วัตถุประสงค์ของการวิจัย - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Download Report

Transcript วัตถุประสงค์ของการวิจัย - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

การวิจัยเชิงปริมาณและสถิติ
วิเคราะห์ข้อมูลสาหรับการวิจัย
ผศ.ดร.เผ่าไทย วงศ์เหลา
สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ต่างแนวคิดต่างแนวทาง
ปฏิ ฐานนิยม
ปรากฏการณ์นิยม
ความรู้ความจริง ความรู้ความจริง
แยกเป็ นหนึ่งเดียวได้ ซึ่งเป็ นคุณลักษณะ
เชิงผสม
สามารถวัดได้
ต่างแนวคิดต่างแนวทาง
ปฏิ ฐานนิยม
ปรากฏการณ์นิยม
ผูว้ ิจัยกับ
ผูถ้ กู วิจัย
มีอิสระจากกัน
ผูว้ ิจัยกับ
ผูถ้ กู วิจัย
มีปฏิ สัมพันธ์ กัน
ต่างแนวคิดต่างแนวทาง
ปฏิ ฐานนิยม
ปรากฏการณ์นิยม
อาจศึกษา
ความสัมพันธ์
เชิงเหตุ-ผล
ได้อย่างชัดเจน
ปัจจัยต่างๆ
มีปฏิสัมพันธ์ ทับซ้อน
ระหว่างกันไม่อาจแยกเป็ น
“สาเหตุ”ใดสาเหตุหนึ่ง
ได้อย่างชัดเจน
ต่างแนวคิดต่างแนวทาง
ปฏิ ฐานนิยม
ปรากฏการณ์นิยม
มุ่งได้ข้อสรุป/
กฎเกณฑ์
ที่เป็ นนัยทั่วไป
มุ่งได้ข้อสรุป
เฉพาะกรณี
ต่างแนวคิดต่างแนวทาง
ปฏิ ฐานนิยม
ปรากฏการณ์นิยม
ปราศจากอคติ
ด้วยวิธีการที่เป็ น
ปรนัย เชื่อถือได้
มีค่านิยมเข้ามา
เกี่ยวข้องใน
กระบวนการวิจัย
ปฏิ ฐานนิยม
ปรากฎการนิยม
การวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยเชิงคุณภาพ
แบบการวิจัยเชิงบรรยาย
แบบการวิจัยเชิงทดลอง
แบบสารวจ (Survey design)
แบบสหสัมพันธ์
(Correlational design)
แบบเปรียบเทียบสาเหตุ
(Causal comparative design)
Pre-experiment
True experiment
Qusi-experiment
การวิจัยชาติพนั ธ์
การวิจัยเฉพาะกรณ
การวิจัยประเมินผล
จุดมุ่งหมายกับรูปแบบการวิจัย
จุดมุ่งหมาย
รูปแบบการวิจัย
แบบเชิงทดลอง
เพือ่ อธิ บายเชิงเหตุผล
โดยการควบคุม (To Control)
แบบเปรียบเทียบสาเหตุ
เพือ่ อธิ บาย/ทานาย
(To explain/predict)
แบบสหสัมพันธ์
เพือ่ บรรยาย/พรรณนา
(To Describe)
เพือ่ สารวจ
(To explore)
แบบสารวจ
ขั้นที่1 กาหนดหัวข้อการวิจัย
ขั้นที่2 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอน
การทา
วิจัย
ขั้นที่3 การนิยามปัญหา
ขั้นที่4 การออกแบบการวิจัย
ขั้นที่5 ดาเนินการวิจัย
ขั้นที่6 เขียนรายงานการวิจัย
ตัวแปร, ประชากร,
รูปแบบการวิจยั
ทฤษฏีเกีย่ วกับตัวแปร
ค าถามวิจั ย ,วัต ถุ ป ระสงค์ ,
ประโยชน์ ,ขอบเขตการวิจยั
กาหนดขนาดตัวอย่ าง,
เครื่องมือวิจยั , การเก็บข้ อมูล,
การวิเคราะห์ ข้อมูล
?
?
?
ทาไมนักศึกษามีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ?
?
?
?
?
?
กรอบการวิเคราะห์ปัญหาการวิจัย
ปัญหา
สาเหตุของปัญหา
แนวคิด/ทฤษฏี
หัวข้อการวิจัย
“เกิดจากข้อสงสัยของตัวผูว้ ิจัยเอง ?”
สิง่ ทีผ่ ู ว้ จิ ยั สนใจศึกษาหรือประเด็นต้องการค้นหาคาตอบ
กลุม่ ทีผ่ ู ว้ จิ ยั จะอธิบายหรือทาความ
เข้าใจ
สารวจ, เปรียบเทียบ, ทดลอง, สหสัมพันธ์
ความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ
ั ฑิตที่มีต่อ
การปฏิ บตั ิหน้าที่ของบุคลากรที่สาเร็จ
การศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานี ปี การศึกษา 2556
คุณภาพชีวิตของบุคลากรในสังกัด
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏ อุบลราชธานี ปี การศึกษา
2556
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับ
พฤติกรรมการเสพยาเสพย์ติด
ของเยาวชนในเขตอาเภอเมือง
จังหวัดอานาจเจริญ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วม
ทางการเมืองของประชาชนใน
จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาหนังสืออิ เลคทรอนิกส์ เรื่อง
ภาคตัดกรวย กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนเบ็ญจะ
มะมหาราช
ผลของรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพที่
มีต่อพฤติกรรมสุขภาพของผูป้ ่ วย
โรคเอดส์โรงพยาบาลสรรพสิทธิ
ประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
สภาพที่เป็ นปัญหา
แนวคิด และทฤษฎี
ผลการวิจัยของผูอ้ ่ื น
กลุ่มเป้าหมายและตัวแปรที่ศึกษา
การเขียนความเป็ นมาและสาคัญของปัญหา
กล่าวถึงความสาคัญของตัวแปร
สภาพปัญหาที่พบในกลุ่มประชากรเป้าหมาย
สาเหตุของปัญหา
วิธีแก้ปัญหาและรูปแบบที่ใช้ในการทาวิจัย
คาตอบประโยชน์จากการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจยั
ข้อความทีแ่ สดงให้เห็นถึงสิง่ ทีผ่ ู ว้ จิ ยั
ต้องการศึกษา
ตัวอย่างการเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ชื่ อ เรื่ อ ง การความพึง พอใจของผู ้ใ ช้ บั ณ ฑิ ต ที่ มี ต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง
บุ ค ลากรที่ ส าเร็ จ การศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ บ ลราชธานี ปี
การศึกษา 2556
พัฒนาหนังสื ออิเลคทรอนิกส์ เรื่ องภาคตัดกรวย กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
วัตช่ถุวปงชั
ระสงค์
จัยญจะมะมหาราช
โรงเรี ยนเบ็
้ นที่ 4ของการวิ
่ มี ต่ อ การปฏิ
เพืฒ่อนาหนั
ศึ ก ษาความพึ
ง พอใจของผู
บั ณ ฑิ ตดทีกรวย
บั ติ ห น้ า ที่ ยขนรู
อง้
การพั
ง สื อ อิ เ ลคทรอนิ
ก ส์ เรื่้ใอช้งภาคตั
กลุ่ ม สาระการเรี
บุคณิคตลากรที
ก ษาจากมหาวิ
ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ บ ลราชธานี ปี
ศาสตร์่ สช่วาเร็
งชั้จนการศึ
ที่ 4 โรงเรี
ยนเบ็ญจะมะมหาราช
การศึกษา 2556
คุณภาพชีวิตของบุคลากรในสังกัดคณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ปี การศึกษา 2556
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพือ่ ศึกษาคุณภาพชีวติ ของบุคลากลในสังกัดคณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ปี การศึกษา 2556
2. เพือ่ เปรียบเทียบคุณภาพชีวติ ของบุคลากรในสังกัดคณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ปี การศึกษา 2556 จาแนกตาม เพศ
ตาแหน่ง สถานภาพ และประสบการณ์
ปัจจัยทีม่ คี วามสัมพันธ์ กบั พฤติกรรมการเสพย์ยาเสพย์ตดิ
ของเยาวชนในเขตอาเภอเมือง จังหวัดอานาจเจริญ
1. เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการเสพยาเสพย์ติของเยาวชนในเขตอาเภอ
เมือง จังหวัดอานาจเจริญ
2. เพื่อศึ กษาความสั มพันธ์ ระหว่ าง ปัจจั ยส่วนบุคคล ทั กษะการใช้
ชี วิต สัมพันธภาพในครอบครัวและเจตคติ กั บพฤติ กรรมการเสพ
ยาเสพย์ติดของเยาวชนในเขตอาเภอเมือง จังหวัดอานาจเจริญ
ชื่อเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ
ประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพือ่ ศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในจังหวัด
อุบลราชธานี
2. เพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เรือ่ ง
ประชาธิปไตย และแรงสนับสนุนทางสังคม กับการมีส่วนร่วมทางการเมือง
ของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี
3. เพือ่ ศึกษาอิทธิพลของ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เรือ่ งประชาธิปไตย และ
แรงสนับสนุนทางสังคมต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนใน
จังหวัดอุบลราชธานี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาหนังสืออิเลคทรอนิกส์ เรือ่ ง ภาคตัดกรวย ชัน้
มัธยมศึกษาปี ท ี่ 4 โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพือ่ พัฒนาหนังสืออิเลคทรอนิกส์ เรือ่ ง ภาคตัดกรวย ชัน้
มัธยมศึกษาปี ท ี่ 4 ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพือ่ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน
โดยใช้หนังสืออิเลคทรอนิกส์ เรือ่ ง ภาคตัดกรวย ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท ี่ 4
ชื่อเรื่อง ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพทีม่ ตี ่อพฤติกรรมสุขภาพ
ของผู ป้ ่ วยโรคเอดส์ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพือ่ เปรียบเทียบความต่อเนือ่ งในการรับประทานยาระหว่างผู ป้ ่ วยโรค
เอดส์ทไี่ ด้รบั โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพกับผู ป้ ่ วยโรคเอดส์ทไี่ ม่ได้รบั โปรแกรม
ส่งเสริมสุขภาพ
2. เพือ่ เปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพของผู ป้ ่ วยโรคเอดส์ระหว่างผู ป้ ่ วยที่
ได้รบั โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพกับผู ป้ ่ วยทีไ่ ม่ได้รบั โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ
เนื้อหาของวัตถุประสงค์ของการวิจัย
เนื้อหาเชิงบรรยาย
เนื้อหาเชิงเปรียบเทียบ
เนื้อหาเชิงความสัมพันธ์
การวิจัยครั้งนี้จะได้ข้อค้นพบใหม่อะไรบ้าง
ผลการวิจัยนาไปใช้แก้ปัญหา
รูปแบบและการวิจัยสามารถนาไปเป็ นตัวอย่างและ
แนวทางในการศึกษาค้นคว้าวิจัยต่อไป
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ตัวแปรที่ศึกษา โดยระบุทั้งตัวแปรตาม และตัวแปรอิ สระ
เนื้อหาในการวิจัย
ระยะเวลา
นิยามปฏิ บัติการ (Operational Definition)
คื อ การให้ ค วามหมายตั ว แปรที่ ส าคั ญ โดย
เฉพาะตั วแปรตามที่ ต้องการศึ กษา หรือตั วแปร
อิ สระที่ มีลักษณะเป็ นนามธรรม ซึ่ งจะต้ องนิ ยามให้
เป็ นคุ ณ ลั ก ษณะพฤติ ก รรม หรื อ กิ จ กรรมที่ จ ะ
ศึ ก ษา ให้ อ ยู่ ใ นรู ป ที่ วั ด ได้ สั ง เกตได้ ซ่ึ ง จะเป็ น
ประโยชน์ ต่ อ การสร้ า งเครื่ อ งมื อ วิ จั ย ให้ มี ค วาม
เที่ยงตรง
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ลักษณะที่ 1
เขียนบรรยายเชื่อมโยงระหว่างแนวคิด
ทฤษฏี หลัก และประเด็นงานวิจัย
ลักษณะที่ 2
เป็ นแผนภาพแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรอิ สระและตัวแปรตาม
สัมพันธภาพ
ภายในครอบครัว (X1)
การสนับสนุนทางวิชาการ
จากผูป้ กครอง (X2)
คุณภาพการสอน
ของครู (X3)
นิสัยการเรียน (X4)
แรงจูงใจภายใน (X5)
ความสามารถในการคิด
อย่างมีวิจารณญาณ (Y)
ความเชื่ออานาจ
ภายในตน (X6)
กรอบแนวคิดการวิจัยรูปแบบความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุ (Causal Model)
ตัวแปรอิ สระ
ตัวแปรตาม
ปัจจัยส่วนบุคคล
- เพศ
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน
- ตาแหน่ง
- สถานภาพ
- ประสบการณ์
กรอบแนวคิดในการวิจัยสาหรับงานวิจัยแบบสารวจ
ปัจจัยส่วนบุคคล
ความรู้เกี่ยวกับประชาธิ ปไตย
แรงสนับสนุนทางสังคม
การมีส่วนร่วม
ทางการเมือง
ทัศนคติต่อการเมือง
การรับทราบข้อมูลข่าวสาร
กรอบแนวคิดในการวิจัยสาหรับงานวิจัยแบบความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุที่ใช้สถิติการ
วิเคราะห์การถดถอยพหุคณ
ู
สมมติฐานของการวิจัย
สมมติฐาน
การวิจัยแบบ
มีทิศทาง
แบบไม่มี
ทิศทาง
1. การวิจัยเชิงเปรียบเทียบ จะใช้คาว่า “มากกว่า” “น้อย
กว่า” สูงกว่า” หรือ “ต่ากว่า”
2. การวิจัยเชิงความสัมพันธ์ จะใช้คาว่า “สัมพันธ์ กัน
ทางบวก” หรือ “สัมพันธ์ กันทางลบ”
แตกต่างกัน”
การวิจัยเชิงความสัมพันธ์ จะใช้คาว่า “สัมพันธ์ กัน”
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบ จะใช้คาว่า “
ความหมายของตัวแปร หรือประเด็นที่สาคัญของเรื่องที่จะวิจัย
สถานการณ์ที่เป็ นปัญหาและเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทาวิจัย
ปัจจัยหรือตัวแปรที่มีผลต่อตัวแปรตามหรือปัญหาการวิจัย
แนวคิด และทฤษฎี ท่ีเกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ความเที่ยงตรงของการวิจัย
ความ
เที่ยงตรง
ภายใน
ความ
เที่ยงตรง
ภายนอก
1. วัดได้ตรงตามจุดประสงค์
2. ข้อสรุปผลการวิจัยตรงตามที่ควรจะเป็ น
1. ความเที่ยงตรงเชิงประชากร
2. ความเที่ยงตรงเชิงสภาพการณ์
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
(การวางแผนการทดลอง)
การวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
กลุ่มตัวอย่ าง
การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ( Simple random sampling )
การสุ่มแบบมีระบบ(Systematic sampling)
การสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling)
การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling)
การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling)
เครื่องมือการวิจัย
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการทาวิจยั
เครือ่ งมือเก็บรวบรวมข้อมูล
จะเขียนรายงานเฉพาะการวิจัยเชิงทดลอง
ที่ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือ
ชุดฝึ กทักษะต่างๆ บทเรียนสาเร็จรูป
โปรแกรมการสอน หรือนวัตกรรมต่างๆ
ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์
แบบสังเกต แบบทดสอบ และ
มาตรวัดเจตคติ
ศึกษาแนวคิด/ทฤษฎี
ออกแบบเครื่องมือ
สร้างเครื่องมือ
หาคุณภาพ ด้านความเทีย่ งตรงโดยผู เ้ ชีย่ วชาญ
ปรับปรุง
ทดลองใช้ เพือ่ หาประสิ ทธิภาพ
ศึกษาแนวคิด/ทฤษฎี
กาหนดโครงสร้างของเครื่องมือ
สร้างเครื่องมือ
หาคุณภาพ ด้านความเทีย่ งตรงโดยผู เ้ ชีย่ วชาญ
ปรับปรุง
หาคุณภาพ r p α
รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองแบบ Pre experiment
1. One Shot Case Study
X
O
2. One Group Pretest-Posttest Design
O1 X
O2
รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองแบบ Pre experiment
3. Static Group Comparison Design
X
O1
O2
แบบการวิจัยเชิงทดลองแบบ
True experiment
1. Pretest-Posttest Control Group Design
R
R
O1
O3
X
O2
O4
2. Posttest-Only Control Group Design
R
R
X
O1
O2
แบบการวิจัยเชิงทดลองแบบ
Quasi experiment
1. Nonequivalent Control Group Design
O1
X
O3
O2
O4
2. Time Series Design
O1
O2 O3 O4
X
O5 O6 O7 O8
การวิเคราะห์ข้อมูล
ประการที่ 1 ผู ว้ จิ ยั ต้องทาความเข้าใจในงานวิจยั ของตนเองให้เห็นภาพชัดเจน
ก่อนว่ามีวตั ถุประสงค์ของการวิจยั อย่างไร
1.1 เพือ่ สารวจหรือเพือ่ ศึกษาตัวแปรตามอย่างน้อย หนึง่ ตัว
1.2 เพือ่ เปรียบเทียบตัวแปรตาม จาแนกตามตัวแปรอิสระ
1.3 เพือ่ อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร 2 ตัว
หรือระหว่างตัวแปรมากกว่า 2 ตัว
1.4 เพือ่ หาอิทธิพลของตัวแปรอิสระหลายตัวทีส่ ่งผลต่อตัวแปรตาม 1 ตัว
1.5 เพือ่ พัฒนาหรือสร้างเครือ่ งมือ หรือ นวัตกรรม
การวิเคราะห์ข้อมูล
ประการที่ 2 ผู ว้ จิ ยั จะต้องเลือกวิธกี ารทางสถิตใิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล
เพือ่ ตอบวัตถุประสงค์ของการวิจยั ซึง่ ข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมา
จะต้องมีลกั ษณะสอดคล้องกับสถิตทิ จี่ ะใช้วเิ คราะห์ ดังนี้
2.1 เพือ่ สารวจหรือเพือ่ ศึกษาตัวแปรตามอย่างน้อยหนึง่ ตัว
สถิตทิ ใี่ ช้วเิ คราะห์คอื สถิตพิ น้ ื ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลีย่ ควบคู่กบั
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ซึง่ ข้อมูลต้องเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ
ความถีร่ ้อยละ ซึง่ ข้อมูลต้องเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.2 เพือ่ เปรียบเทียบตัวแปรตาม จาแนกตามตัวแปรอิสระ
ถ้าตัวแปรอิสระแบ่งเป็ น 2 กลุม่ อิสระกัน สถิตทิ ใี่ ช้วเิ คราะห์ขอ้ มูลคือ
t-test for independent sample แต่ถา้ ตัวแปรอิสระแบ่งเป็ น 2
กลุม่ ไม่อสิ ระกัน สถิตทิ ใี่ ช้วเิ คราะห์ขอ้ มูล คือ t-test for dependent
sample กรณีทตี่ วั แปรอิสระแบ่งออกได้มากกว่า 2 กลุม่
สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ One-Way Analysis of
Variance โดยข้อมูลทีเ่ ก็บรวมรวมมาของตัวแปรตาม
ต้องเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ
2.3 เพือ่ อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร 2 ตัว สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
คือ สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สนั (Pearson correlation) โดยข้อมูลจาก
ทัง้ สองตัวแปรต้องเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ อีกทางเลือกหนึง่ คือ การทดสอบ
ไคสแควร์ ซึง่ ข้อมูลจากตัวแปรทัง้ สองต้องเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ
2.4 เพือ่ หาอิทธิพลของตัวแปรอิสระหลายตัวทีส่ ่งผลต่อตัวแปรตาม 1 ตัว
สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
(Multiple Regression) ซึง่ ข้อมูลจากตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ต้องเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ
2.5 เพือ่ พัฒนาหรือสร้างเครื่องมือหรือ นวัตกรรม
สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของนวัตกรรม คือ
ดัชนีความสอดคล้อง เกณฑ์ประสิทธิ ภาพของนวัตกรรม
และดัชนีประสิทธิ ผล
ระดับการวัดข้อมูล
•
•
•
•
มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)
มาตราเรียงลาดับ (Ordinal Scale)
มาตราอั นตรภาค (Interval Scale)
มาตราอั ตราส่วน (Ratio Scale)
1. สถิติพ้นื ฐาน
ร้อยละ
f
P   100 %
n
ค่าเฉลี่ย
n
X 
X
 i
i 1
n
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

X

n
SD 
i 1
 X
2
i
n 1
2. สถิติท่ีใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างสองกลุ่มที่เป็ นอิ สระกัน
คือการทดสอบ t (t-test) มี 2 กรณี คือ กรณีที่ 1 เมื่อข้อตกลง
ความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่มเท่ากัน   
2
1
T
X1  X 2
n1  1S12  n2  1S 22  1
n1  n2  2
1 
 n  n 
2 
 1
2
2
; df  n1  n2  2
กรณีที่ 2 เมื่อข้อตกลง ความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่ม
ไม่เท่ากัน   
2
1
2
2
S
S 



 n1 n2 
2
1
T
X1  X 2
2
1
2
2
S
S

n1 n2
; df 
2
2
2
2
2
S 
S 
 
 
 n1    n2 
n1  1
n2  1
2
1
2
2
3. สถิตทิ ใี่ ช้เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ ระหว่างสองกลุม่ ทีไ่ ม่เป็ นอิสระกัน คือ
การทดสอบ t (t-test)
n
D
T
i 1
i


n D    Di 
i 1
 i 1 
nn  1
n
n
2
i
2
; df  n  1
4. สถิตทิ ใี่ ช้เปรียบเทียบค่าเฉลีย่ มากกว่าสองกลุม่ ขึน้ ไปคือ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ( One-Way ANOVA)
หรือ F-test
MSB
F
MSE
5. สถิตทิ ใี่ ช้อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรสองตัว มีสองกรณี คือ
กรณีท่ี 1 สหสัมพันธ์ แบบเพียร์ สนั (Pearson correlation)
สาหรับอธิบายความสัมพันธ์ ของตัวแปรสองตัว
เมือ่ ข้อมูลจากตัวแปรทัง้ สองเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ
r
n
n
n
i 1
i 1
i 1
n X i Yi   X i  Yi
2
2
n
n
 n 2  n




 
2
n X i    X i   n Yi    Yi  
 i 1    i 1
 i 1  
 i 1
กรณีที่ 2 การทดสอบไคสแควร์ (Chi-square test)
ใช้ทดสอบความสัมพันธ์ ของตัวแปรเชิงคุณภาพ 2 ตัว
c
r
  
2
j 1 i 1
O
 Eij 
2
ij
Eij
6. สถิตทิ ใี่ ช้ในการทดสอบเกีย่ วอิทธิพลของตัวแปรอิสระหลายตัว
ทีม่ ตี ่อตัวแปรตามหนึง่ ตัว คือการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
( Multiple Regression Analysis)
MSR
F
MSE
รูปแบบของสมการการถดถอย คือ
Y   0  1 X 1   2 X 2     k X k  
7. สถิติท่ีใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือหรือนวัตกรรม
สถิติที่ใช้ตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรมเบื้องต้น คือ
IOC 
R

N
ประสิทธิภาพของนวัตกรรม
 n
  Xi
 i 1
 n


E1 
A





  100
หรือ
X
E1   100
A
 n
  Yi
 i 1
 n


E2 
B





  100
หรือ
Y
E 2  100
B
ดัชนีประสิทธิผลของเครือ่ งมือ หรือนวัตกรรม
ดัชนีประสิทธิ ผล = คะแนนสอบเฉลี่ยหลังเรียน - คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
คะแนนเต็มหลังเรียน - คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
ผลการวิจัย
1. ส่วนที่เป็ นข้อมูล หรือผลการวิเคราะห์ข้อมูล
2. ส่วนที่เป็ นการแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตัวอย่าง
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของนักเรียนจาแนกตามเพศ
เพศ
จานวน
ร้อยละ
ชาย
หญิง
รวม
120
80
200
60.00
40.00
100.00
จากตารางที่ 1 แสดงว่า นักเรียนส่วนใหญ่เป็ นชาย คิดเป็ นร้อยละ 60
ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของนักเรียนทีเ่ ป็ นกลุม่ ตัวอย่าง
จาแนกตามอาชีพหลักของครอบครัว
อาชีพ
ค้าขาย
รับราชการ
เกษตร
อื่ นๆ
รวม
จานวน
ร้อยละ
156
118
100
82
34.2
25.9
21.9
18.0
456
100.0
ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของนักเรียนในกลุม่ ตัวอย่างทีม่ คี วามรู้เกีย่ วกับ
โรคเอดส์
ความรู้เกี่ยวกับโรค
เอดส์
1. ……………
2. ……………
.
.
.
20. ….................
จานวน
ร้อยละ
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
…………………….
ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของนักเรียนในกลุ่มตัวอย่ าง
จาแนกตามระดับความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์
ระดับความรู้
ดีมาก ( ตัง้ แต่ 18 คะแนนขึน้ ไป)
ดี
(16-17 คะแนน)
ปานกลาง (14-15 คะแนน)
ต่า
(12-13 คะแนน)
ต่ามาก (น้อยกว่า 11 คะแนน)
จานวน
11
223
274
133
8
ร้อยละ
1.7
34.4
42.2
20.5
1.2
รวม
649
100
ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของการมี
ส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนใน
จังหวัดอุบลราชธานี
ประเด็น
1………………
2………………
3………………
4………………
5………………
.
.
12……………
รวม
X
SD.
ความหมาย
3.45
3.55
3.67
3.24
375
.123
.234
.112
.412
.321
ปานกลาง
มาก
มาก
ปานกลาง
มาก
3.54
.244
มาก
ตารางที่ 6 จานวนและร้อยละของประชาชนจาแนกตามระดับการมีส่วนร่วม
ทางการเมือง
ระดับการมีส่วนร่วม
มาก
ปานกลาง
น้อย
ช่วงคะแนน
มากกว่า 37 คะแนน
35-37
น้อยกว่า 35 คะแนน
รวม
จานวน
125
64
11
200
ร้อยละ
62.5
32.5
5.5
100
ตารางที่ 7 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียน
กับหลังเรียน
การสอบ
ต่าสุด
สูงสุด
X
D
SDd
t
p
ก่อนเรียน
หลังเรียน
5
8
18
20
10
15
5
1.2
3.52
.01
ตารางที่ 8 การเปรียบเทียบเจตคติของนักเรียนต่อโรคเอดส์
ระหว่างนักเรียนชายกับนักเรียนหญิง
เพศ
ชาย
หญิง
จานวน
473
1,662
X
S .D.
t
p
77.81
78.78
7.88
7.18
5.41
0.016
ตารางที่ 9 การเปรียบเทียบเจตคติของนักเรียนที่มตี ่อโรคเอดส์
ระหว่างนักเรียนที่อยู่ระดับชั้นต่างกัน
แหล่งความแปรปรวน
df
SS
MS
F
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม
3
104
140.58
1,640.41
46.86
15.77
2.97
รวม
107
1,780.99
p
0.035
ตารางที่ 10 การเปรียบเทียบเจตคติของนักเรียนที่มีต่อโรคเอดส์
ระหว่างนักเรียนในแต่ละระดับชั้นเป็ นรายคู่
ระดับชั้น
X 
ม. 3
ม. 4
ม. 5
ม. 6
(48.73)
(49.17)
(50.33)
(52.05)
ม. 3
(48.73)
ม. 4
(49.17)
ม. 5
(50.33)
ม. 6
(52.05)
0.44
1.66
3.31*
1.16
2.88*
1.72
-
ตารางที่ 11 จานวนและร้อยของนักเรียนจาแนกตามเพศ กับระดับเจตคติต่อโรคเอดส์
ระดับเจตคติ
เจตคติด ี
เจตคติไม่ด ี
รวม
เพศ
ชาย
148(59.2%)
102(40.8%)
250(100%)
หญิง
52(34.7%)
98(65.3%)
150(100%)
2
p
22.57
.000
ตารางที่ 12 สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ ระหว่างอายุ คะแนนเฉลี่ยสะสม
และคะแนนความรู้เชิง เหตุผล กับคะแนนความเชื่อหมอดูของ
นักศึกษา
ตัวแปร
อายุ
X
อายุ
คะแนนเฉลี่ย
สะสม
ความรู้เชิง
เหตุผล
36.16
2.88
5.12
30.77
S .D.
8.05
0.52
1.61
5.25
-
คะแนน ความรู้ ความเชื่อ
เฉลี่ย
เชิง
หมอดู
สะสม เหตุผล
-.196** -.39*** 0.206**
.190*
-0.788**
-0.226**
-
ตารางที่ 13 สัมประสิทธิ์ การถดถอยของปัจจัยบางประการ
ที่มผ
ี ลต่อความเชื่อด้านสุขภาพของผูป้ ่ วย
ตัวแปรอิ สระ
R
เจตคติต่อโรค
ความรู้
อายุ
อาชีพเกษตร
การศึกษาประถม
ค่าคงที่
2
0.21
0.26
0.28
0.31
0.33
R เพิม่
สัมประสิทธิ์ การถดถอย
2
0.21
0.05
0.02
0.03
0.02
B
0.33
0.05
-0.09
-1.83
-1.86
26.56
Beta
0.27
0.22
-0.21
-0.21
-0.20
t
ลาดับ
ความสาคัญ
4.44
3.53
3.52
3.37
3.27
10.29
1
2
3
3
4
ตารางที่ 14 ประสิทธิ ภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ ของ
สื่อประสมในการจัดการเรียนการสอน
กระบวนการ
ผลลัพธ์
จานวน
คะแนนเต็ม
คะแนนรวม
X
ค่ าเฉลีย่ ร้ อยละ
จานวน
คะแนนเต็ม
คะแนนรวม
X
ค่ าเฉลีย่ ร้ อยละ
23
200
3,698
160.78
80.39
23
30
556
24.739
82.463
สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย
1. การเขียนรายงานสรุปการทาวิจัย
2. การเขียนสรุปผลการวิจัย
3. การเขียนอภิปรายผลการวิจัย
4. การเขียนข้อเสนอแนะ