-
55
40
80
55
175
95
จานวนนักศึกาาที่คาดว่ า
จะสาเร็จการศึกาา
-
-
-
-
40
40
2550 2551 2552
25
14. สถานทีแ่ ละอุปกรณ์ การศึกาา
1. สถานทีเ่ รียน ใช้ อาคารเรียนรวม ภายในมหาวิทยาลัย.........
2. อุปกรณ์ การเรียนการสอน ใช้ ของคณะบริหารธุรกิจ
3. ห้ องสมุดคณะบริหารธุรกิจ ในการศึกาาหาความรู้ และข้ อมูล
ต่ างๆ เพือ่ ใช้ ในการเรียนการวิจัย
26
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
15. ห้ องสมุด
ให้ แจ้ งจานวนหนังสื อ ตาราเรียน วารสาร และ
เอกสารอืน่ ๆ ที่สัมพันธ์ กบั สาขาวิชาที่เปิ ดสอน
16. งบประมาณ
ให้ ระบุงบประมาณ โดยแยกรายละเอียดตามหัวข้ อ
การเสนอตั้งงบประมาณ รวมทั้งงบประมาณการ
ค่ าใช้ จ่ายต่ อหัวในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตรนั้น
27
15. ห้ องสมุด
นักศึกาาในหลักสู ตรสามารถใช้ ห้องสมุดของมหาวิทยาลัย........... และห้ องสมุด
คณะบริหารธุรกิจในการศึกาาหาความรู้ และข้ อมูลต่ างๆ เพือ่ ใช้ ในการเรียนและการ
วิจัย ดังนี้
1. หนังสื อ
- ภาาาไทย
จานวน 1,100 รายชื่อ
- ภาาาต่ างประเทศ จานวน 1,400 รายชื่อ
2. วารสาร
- ภาาาไทย
จานวน 150 รายชื่อ
- ภาาาต่ างประเทศ จานวน 110 รายชื่อ
3. การสื บค้ นข้ อมูลอืน่ ๆ
- ข้ อมูลสาเร็จรู ป ซีดรี อม
- ข้ อมูลจากวีดโิ อเพือ่ การศึกาา
28
- การสื บค้ นข้ อมูลจากแหล่ งข้ อมูลอืน่ ๆ ผ่ านเครือข่ าย Internet
16. งบประมาณ
งบประมาณ : ใช้ งบประมาณในคณะบริหารธุรกิจ
รายละเอียดการประมาณการค่ าใช้ จ่ายในหลักสู ตรเป็ นรายปี (หน่ วย : บาท)
รายการ
ปี งบประมาณ พ.ศ.
เปอร์ เซ็นต์
2544
2545
2546
2547
1. เงินเดือนและค่าจ้ างประจา
70.72%
1,110,987.00
1,110,984.00
1,110,984.00
1,110,984.00
2. ค่าจ้ างชั่วคราว
0.17%
2,658.04
5,316.08
7,974.12
10,632.00
3. ค่าตอบแทนใช้ สอยและวัสดุ
7.98%
125,307.60
250,615.20
375,922.80
501,230.00
4. ค่าสาธารณูปโภค
0.34%
5,316.08
10,632.16
15,948.24
21,264.00
5. ค่าครุภณ
ั ฑ์
2.30%
36,073.40
72,146.80
108,220.20
144,293.00
6. ค่าที่ดนิ และสิ่งก่อสร้ าง
17.19%
270,000.00
540,000.00
810,000.00
1,080,000.00
7. ค่าเงินอุดหนุน
0.77%
12,151.04
24,302.08
36,453.12
48,604.00
8. รายจ่ ายอืน่ ๆ
0.54%
8,543.70
17,087.40
25,631.10
34,174.00
รวมทั้งสิ้น
100%
1,571,033,86
2,031,083.72
2,491,133.58
29
2,951,183
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
17. หลักสู ตร ให้ ระบุรายละเอียดต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้
(1) จานวนหน่ วยกิต ให้ ระบุหน่ วยกิตรวมตลอด
หลักสู ตร
(2) โครงสร้ างหลักสู ตร ให้ แสดงโครงสร้ างหรือ
องค์ ประกอบของหลักสู ตร โดยแบ่ งเป็ นหมวด
วิชาให้ สอดคล้ องกับที่กาหนดไว้ ในเกณฑ์
มาตรฐานหลักสู ตรของสกอ.
30
17. โครงสร้ างหลักสู ตร
1. จานวนหน่ วยกิตตลอดหลักสู ตร ไม่ น้อยกว่ า 140 หน่ วยกิต
2. โครงสร้ างของหลักสู ตร แบ่ งออกเป็ นหมวดวิชา ดังนี้
1) หมวดวิชาศึกาาทัว่ ไป จานวนไม่ น้อยกว่ า 32 หน่ วยกิต ประกอบด้ วย
ก. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ 10 หน่ วยกิต
ข. กลุ่มวิชาภาาา
12 หน่ วยกิต
ค. กลุ่มวิชาสั งคมศาสตร์
3 หน่ วยกิต
ง. กลุ่มวิชามนุาย์ ศาตร์
6 หน่ วยกิต
จ. กลุ่มวิชาพลศึกาา
1 หน่ วยกิต
31
2) หมวดวิชาเฉพาะ จานวนไม่ น้อยกว่ า 103 หน่ วยกิต
ประกอบด้ วย
ก. กลุ่มวิชาแกน
57 หน่ วยกิต
ข. กลุ่มวิชาชีพบังคับ
36 หน่ วยกิต
ค. กลุ่มวิชาชีพเลือก 9 หน่ วยกิต
3) หมวดวิชาเลือกเสรี จานวนไม่ น้อยกว่ า 6 หน่ วยกิต
32
หมวดวิชาศึกาาทั่วไป
ก. กลุ่มวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์
1101 140 มนุาย์ กบั สิ่ งแวดล้ อม
1104 151 คอมพิวเตอร์ เบือ้ งต้ น
ฯลฯ
ข. กลุ่มวิชาภาาา
1421 102 ภาาาอังกฤาพืน้ ฐาน 1
1411 101 ภาาาไทยกับการสื่ อสาร
ฯลฯ
10 หน่ วยกิต
2(2-0-4)
2(1-2-2
12 หน่ วยกิต
3(3-0-6)
3(2-2-5)
33
ค. กลุ่มวิชาสั งคมศาสตร์
ให้ เลือกเรียนจานวน 3 หน่ วยกิต ในรายวิชา
1441 100 มนุาย์ กบั สั งคม
1442 100 มนุาย์ กบั วัฒนธรรม
ฯลฯ
ง. กลุ่มวิชามนุายศาสตร์
ให้ เลือกเรียนจานวน 6 หน่ วยกิต ในรายวิชา
1432 100 มนุาย์ กบั อารยธรรม
1431 100 ภูมปิ ัญญาและพฤติกรรมมนุาย์
1431 101 มนุาย์ กบั สุ นทรียภาพ
3 หน่ วยกิต
3(3-0-6)
3(3-0-6)
6 หน่ วยกิต
3(3-0-6)
3(3-0-6)
3(3-0-6)
34
หมวดวิชาเฉพาะ
ให้ นักศึกาาลงทะเบียนเรียนจานวนไม่ น้อยกว่ า 102 หน่ วยกิต
ประกอบด้ วยกลุ่มวิชาต่ างๆ ดังนี้
ก. กลุ่มวิชาแกน
1411 102 ภาาาไทยธุรกิจ
1700 120 เศราฐศาสตร์ ทั่วไป
1700 241 การวิเคราะห์ เชิงปริมาณ
ฯลฯ
ข. กลุ่มวิชาชีพบังคับ
1703 230 การเงินและการธนาคาร
1703 311 การบริหารการเงิน
ฯลฯ
57 หน่ วยกิต
3(2-2-5)
3(3-0-6)
3(3-0-6)
36 หน่ วยกิต
3(3-0-6)
3(3-0-6)
35
ค. กลุ่มวิชาชีพเลือก
9 หน่ วยกิต
1701 470 จรรยาบรรณทางธุรกิจ
3(3-0-6)
1703 416 การบริหารการเงินบุคคล 3(3-0-6)
ฯลฯ
หมาวดวิชาเลือกเสรี
ให้ นักศึกาาเลือกเรียนวิชาทีม่ กี ารเปิ ดสอนในคณะ
ต่ างๆ ในมหาวิทยาลัย............จานวนไม่ น้อยกว่ า 6 หน่ วย
กิต
36
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
(4) แผนการศึกาา ให้ แสดงรายวิชาที่จัดสอนตามหลักสู ตร
ในแต่ ละภาคการศึกาาจนครบตามหลักสู ตร
ตัวอย่ าง ปี ที่ 1 ภาคการศึกาาที่ 1
หน่ วยกิต
082 – 101 ภาาาอังกฤาพืน้ ฐาน 3(3-0-6)
612 – 211 เศราฐกิจไทย
3(3-0-6)
ฯลฯ
37
แผนการศึกาา
1101 140
1104 101
1104 151
1421 102
1439 100
1703 120
144x 1xx
ชั้นปี ที่ 1
ภาคการศึกาาต้ น (First Semester)
มนุาย์ กบั สิ่ งแวดล้อม(Man and Environment)
2(2-0-4)
คณิตศาสตร์ ทั่วไป (General Mathematics)
3(3-0-6)
คอมพิวเตอร์ เบือ้ งต้ น (Introduction to Computer) 2(1-2-3)
ภาาาอังกฤาพืน้ ฐาน 1 (Foundation English I)
3(3-0-6)
กิจกรรมพลศึกาา (Physical Education Activity)
1(0-2-1)
หลักการบัญชีเบือ้ งต้ น (Principles of Accounting) 3(2-2-5)
วิชาทัว่ ไป กลุ่มวิชาสั งคมศาสตร์
3(3-0-6)
รวม (Total ) 17 หน่ วยกิต (Credits)
38
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
(3) รายวิชา
ให้ ระบุเลขประจารายวิชา ชื่อรายวิชาทั้งภาาาไทย
และภาาาอังกฤา จานวนหน่ วยกิต จานวนชั่วโมง
บรรยาย จานวนชั่วโมงปฏิบัติ และจานวนชั่วโมง
ศึกาาด้ วยตนเอง
39
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
ตัวอย่ างที่ 1
จานวนหน่ วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกาาด้ วยตนเอง)
114 - 101 อังกฤา 1
2(2-0-4)
English 1
163 - 101 การเขียนแบบวิศวกรรม 1 2(1-2-3)
Engineering Drawing 1
ฯลฯ
40
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
(5) คาอธิบายรายวิชา
ให้ เขียนคาอธิบายรายวิชาเป็ นภาาาไทย โดยให้
มีรายละเอียดครอบคลุมเนือ้ หาสาระสาคัญของ
รายวิชานั้น กรณีเป็ นหลักสู ตรภาาาอังกฤา
หรือหลักสู ตรนานาชาติให้ มีคาอธิบายรายวิชา
เป็ นภาาาไทยและภาาาอังกฤาหรือภาาาที่ใช้
สอนหลักสู ตรนั้น ๆ
41
คาอธิบายรายวิชา
1703 322 การบัญชีบริหาร
3(2-2-5)
รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่ อน : 1703 121 การบัญชีการเงิน
รายวิชาทีต่ ้ องเรียนควบคู่ : ไม่ มี
การนาข้ อมู ลบัญชี มาใช้ เพื่อการวางแผน การดาเนินงานและ
การควบคุ ม ของฝ่ ายบริ ห าร โดยศึ ก าาถึ ง การวิ เ คราะห์ ง บการเงิ น
การจั ด ท างบกระแสเงิ น สด การบั ญ ชี ต ามศู น ย์ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ
ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งต้ น ทุ น ก าไรกั บ ต้ น ทุ น มาตรฐาน การจั ด ท า
งบประมาณ และการนาวิธีการทางบัญชีมาใช้ ในการแก้ ปัญหาทางธุรกิจ
42
ชื่อรายวิชาและหน่ วยกิต
1101 140
1104 151
1421 102
1703 120
มนุาย์ กบั สิ่ งแวดล้ อม
คอมพิวเตอร์ เบือ้ งต้ น
ภาาาอังกฤาพืน้ ฐาน 1
หลักการบัญชีเบือ้ งต้ น
2(2-0-4)
2(1-2-2)
3(3-0-6)
3(2-2-5)
43
ความหมายของรหัสวิชา
คณะ
ภาควิชา
ปี ที่ศึกาา
ลาดับวิชา
X X
1 2
X X X X X
3 4 5 6 7
44
การคิดชั่วโมงเรียน
ทฤาฎี 1 หน่ วยกิต : บรรยาย 1 ชม.
ค้ นคว้ า 2 ชม.
ปฏิบัติ 1 หน่ วยกิต : ฝึ กทดลอง 2 ชม.
ค้ นคว้ า 1 ชม.
45
หน่ วยกิตและชั่วโมงเรียน
หน่ วยกิต
3
3
(ทฤาฎี - ปฏิบัติ - ค้ นคว้ า)
(3 - 0 - 6 )
(2 - 2 - 5 )
46
หัวข้ อการจัดทาหลักสู ตร
18. การประกันคุณภาพของหลักสู ตร
ให้ ทุกหลักสู ตรกาหนดระบบการประกันคุณภาพ
ของหลักสู ตรให้ ชัดเจน ซึ่งอย่ างน้ อยประกอบด้ วย
ประเด็นหลัก 4 ประเด็น คือ
18.1 การบริหารหลักสู ตร
18.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
18.3 การสนับสนุนและการให้ คาแนะนานักศึกาา
18.4 ความต้ องการของตลาดแรงงาน สั งคม
และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต
47
หัวข้ อการจัดทาหลักสูตร
19. การพัฒนาหลักสู ตร
ให้ ทุ ก หลั ก สู ต รมี ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รให้ ทั น สมั ย
แสดงการปรั บปรุ งดัชนีด้านมาตรฐานและคุณภาพ
การศึกาาเป็ นระยะ ๆ อย่ างน้ อยทุก ๆ 5 ปี และมีการ
ประเมิน เพือ่ พัฒนาหลักสู ตรอย่ างต่ อเนื่องทุก 5 ปี
20. จานวนเอกสาร
ให้ สถาบันอุดมศึกาา จัดส่ งเอกสารหลักสู ตรให้ สกอ.
จานวน 5 ชุ ด พร้ อมทั้งแนบมติการให้ ความเห็นชอบ
ของสภามหาวิทยาลัย/สถาบัน
48
ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรใหม่
หลักสูตรปรับปรุง
หลักสูตรปรับปรุงเล็กน้ อย
49
หลักสูตรใหม่
• หลักสู ตรทีย่ งั ไม่ เคยเปิ ดสอนมาก่อน
• หลักสู ตรเดิม ถ้ าจะเปิ ดเป็ นหลักสู ตรนานาชาติถือ
เป็ นหลักสู ตรใหม่
• หลักสู ตรเดิมเป็ นภาาาหนึ่ง ต้ องการเปิ ดสอนอีก
ภาาาหนึ่ง ถือเป็ นหลักสู ตรใหม่
• การจัดทาเอกสารหลักสู ตรกรณีทเี่ ปิ ดสอนหลักสู ตร
ภาาาอังกฤาหรือหลักสู ตรนานาชาติ จะต้ องทา
หลักสู ตรเป็ นฉบับภาาาไทยและฉบับภาาาอังกฤา
หรือภาาาใช้ สอน
50
หลักสู ตรปรับปรุง (ทาใหม่ ท้งั เล่ ม)
เปลีย่ นแปลงโครงสร้ างหลักสู ตรเดิม
เปลีย่ นแปลงชื่อหลักสู ตร สาขาวิชา ปริญญา
เปลีย่ นแปลงคุณสมบัตผิ ู้เข้ าศึกาา
เพิม่ แผนการศึกาาในระดับบัณฑิตศึกาา
51
หลักสู ตรปรับปรุงเล็กน้ อย
 เพิม่ หรือยกเลิกรายวิชา
 ปรับปรุงคาอธิบายรายวิชา/เนือ้ หาวิชา
 เปลีย่ นแปลงหน่ วยกิต/ชั่วโมงเรียน
52
หลักสู ตรปรับปรุงเล็กน้ อย
เมือ่ มีการปรับปรุ งเล็กน้ อยหลายๆ ครั้ง
ควรจะมีการประมวลเป็ นหลักสู ตรปรับปรุ งใหญ่
สั ก 1 ครั้ง
53
ขั้นตอนการรับทราบการให้ ความเห็นชอบหลักสู ตร
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกาา
ของ
สภามหาวิทยาลัย/สถาบัน
ให้ ความเห็นชอบ
อธิการบดี
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกาา
รับรองความถูกต้ อง
ของข้ อมูลหลักสู ตร
(เอกสารหลักสู ตรและแบบสมอ.)
สานักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกาา
54
สานักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกาา
ประสานม/ส
ผ่ าน
วิเคราะห์ ตาม
เกณฑ์ มาตรฐาน
และหลักเกณฑ์ อนื่
ทีเ่ กีย่ วข้ อง
ไม่ ผ่าน
เสนอคณะอนุกรรมการ
ปรับปรุ งเกณฑ์
เลขาธิการ ก.อ.
รับทราบการให้ ความเห็นชอบ
แจ้ ง ม/ส
ส่ งศูนย์ เอกสารอุดมศึกาา
แจ้ ง ก.พ. ตีราคา
แจ้ ง ม/ส
บันทึก
ฐานข้ อมูลหลักสู ตร
55
ปัญหาในการพัฒนาหลักสูตร
• การเปลีย่ นแปลงผู้บริหาร
 หัวหน้ าภาควิชา
 คณบดี
 อธิการบดี
เจ้ าหน้ าที่
• การเปลีย่ นแปลงอย่ างรวดเร็วด้ านวิชาการ
และวิชาชีพ
56
Q&A
57
ขอบคุณค่ ะ
58