การออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน

Download Report

Transcript การออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน

การออกแบบการวิจยั ในชั้นเรี ยน
ตัวแปรสาหรับการวิจยั ในชั้นเรี ยน
ตัวแปร
ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม
ตัวแปรเกิน
ตัวแปรแทรกซ้ อน
ตัวแปรสาหรับการวิจยั ในชั้นเรี ยน (ต่อ)




ตัวแปรต้ นหรือตัวแปรอิสระ ( Independent variable ) เป็ นตัวแปรที่มีอิทธิพลหรื อ
ส่ งผลต่อตัวแปรอื่น
ตัวแปรตาม ( Dependent variable ) เป็ นตัวแปรผลที่เกิดขึ้นจากการส่ งผลของตัวแปร
อิสระ
ตัวแปรเกิน ( Extraneous variable ) เป็ นตัวแปรอิสระที่ไม่ตอ้ งการศึกษาหรื อไม่ได้
คัดเลือกมาศึกษาผล แต่อาจส่ งผลกระทบต่อผลการวิจยั ได้ถา้ ผูว้ จิ ยั ไม่ได้ควบคุมหรื อ
กาจัดออกไป เช่น อายุนกั เรี ยน สภาพครอบครัวนักเรี ยน ฯลฯ
ตัวแปรแทรกซ้ อน ( Intervening variable ) เป็ นตัวแปรที่เกิดขึ้นจากการที่ไม่ได้จดั การ
ควบคุมที่ดีพอ เป็ นตัวแปรที่เกิดขึ้นในระหว่างการวิจยั ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อไปยังตัว
แปรตามทาให้ผลการวิจยั ผิดพลาดไปได้ เช่น นักเรี ยนไปเรี ยนพิเศษเพิม่ เติม
ตัวอย่าง
โครงการวิจัย 1
“ ผลการใช้ชุดการสอนจริ ยธรรม กับความรับผิดชอบ
ของนักศึกษาชั้นปี ที่ 4 ”
ตัวแปรอิสระ :
ตัวแปรตาม :
ชุดการสอนจริ ยธรรม
ความรับผิดชอบ
ตัวอย่าง (ต่อ)
โครงการวิจัย 2
“ การเปรี ยบเทียบเจตคติต่ออิสลามศึกษาของนักศึกษาชายและ
นักเรี ยนหญิงที่มีระดับชั้นปี ต่างกัน”
ตัวแปรอิสระ
:เพศ ( ชาย , หญิง )
ระดับชั้นปี (ปี 1 ปี 2 ปี 3 ปี 4)
ตัวแปรตาม
:
เจตคติต่อวิชาอิสลามศึกษา
ตัวแปรเกิน
:
อายุของนักเรี ยน
ตัวอย่าง (ต่อ)
โครงการวิจัย 3
“ การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนวิชาอิสลามศึกษาของนักศึกษาชั้นปี ที่ 1
ที่เรี ยนโดยบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและเรี ยนแบบปกติ”
ตัวแปรอิสระ
:
รู ปแบบการเรี ยน
(คอมพิวเตอร์ช่วยสอนและแบบปกติ )
ตัวแปรตาม
:
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
ตัวแปรเกิน
:
อายุของนักเรี ยน , พื้นฐานความรู้เดิม
ของนักเรี ยน
ตัวแปรแทรกซ้อน
:
ความตั้งใจเรี ยน , นักเรี ยนเรี ยนพิเศษ
, เพิ่มเติมระหว่างวิจยั
รู ปแบบการวิจยั (แบบแผนการวิจยั , Research Design)
การวิจยั เชิงทดลอง

เชิงทดลองอย่างแท้จริ ง
 กึ่งทดลอง

การวิจยั เชิงทดลองและพัฒนา
การวิจย
ั สารวจ
การวิจย
ั หาความสัมพันธ์

การวิจยั เชิงทดลอง

การวิจยั เชิงทดลองนี้เป็ นการวิจยั ที่ประกอบด้วยลักษณะทีส่ าคัญ 2
ประการ คือ การจัดกลุ่มควบคุม ( Control group ) และการสุ่ ม
( Randomization ) การวิจยั เชิงทดลองมีรูปแบบการวิจยั ที่หลากหลาย
บางครั้งอาจแบ่งย่อยออกไปอีก เป็ นการวิจยั เชิงทดลองเบื้องต้น การ
วิจยั เชิงกึ่งทดลองและการวิจยั เชิงทดลองแท้จริ ง
รู ปแบบที่ 1 กลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง
ลักษณะ
รู ปแบบ
X
O1
ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวและมีการวัดผลการทดลอง 1 ครั้ง
X
O1
การทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ
การวัดผลหลังการทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ
การวิเคราะห์ผล ใช้วธิ ี การบรรยายข้อมูลจากการวัดผลหลังการทดลองเท่านั้น
จุดเด่น
ง่าย ไม่ซบั ซ้อน มีการวัดหลังการทดลองเพียงครั้งเดียวและใช้กลุ่ม
ทดลองเพียงกลุ่มเดียว
จุดด้อย
1. ไม่มีเกณฑ์เปรี ยบเทียบว่า ก่อนใช้นกั เรี ยนมีพ้นื ความรู ้อยูใ่ น
ระดับใด เนื่องจากวัดผลเพียงครั้งเดียว
2. ไม่มีกลุ่มเปรี ยบเทียบ ทาให้ไม่แน่ใจว่าหลังใช้นวัตกรรมแล้ว
นักเรี ยนจะมีคะแนนสู งกว่ากลุ่มที่เรี ยนโดยวิธีเดิมหรื อไม่
รู ปแบบที่ 2 กลุ่มทดลองกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง
ลักษณะ
ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวและมีการวัดผลการทดลอง 2 ครั้ง คือ ก่อนและหลังการ
ทดลอง
รู ปแบบ
O1
X
O1
O2
X
O2
การทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ
การวัดผลก่อนการทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ ( ครั้งที่ 1 )
การวัดผลหลังการทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ ( ครั้งที่ 2 )
การวิเคราะห์ผล เปรี ยบเทียบระหว่างการวัดผลก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้ t - test
จุดเด่น
มีความเที่ยงภายใน
จุดด้อย
1. ผลที่เกิดขึ้นกับตัวแปรตามอาจมาจากตัวแปรอิสระหรื อตัวแปรเกิดก็ได้
2. การวัดครั้งที่ 2 อาจได้รับผลกระทบมาจากการวัดครั้งแรกทาให้เกิดความ
คลาดเคลื่อนได้
รู ปแบบที่ 3 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแท้จริ งวัดผลหลังการทดลอง
ลักษณะ
รู ปแบบ
X
R
O2
การวิเคราะห์ผล
จุดเด่น
จุดด้อย
ใช้กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม มีลกั ษณะเท่าเทียมกัน ใช้เป็ นกลุม่ ทดลอง 1
กลุ่ม กลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม มีการวัดผลการทดลอง 1 ครั้ง เฉพาะหลังการ
ทดลองเท่านั้น
R
X
O2 .........................กลุ่มทดลอง
R
O2..........................กลุ่มควบคุม
การทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ
กลุ่มตัวอย่างที่มีลกั ษณะเท่าเทียมกัน
การวัดผลหลังการทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ
เปรี ยบเทียบระหว่างการวัดผลก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้ t – test (
สาหรับกรณี Independent group )
มีความเที่ยงภายในมาก ง่าย สะดวก
ทาได้ยากสาหรับโรงเรี ยนขนาดเล็กในการเลือกห้องเรี ยนที่มีลกั ษณะเท่า
เทียมกัน 2 ห้อง
รู ปแบบที่ 4 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแท้ จริงวัดผลก่ อนและหลังการทดลอง
ลักษณะ
ใช้กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ใช้เป็ นกลุม่ ทดลอง 1 กลุม่ กลุม่ ควบคุม 1 กลุ่ม มีการวัดผล
การทดลอง 2 ครั้ง คือ ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง
รู ปแบบ
R
R
O1
O2
X
-
O2 .........................กลุ่มทดลอง
O2..........................กลุ่มควบคุม
X
การทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ
R
กลุ่มตัวอย่างที่มีลกั ษณะเท่าเทียมกัน
O1
การวัดผลก่อนการทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ
O2
การวัดผลหลังการทดลองใช้นวัตกรรม / วิธีการ
การวิเคราะห์ผล
นาคะแนนเฉลี่ยของผลต่างก่อนและหลังการทดลองของแต่ละกลุ่มมาเปรี ยบเทียบกัน
โดยใช้สถิติ t – test
จุดเด่น
มีความเที่ยงภายในมาก ง่าย สะดวก
จุดด้อย
ทาได้ยากสาหรับโรงเรี ยนขนาดเล็ก ในการเลือกห้องเรี ยนที่มีกลุ่มทดลองและกลุ่ม
ควบคุม โดยเฉพาะถ้าทั้ง 2 ห้องมีความแตกต่างกันมาก ความเชื่อมัน่ จะมีค่าน้อยลง