06class3-4 13092557

Download Report

Transcript 06class3-4 13092557

Class 3-4
เรือ
่ งที่ ๒
ว่าด ้วย กฎหมายอาญาสารบัญญัต ิ
และทฤษฤีรองรับ (Substantive Criminal Law and
its making )
ั ้ เรียนที่ ๓ ทฤษฎีอาญา Criminal
ชน
theories
ั ้ เรียนที่ ๔ ทฤษฎีโทษ
ชน
Punishment theories
คานา
• การนิตบ
ิ ัญญัตท
ิ างอาญานัน
้ แบ่งออกได ้เป็ น
สองสว่ นด ้วยกัน สว่ นแรกเป็ นสว่ นของสาร
บัญญัต ิ ซงึ่ เป็ นเรือ
่ งของการให ้คานิยามแก่
พฤติกรรมทีต
่ ้องห ้าม พร ้อมกันนัน
้ ก็จะกาหนด
่ การลงโทษ หรือ
ผลลัพธ์ของพฤติกรรม เชน
มาตรการอืน
่ ใดทีเ่ หมาะสม อันถือกันว่าเป็ น
สภาพบังคับ สว่ นทีส
่ องเป็ นสว่ นของวิธก
ี าร ที่
เรียกกันว่า วิธส
ี บัญญัต ิ
เรือ
่ งทีค
่ วรพิจารณา
• เหตุไร จึงมีความผิดอาญา
– ในครัง้ แรกเริม
่ คือการกาหนด การชดเชยความ
ี หาย เชน
่ กฎหมายของฮม
ั มูราบี
เสย
– ต่อมาเป็ นการกาหนดผลของการกระทาความผิด
ทางศาสนา โดยศาลของศาสนา
• วิวัฒนาการของความผิดอาญา
– การจัดประเภทของความผิด
Chauvet Cave Art
The Chauvet cave paintings in southeastern France are some of the oldest and most spectacular examples of Ice Age art ever found. The red and black
drawings and engravings depict a wide range of animals, from the more common horses and bison to the rarer lions and rhinoceroses. The paintings have
been dated to 32,000 years ago.
การยุตข
ิ ้อพิพาทอย่างเป็ น
กระบวนการ
ั ดิสท
ิ ธิ์
• ผู ้ทีไ่ ด ้รับมอบหมายจากสงิ่ ศก
ี
• องค์ประชุมของผู ้ทีม
่ ี และ ไม่มส
ี ว่ นได ้เสย
• ผู ้ทีเ่ ดือดร ้อนและมาขอทีพ
่ งึ่ ต ้องยอมรับความ
ั ดิส
ิ ธิข
ศก
์ ท
์ องคาสงั่
Stele of Hammurabi
The Code of Hammurabi is engraved on the
black basalt of this stele, which is 2.25 m (7 ft 5
in) high and was made in the first half of the
18th century bc. The top portion, shown here,
depicts Hammurabi with Shamash, the sun god.
Shamash is presenting to Hammurabi a staff
and ring, which symbolize the power to
administer the law. Prior to Hammurabi’s reign
(1792-1750 bc), Babylon was just one of several
competing kingdoms in Mesopotamia.
Hammurabi, with the help of his impressive
Babylonian army, conquered his rivals and
established a unified Mesopotamia. He proved to
be as great an administrator as he was a
general.
ั มูราบี กับความยุตธิ รรม
ฮม
• พระเจ ้ามอบหมายให ้กษั ตริย ์ นาความยุตธิ รรม
่ ผ่นดิน ทาลายล ้างคนชวั่ และคนพาล
มาสูแ
• แผ่นดินต ้องได ้รับการดูแลปกป้ อง โดย
ผู ้ปกครองทีด
่ ี และมั่นคง
ั มูราบีถก
• คาบัญชาของฮม
ู จารึกไว ้ เพือ
่ ปกป้ องผู ้
อ่อนแอจากการข่มแหงรังแกของผู ้ทีแ
่ ข็งแรง
กว่า
Justice for all as equal
รัฐย่อมให ้ความเป็ นธรรมอย่างเสมอภาค
• The code is particularly humane for the time in which it
was promulgated; it attests to the law and justice of
Hammurabi's rule. It ends with an epilogue glorifying the
mighty works of peace executed by Hammurabi and
explicitly states that he had been called by the gods “to
cause justice to prevail in the land, to destroy the wicked
and the evil.” He describes the laws in his compilation as
enabling “the land to enjoy stable government and good
rule,” and he states that he had inscribed his words on a
pillar in order “that the strong may not oppress the weak,
that justice may be dealt the orphan and the widow.”
ผู ้ทีถ
่ ก
ู ยา่ ยี จะได ้รับการเยียวยา หากมี
เหตุอน
ั คูค
่ วรต่อการรับการร ้องเรียน และ
การร ้องเรียนนัน
้ ต ้องเป็ นไปตามคาที
ปรากฎในจารึก
• Hammurabi counsels the downtrodden in
these ringing words: “Let any oppressed man
who has a cause come into the presence of
my statue as king of justice, and have the
inscription on my stele read out, and hear my
precious words, that my stele may make the
case clear to him; may he understand his
cause, and may his heart be set at ease!”
เงือ
่ นไขแห่งความยุตธิ รรม
•
•
•
•
•
•
any oppressed man who has a cause (เหตุแห่งความ
เดือดร ้อน)
come into the presence of my statue as king of justice,
and
have the inscription on my stele read out, and hear my
precious words, ให ้อ่านคาแห่งจารึกทีต
่ รงกับคดีความ
that my stele may make the case clear to him;ให ้ผู ้
เดือดร ้อนเข ้าใจเรือ
่ งราวและเหตุ แห่งความเดือดร ้อน และให ้ยุต ิ
ความเดือดร ้อนด ้วยจิตใจของผู ้นัเ้ อง
may he understand his cause, and
may his heart be set at ease
การจัดประเภทความผิด วิวัฒนาการ
ในระยะหลัง
•
•
•
•
•
โรมัน
แองโกล อเมริกน
ั
ิ ดู พราหมณ์
ฮน
ยูเดอิก
อิสลาม
Crime, Delit & Contravention
• Three classifications of criminal offense that are central to the
administration of justice in many Roman- and civil-law countries.
• Crimes in French law are the most serious offenses, punishable by
death or prolonged imprisonment.
• A délit is any offense punishable by a short prison sentence, usually
from one to five years, or a fine.
• Contraventions are minor offenses.
• Civil-law countries traditionally have used all three categories,
corresponding to three types of tribunals: police courts (tribunaux de
police), which determine guilt in cases of minor penalties; courts of
correction (tribunaux correctionnels), requiring judges but no jury,
which try all other cases not involving serious bodily harm; and full
courts with a jury in other crimes.
ในศตวรรษที่ ๑๙ การแบ่งแยกลดลง
เหลือเพียงสองระดับ
• Sweden, Denmark, The Netherlands, Portugal,
Italy, Brazil, Norway, Venezuela, and Colombia.
• Délit was generally defined as an infraction
inspired by a criminal intent and infringing
directly on the rights of individuals and groups,
thus including offenses that had previously been
designated crimes.
• Contravention came to mean any act committed
without criminal intent but forbidden by law.
Felony & Misdemeanour
Indictable & Summarily
•
•
•
•
Anglo-American law, classification of criminal offenses according to the
seriousness of the crime.
U.S. jurisdictions generally distinguish between felonies and misdemeanours.
A class of minor offenses that may be described as petty offenses or quasicrimes is also recognized. These last offenses are created by local
ordinance, and the requirement of trial by jury does not apply.
In U.S. law, the classification of a crime as a felony or misdemeanour is
ordinarily determined by the penalties attached to the offense. A felony is
typically defined as a crime punishable by a term of imprisonment of not less
than one year. Misdemeanours are often defined as offenses punishable only
by fines or by short terms of imprisonment in local jails. A consequence of
commission or conviction of a felony rather than a misdemeanour is that the
offender may lose some of his civil rights.
Crimes in England are classified into indictable offenses (which may be tried
by a jury) and summary offenses (which may be tried summarily without
juries). Indictable offenses are further divided into treasons, other felonies,
and misdemeanours. The law of England has employed no consistent
principle to determine the classification of an offense as a felony. In some
instances, crimes classified as misdemeanours involve greater social peril
than many statutory felonies, and penalties for misdemeanours may exceed
those for felonies.
ทฤษฏีอาชญาศาสตร์ทรี่ องรับ กฎหมาย
อาญาสารบัญญัต ิ
• ทฤษฎี ทีว่ า่ ด ้วย การกาหนดความผิด สาระ
บัญญัต ิ
ทฤษฎี ทีว่ า่ ด ้วย การกาหนด
ความผิด สาระบัญญัต ิ
เหตุไร จึงมีความผิดอาญา
• ดูเรือ
่ งประวัตศ
ิ าสตร์ ของอาชญาศาสตร์
วิวัฒนาการของความผิดอาญา
• จะกล่าวถึงในเรือ
่ งของ นวัตกรรมทางอาญาด ้วย
ทฤษฎี ทีว่ า่ ด ้วย การกาหนดความผิด
้
สาระบัญญัตค
ิ ำถำมพืนฐำนของกำรนิ
ติ
บัญญัตท
ิ ำงอำญำ
่
• พฤติกรรมชนิ ดใดทีสมควรถู
กควบคุมโดยกฎหมำย
อำญำ
่
– ทฤษฎีวต
ั ถุประสงค ์โดยทัวไปของกำรนิ
ตบ
ิ ญ
ั ญัตท
ิ ำง
อำญำ
– ทฤษฎีวำ่ ด ้วยกำรกำหนดปริมณฑลของกฎหมำยอำญำ
่
ทฤษฎีวต
ั ถุประสงค ์โดยทัวไป
•
•
•
คุ ้มครองป้ องกันซงึ่ ตัวบุคคล (และใน
ั ว์ด ้วย) จากการกระทา
บางครัง้ คุ ้มครองสต
โดยเจตนา อันเป็ นการโหดเหีย
้ ม ทารุณ
หรือการประกอบกรรมทางเพศ ด ้วยวิธก
ี าร
อันไม่พงึ ประสงค์ตา่ งๆ
คุ ้มครองป้ องกันบุคคล จากภัยบางประการ
อันเกิดจากการกระทาโดยไม่เจตนา
่ ภัยบนท ้องถนน ภัยจากยาพิษ
(ตัวอย่างเชน
หรือโรคระบาด เป็ นต ้น)
ั จูง
คุ ้มครองป้ องกัน กลุม
่ บุคคลทีอ
่ าจถูกชก
ต่อ
ิ ในสงั คมนั น
• คุ ้มครอง ป้ องกันสภาวะจิตใจของสมาชก
้ ๆ
ให ้รอดพ ้นจากความกระทบกระเทือนจากการกระทาที่
ถึงแม ้ว่าจะเป็ นเรือ
่ งสว่ นตัวของบุคคลทีเ่ ป็ นผู ้ใหญ่แล ้ว
และยินยอมต่อการกระทานัน
้ แล ้ว แต่ถอ
ื ว่าผิดธรรมชาติ
่ การร่วมประเวณีระหว่างพีน
(เชน
่ ้องท ้องเดียวกัน และ
ั พันธ์ทางเพศอันผิดปกติ)
ความสม
• ป้ องกันการกระทาบางประเภท ซงึ่ เมือ
่ ได ้กระทาขึน
้
ท่ามกลางสาธารณะชนแล ้ว จะกระทบกระเทือนจิตใจ
่ การเผยแพร่วัตถุลามก คา
บุคคลอืน
่ เป็ นอย่างมาก (เชน
กล่าวผรุสวาท และอืน
่ ๆ) รวมทัง้ ป้ องกันพฤติกรรมบาง
ประเภท อันอาจยั่วยุให ้เกิดความไม่สงบขึน
้ ในหมู่
ประชาชน
ต่อ
ิ สว่ นบุคคลจากการลัก
• คุ ้มครองป้ องกันซงึ่ ทรัพย์สน
ี ทรัพย์ และ กรณี
ขโมย การฉ ้อโกง หรือการทาให ้เสย
อืน
่ ๆ
• คุ ้มครองป้ องกันสาธารณชนจากความไม่สะดวกสบาย
่ การกีดขวางทางสญ
ั จร ปิ ดกัน
ต่างๆ (เชน
้ ทาง
้
สาธารณะ) รวมทัง้ ใชสภาพบั
งคับทางอาญาเพือ
่ เก็บ
่ ห ้ามมีรถยนต์ หรือทรัพย์สน
ิ
รวบรวมภาษี อากร (เชน
บางอย่างไว ้ในครอบครองโดยไม่มท
ี ะเบียน)
่
• เพือ
่ ป้ องกันรักษาไว ้ซงึ่ สถาบันทางสงั คม (เชน
พระมหากษั ตริย ์ ศาสนา ครอบครัว) รวมทัง้ เพือ
่ บังคับ
่ ไม่สง่ เด็กไป
ให ้เกิดความเมตตากรุณาทีจ
่ าเป็ น (เชน
โรงเรียนเมือ
่ อยูใ่ นวัยบังคับเรียน ไม่ชว่ ยเหลือผู ้ทีอ
่ ยูใ่ น
ภยันตราย)
• เพือ
่ บังคับใชวิ้ ธก
ี ารต่างๆ ทีจ
่ ะทาให ้วัตถุประสงค์
•
•
•
•
ทฤษฎีวำ่ ด ้วยกำรกำหนดปริมณฑล
ของกฎหมำยอำญำสำระบัญญัตต
ิ ำม
ทฤษฎีอำญำ
หลักเกณฑ ์ว่ำด ้วยกำรจำกัด
หลักเกณฑ ์ว่ำด ้วยควำมเป็ นไปได ้ในทำงปฏิบตั ิ
หลักเกณฑ ์แบบปฏิฐำน
หลักเกณฑ ์แบบผสมผสำน
หลักเกณฑ ์ว่ำด ้วยกำรจำกัด
่ ้อห ้ำม ทีมี
่ จด
ุ ประสงค ์
• กฎหมำยอำญำนั้นไม่ควรรวมเอำไว ้ซึงข
่ ้บุคคลเชือฟั
่ ง และผลของกำรไม่เชือฟั
่ งก็คอื
เพียงเพือให
ผลร ้ำยในทำงแก ้แค ้นตอบแทนเท่ำนั้น แต่ลำพังข ้อห ้ำม
นั้นเองปรำศจำกอรรถประโยชน์ทเป็
ี่ นแก่นสำร
่ ำกฎหมำยอำญำมำใช ้เพือลงโทษพฤติ
่
• ไม่ควรทีจะน
กรรมที่
ปรำศจำกพิษภัย
่ นวิธก
่ ำไปสูจ
• ไม่ควรใช ้กฎหมำยอำญำ เพือเป็
ี ำรทีน
่ ด
ุ ประสงค ์
่
่ ดประสงค ์เช่นเดียวกันนั้น ด ้วย
ทีสำมำรถท
ำให ้บรรลุถงึ ซึงจุ
่ ท
่ ำให ้เกิดควำมทุกข ์เวทนำน้อยกว่ำ
วิธก
ี ำรอืนที
่
่ ดจำกกำร
• ไม่ควรนำกฎหมำยอำญำมำใช ้ เมือผลร
้ำยทีเกิ
่ ดจำกกำรลงโทษ
กระทำผิดนั้นน้อยกว่ำผลร ้ำยทีเกิ
Jeremy Bentham
่ ้อห้ำม ซึงท
่ ำให้
• กฎหมำยอำญำไม่ควรรวมเอำไว ้ซึงข
เกิดผลพลอยได ้อันอำจก่อให้เกิดผลร ้ำยมำกกว่ำ
่
พฤติกรรมทีกฎหมำยอำญำต
้องกำรจะจำกัด
Jeremy Bentham
In the 18th century British philosopher Jeremy Bentham founded the ethical, legal, and political
doctrine of utilitarianism, which states that correct actions are those that result in the greatest
happiness for the greatest number of people. For Bentham, happiness is precisely quantifiable and
reducible to units of pleasure, less units of pain. Bentham was strongly opposed to then-dominant
theories of natural rights, in which human beings are believed to possess certain inherent and
unalterable social requirements.
John S. Mill
่ ดประสงค ์ทีจะ
่
• ไม่ควรนำกฎหมำยอำญำมำใช ้ เพือจุ
่ ำ
บังคับให ้บุคคลประพฤติปฏิบต
ั ต
ิ ำมแนวทำง ทีจะน
ให ้เกิดผลประโยชน์แก่ผูป้ ฏิบต
ั น
ิ ้ันเอง
หลักเกณฑ ์ว่ำด ้วยควำมเป็ นไปได ้ในทำง
ปฏิบตั ิ
่ ้อห ้ำมทีไม่
่ ได ้ร ับกำร
• กฎหมำยอำญำไม่ควรรวมไว ้ซึงข
สนับสนุ นอย่ำงจริงจังจำกมติมหำชน
่ ้อห ้ำมทีบั
่ งคับใช ้
• กฎหมำยอำญำไม่ควรรวมเอำไว ้ซึงข
ไม่ได ้
่ ้อห ้ำมบำง
• กฎหมำยอำญำไม่ควรรวมเอำไว ้ซึงข
่ อมี
่ กำรละเมิดข ้อห ้ำมนั้นแล ้ว ไม่
ประกำร ซึงเมื
้ ง
สำมำรถพิสจ
ู น์ได ้ว่ำมีกำรกระทำควำมผิดเกิดขึนจริ
หลักเกณฑ ์แบบปฏิฐำน
• การทาหน ้าทีอ
่ ย่างราบรืน
่ ของสงั คม และการ
ดารงรักษาไว ้ซงึ่ ความสงบเรียบร ้อยนัน
้ ย่อมเป็ น
เหตุผลเพียงพอทีท
่ าให ้การกระทาบางอย่างถูก
ควบคุมโดยรัฐได ้ (ลอร์ดเดฟลิน)
Positivism
• Positivism refers to the philosophical doctrine founded
and named by the French philosopher Auguste Comte.
Its subsequent success and influence is due to the
degree to which it expresses the climate of the times. It
rejects the entire enterprise of metaphysics and theology
as unverifiable, substituting science and the scientific
method in their place. Positivism leads to the formation
of the social "sciences," that is, the belief that the
methods of science and mathematics will unlock the
mysteries of human behavior and lead to the
improvement of that behavior. The departmentalized
organization of the modern university is based on the
positivist ideal.
Auguste Comte
Auguste Comte’s positive philosophy, or positivism, abandoned speculation about the nature of reality in favor of
scientific investigation. According to Comte, knowledge of all subjects, from astronomy to sociology, should come
from the correlation of evidence gathered by investigation and observation. This materialistic approach helped to
lay the foundations for modern sociology, which Comte first called social physics.
Jean Piaget
Swiss psychologist Jean Piaget is recognized for his studies of the mental development of children
and adolescents. Piaget theorized that individuals evolve through sequential stages of cognitive
development. Building upon Piaget's theories, criminologists propose that moral development
occurs in stages that correspond to a person's level of cognitive sophistication.
.
Sigmund Freud
Austrian physician Sigmund Freud developed important but controversial theories
concerning the connection between aberrant human behavior and the unconscious
mind. Freud believed that each person must resolve the tension between individualism
and society. According to Freud, criminal behavior may result from a failure to resolve
this tension.
ต่อ
• ถ ้าความจริงปรากฎว่าสถาบันกฎหมายอาญานั น
้
ิ้ เปลืองทีส
เป็ นสถาบันทีส
่ น
่ ด
ุ สถาบันหนึง่ ไม่วา่ จะ
ิ้ เปลืองทางเศรษฐศาสตร์
เป็ นในด ้านความสน
ิ้ เปลืองในด ้านความสุขของมวล
หรือความสน
มนุษย์แล ้ว เราควรจะมองในแง่ความเป็ นจริง
และถามหาข ้อยุตท
ิ เี่ ป็ นปฏิฐาน เมือ
่ เราต ้องการ
้
ใชกฎหมายอาญาบั
งคับพฤติกรรมใดพฤติกรรม
หนึง่
หลักเกณฑ ์แบบผสมผสำน
• เราอาจตัง้ กฎเกณฑ์ขน
ึ้ ใหม่ โดยรวมหลักเกณฑ์
ว่าด ้วยการจากัด และหลักเกณฑ์แบบปฏิฐาน
เอาไว ้ด ้วยกันได ้ หลักเกณฑ์ใหม่นต
ี้ ้องเป็ น
หลักเกณฑ์ทไี่ ม่ขน
ึ้ ตรงต่อระบบคุณค่าและ
ี ธรรม
ศล
• วอล์กเกอร์ยน
ื ยันว่าหลักเกณฑ์นแ
ี้ ม ้จะไม่เป็ น
ี ธรรมโดย
อิสระไปจากระบบคุณค่า และศล
สมบูรณ์ก็ตาม แต่ก็ถอ
ื ได ้ว่าเป็ นอิสระมากกว่า
หลักเกณฑ์ของมิลล์ ซงึ่ ถือว่าเป็ นหลักเกณฑ์
้ กคุณค่าและ
แบบอรรถประโยชน์นย
ิ ม ทีใ่ ชหลั
ั ้ เรียนที่ ๔ ทฤษฎีโทษ
ชน
Punishment theories
ั ้ เรียนที่ ๔
ชน
ทฤษฤีอาชญาศาสตร์ทรี่ องรับ กฎหมาย
อาญาสารบัญญัต ิ
้
• ๔.๑ ความพยายาม ทีจ
่ ะใชการนิ
ตบ
ิ ญ
ั ญัต ิ
ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์
• ๔.๒ สรุป ผลของความสาเร็จของสภาพบังคับ
โทษและทฤษฎีรองร ับกำรลงโทษ
• แบบแผนของกำรลงโทษ หรือคำขูว่ ำ่ จะลงโทษและตัว
โทษนั้นเองเปรียบเสมือนแรงกระตุ ้นให ้สมำชิกของ
สังคมนั้นๆ ประพฤติปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ สังคมในวิถท
ี ำงที่
กำหนดไว ้
ตัวอย่ำงแนวคิดของนักวิชำกำรในกำร
ร่ำงประมวลกฎหมำยอำญำ
สหร ัฐอเมริกำ มำตรำ 1-1 A2
่
• วัตถุประสงค ์โดยทัวไป
้ เพือที
่ จะ
่
•
วัตถุประสงค ์ของประมวลกฎหมำยนี ก็
้
้
เสริมสร ้ำงควำมยุตธิ รรมขึนสนระบบสหร
ัฐทังมวล
่ ประเทศชำติ
่
เพือที
และประชำชนจะได ้มีควำมอบอุน
่ ใจ
ในกำรร ักษำไว ้ซึง่
ชีวต
ิ
ร่ำงกำย
ทร ัพย ์สิน
่ นและกัน และผลประโยชน์อนๆ
ควำมสัมพันธ ์ซึงกั
ื่
•
่ จะส่
่ งเสริมและคงไว ้ซึง่
• ประมวลกฎหมำยนี ้ มุ่งมันที
ระบบแห่งคุณธรรมของมหำชนและกำรปฏิบต
ั ิ
โต ้ตอบของมหำชน
โดยกำรลงโทษทัณฑ ์อัน
เหมำะสม
่ งเสริมควำม
้ ่งมุ่นทีจะส่
•
ประมวลกฎหมำยนี มุ
้
ปลอดภัยและควำมมั่นคงของบุคคลทังปวง
โดย
กำรป้ องปรำมโดยใช ้วิธแี จ ้งต่อสังคมให ้เห็นถึง
่ ้
ควำมผิดต่ำงๆ ว่ำมีอะไรบ ้ำง และโทษทัณฑ ์ทีได
่
กำหนดไว ้โดยตัวบทกฎหมำยมีอยู่อย่ำงไร และเมือ
้ ้ไม่ได ้ผล ก็จะใช ้วิธแี ก ้ไขผูก้ ระทำ
วิธก
ี ำรนี ใช
ควำมผิด หรือกำรทำให ้ผูก้ ระทำควำมผิดนั้นไม่
่
สำมำรถทีจะกระท
ำผิดต่อไปได ้ โดยวิธก
ี ำรอัน
สมควร”
• วิธก
ี ำรและทฤษฎีทจะท
ี่ ำให ้จุดมุ่งหมำยของประมวล
่
กฎหมำยอำญำประสบผลสำเร็จได ้นั้น พอทีจะ
แบ่งเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได ้สำมประเภท คือ กำรแก ้
แค ้นตอบแทน กำรขูก
่ ำหรำบ(ป้ องปรำม) และกำร
แก ้ไขผูก้ ระทำผิด
วิธก
ี ารแก ้แค ้นตอบแทน
่ มำตรฐำนกำรวัดอัตรำส่วนของโทษจำกควำมผิด
• ซึงมี
้ ำวกันว่ำ
ของผูก้ ระทำ ทฤษฎีแก ้แค ้นตอบแทนนี กล่
่ ้นมำจำกควำมสำนึ กของมนุ ษย ์ทีจะ
่
เป็ นทฤษฎีทเริ
ี่ มต
ตอบสนองต่อกำรกระทำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
• ในปัจจุบน
ั ทฤษฎีแก ้แค ้นตอบแทนนั้นมิได ้
หมำยควำมเพียงแต่ “ตำต่อตำ ฟันต่อฟัน” หรือตำม
่ กนิ ตศ
สำนวนทีนั
ิ ำสตร ์ญีปุ่่ นใช ้ว่ำ “กำรทำให ้มหำชน
่ กยัวยุ
่ โดยกำรกระทำควำมผิดอย่ำง
พึงพอใจเมือถู
่
ร ้ำยแรงของบุคคลหนึ่ ง” แต่หมำยควำมถึงกำรทีจะ
่ ำให ้กำรลงโทษนั้นทำได ้แต่
กำหนดกฎเกณฑ ์ เพือท
พอเหมำะสม
่ ้กระทำผิดได ้
• กำรลงโทษทัณฑ ์นั้นจะทำได ้ก็ตอ
่ เมือผู
่ ั ้ำย และโทษทีจะลงได
่
กระทำกำรโดยมีจต
ิ ใจอันชวร
้นั้น
่
จะต ้องเป็ นโทษทีเหมำะสมกั
บควำมร ับผิดทำงอำญำ
ของผูก้ ระทำผิด
่ คื
่ ก
้ อ ควำมเหมำะสมทีจะถู
• ควำมร ับผิดในทีนี
กล่ำวโทษในทำงจริยธรรมของสังคมส่วนใหญ่
ผูก้ ระทำจะต ้องร ับผิด ถ ้ำในทำงจริยธรรมแล ้วเขำ
่ กกล่ำวโทษว่ำพฤติกรรมของเขำนั้นผิด
สมควรทีจะถู
้
่ กกล่ำวโทษนี เอง
้ ทีเป็
่ น
และขันของควำมสมควรที
จะถู
่ ให
้ ้เห็นถึงมำตรำส่วนทีจะวั
่ ดควำมร ับผิด
ตัวแทนทีจะชี
่ อลงโทษแล
่
้ ได ้
ซึงเมื
้ว จะให ้เกินกว่ำนี ไม่
่ คคลได ้กระทำกำรอันสมบูรณ์ตำม
• เมือบุ
องค ์ประกอบของคำนิ ยำมของกฎหมำย ซึง่
่
พอทีจะเรี
ยกได ้ว่ำเข ้ำองค ์ประกอบของตัว
กฎหมำยแล ้ว และพอจะกล่ำวได ้ว่ำ บุคคลนั้นได ้ทำ
่ ผิ
่ ดกฎหมำย แต่ต ้องพิจำรณำต่อไปว่ำ บุคคล
สิงที
้
่ นว่ำ
ผูน้ ี สมควรหรื
อไม่ทจะถู
ี่ กกล่ำวโทษ เมือเห็
สมควรแล ้วจึงจะพิจำรณำต่อไปอีกว่ำ ควำม
่ กกล่ำวโทษนี มี
้ ควำมสูงตำอย่
่
สมควรทีจะถู
ำงไร
้
่
่ จ่ ำเป็ นและสำคัญ
จำกจุดนี เรำพอที
จะเห็
นว่ำสิงที
่ ดสำหร ับผูก้ ระทำควำมผิดตำมทฤษฎีควำมร ับ
ทีสุ
่ กกล่ำวโทษ
ผิดใหม่นี ้ ก็คอื ควำมสมควรทีจะถู
Blameworthiness.
•
่
ำผิดมักจะมี
• ในทำงวิทยำศำสตร ์แล ้ว คนทีกระท
่ ำให ้เขำปฏิบต
สำเหตุบำงประกำรทีท
ั เิ ช่นนั้น
้
่
ควำมคิดดังกล่ำวนี ในปั
จจุบน
ั มีอยูม
่ ำกมำยทีจะ
ยกตัวอย่ำงได ้ เช่น กำรกระทำผิดขณะไม่รู ้สึกตัว
่ กบีบบังคับจำกสภำวะทำงจิตใจ เป็ นต ้น ซึง่
ควำมทีถู
่ กกล่ำวโทษนี ลดลงทุ
้
ทำให ้ควำมสมควรทีจะถู
กวัน ดู
จำกควำมก ้ำวหน้ำทำงวิทยำศำสตร ์ของมนุ ษย ์ จะ
่ คคลจะมีควำมสมควรทีจะถู
่ ก
เห็นว่ำเป็ นไปได ้ยำกทีบุ
้
้
กล่ำวโทษไปทังหมด
เพรำะควำมตังใจกระท
ำหรือ
เจตนำของบุคคลผู ้กระทำย่อมจะเกิดจำกสำเหตุอนๆ
ื่
หลำยประกำรด ้วยกัน
• ผูก้ ระทำผิดย่อมจะมีควำมรู ้สึกผิด และย่อมยินดีทจะ
ี่
่
ร ับโทษทัณฑ ์ตำมควำมผิดทีตนกระท
ำลง
่ คคลอืนเห็
่ นว่ำบุคคลนั้น
เช่นเดียวกันกับกำรทีบุ
่ ้กระทำ
สมควรถูกลงโทษให ้ได ้สัดส่วนกับควำมผิดทีได
ลง
้
• สรุปแล ้ว ทฤษฎีแก ้แค ้นตอบแทน ย่อมมีผลทังในด
้ำน
่ ยกได ้ว่ำเป็ นกำรแก ้
ควำมกรุณำปรำณี และมีสว่ นทีเรี
แค ้นตอบแทน อันทำให ้สังคมส่วนใหญ่พอใจ
่ นดีทจะร
ตลอดจนตัวผูก้ ระทำควำมผิดทียิ
ี่ ับโทษตำม
่
้ งมี
สัดส่วนของควำมผิดทีตนได
้กระทำลง นอกจำกนี ยั
ผลในทำงป้ องกันสังคมอีกด ้วย เพรำะว่ำกำรใช ้วิธก
ี ำร
้
ลงโทษ แบบนี ย่้ อมมีผลทังในทำงท
ำให ้ผูก้ ระทำ
ควำมผิดรู ้สำนึ กตัว และทำให ้บุคคลภำยนอกเกรง
กลัวต่อโทษนั้นด ้วย
การป้ องปราม
่ ให ้กระทำ
Deterrence ป้ องกัน ขู่ เพือมิ
่ องปรำม
่ จะป้
่
ก้ ระทำผิดด ้วยโทษอันรุนแรงเพือที
• กำรทีลงโทษผู
่ ให ้ประพฤติปฏิบต
่
ผูน้ ้ัน หรือบุคคลอืนมิ
ั เิ อำเยียงอย่
ำงนั้น
เป็ นวิธก
ี ำรหนึ่ งของกฎหมำยอำญำ
•
“…..one of the most important objectives of
punishment, namely, the element of deterrenceThe theory which regards the penalty as being
not an end in itself but the means of attaining an
end, namely, the frightening of others who might
be tempted to immitate the criminal.”
• Commonwealth V. Ritter, Court of Oyer and
Terminer, Philadelphia, 1930, 13 D & C. 285.
่ ดขึน้
่ เกิ
• “ภำยในกลุม
่ อำชญำกร กำรคำดคะเนถึงสิงที
แก่ตนในภำยหน้ำนั้น แทบจะเรียกได ้ว่ำไม่คอ
่ ยจะ
ปรำกฎ… แม้วำ่ เรำไม่อำจจะบอกได ้ว่ำกำรไม่มองถึง
กำลข ้ำงหน้ำนั้น เป็ นโรคจิตชนิ ดหนึ่ งสำหร ับอำชญำ
กรหรือไม่ และจิตแพทย ์ก็ไม่อำจยืนยันได ้ว่ำ อำกำร
้
แบบนี ้ เป็ นโรคจิตชนิ ดหนึ่ ง สัสดีเรือนจำทังหลำยต่
ำง
่ สำมำรถ
ยอมร ับกันแล ้วว่ำ มีนักโทษบำงประเภททีไม่
่
่
ทีจะมองถึ
งกำลข ้ำงหน้ำและไม่สำมำรถทีจะเรี
ยนรู ้
จำกประสบกำรณ์ของกำรถูกลงโทษได ้ และสำหร ับคำ
่ มค
ขูว่ ำ่ จะลงโทษยิงไม่
ี วำมหมำยสำหร ับบุคคลพวกนี ”้
การแก ้ไขผู ้กระทาผิด
Rehabilitative theory.
• ทฤษฎีกำรแก ้ไขผูก้ ระทำผิดนี ้ เป็ นกำรรวมเอำ
่ น
แนวคิดหลำยแนวควำมคิดไว ้ด ้วยกัน แต่มส
ี งที
ิ่ เห็
พ้องกันว่ำ พฤติกรรมของมนุ ษย ์นั้นเป็ นผลของเหตุที่
้ นส่วนหนึ่ งของ
สืบเนื่ องมำจำกอดีต เหตุเหล่ำนี เป็
้ งเป็ น
สภำพทำงธรรมชำติของมนุ ษย ์ ด ้วยประกำรนี จึ
่
่ ้องค ้นคว ้ำหำ
หน้ำทีของนั
กวิทยำศำสตร ์ทีจะต
้ ควำมเป็ นมำอย่ำงไร
คำอธิบำยว่ำ เหตุผลเหล่ำนี มี
่ ้มำจำกกำรศึกษำถึงพฤติกรรมอันสืบ
ควำมรู ้ทีได
้ ำให ้มนุ ษย ์สำมำรถใช ้วิธก
เนื่ องมำจำกอดีตนี จะท
ี ำร
ทำงวิทยำศำสตร ์ ควบคุมพฤติกรรมของมนุ ษย ์ได ้
่
เงือนไขในกำรก
ำหนดโทษ
่
• เงือนไขในกำรก
ำหนดโทษตำมกฎหมำยอำญำมีอยู่
่
สองประเภท ประเภทแรกเป็ นเงือนไขตำมทฤษฎี
แก ้
่
แค ้นตอบแทนดังได ้กล่ำวมำแล ้วตอนต ้นเรืองควำม
่ กลงโทษของผู ้กระทำควำมผิด
เหมำะสมทีจะถู
และ
่
่
ประเภททีสองก็
เป็ นเงือนไขที
ว่่ ำด ้วยกำรแก ้ไข
ผูก้ ระทำควำมผิดให ้กลับตัวเป็ นคนดี
ตัวอย่ำงแนวคิดของนักวิชำกำรในกำรร่ำง
ประมวลกฎหมำยอำญำญีปุ่่ น มำตรำ 47
• ร่ำงประมวลกฎหมำยอำญำญีปุ่่ น มำตรำ 47 เป็ นตัวอย่ำง ที่
่
แสดงให ้เห็นถึงกำรแบ่งเงือนไขดั
งกล่ำวใว ้อย่ำงชัดเจน
่
้นจะต ้องได ้สัดส่วนกับควำม
•
“มำตรำ 47 (1) โทษทีจะลงนั
ร ับผิดของผูก้ ระทำผิด
่
่ ดประสงค ์ทีจะ
่
•
(2) โทษทีจะลงนั
นจะต ้องเพือจุ
ป้ องกันไม่ให ้มีกำรกระทำผิดเกิดขึน้ และแก ้ไขผูก้ ระทำผิดให ้
กลับตัวเป็ นคนดี โดยดูจำกสภำวะแห่ง อำยุ บุคลิกภำพ
่
ตำแหน่ งหน้ำทีและสภำวะแวดล
้อมของผูก้ ระทำผิด มูลเหตุ
้
ชักจูงใจให ้กระทำผิด ผลเสียอันเกิดขึนแก่
สงั คม จำกกำร
กระทำผิดนั้นและควำมรู ้สึกผิดชอบของผูก้ ระทำผิด
ตัวอย่ำงแนวคิดของนักวิชำกำรในกำรร่ำง
ประมวลกฎหมำยอำญำเยอรมัน มำตรำ 60
•
•
(1) มำตรฐำนในกำรกำหนดโทษนั้นคือควำมร ับ
ผิดของผูก้ ระทำควำมผิด
•
(2)
ในกำรกำหนดโทษนั้นให ้ศำลพิจำรณำถึง
สภำวะต่ำงๆ
นอกเหนื อไปจำกองค ์ประกอบแห่ง
่
ควำมผิดตำมลำยลักษณ์อก
ั ษร
ซึงอำจจะมี
สว่ น
่
่
บรรเทำโทษหรือเพิมโทษที
จะลงแก่
ผูก้ ระทำผิด
่
โดยเฉพำะอย่ำงยิงควรจะค
ำนึ งถึง
•
• มูลเหตุจงู ใจ และจุดมุ่งหมำยของผูก้ ระทำผิด
่
•
สภำวะทำงจิตใจทีแสดงออกมำทำงกำรกระท
ำและ
่
้
่
กำรแสดงออกซึงควำมตั
งใจกระท
ำ อันเกียวข
้องกับกำร
กระทำควำมผิด
•
ผูก้ ระทำผิดได ้กระทำกำรอันเป็ นกำรละเมิดต่อหน้ำที่
ของตนมำกน้อยเพียงไร
•
พฤติกรรมของผูก้ ระทำควำมผิดและผลกระทบ
กระเทือนอันเกิดจำกกำรกระทำผิด
•
ประวัตข
ิ องผูก้ ระทำผิด บุคลิกภำพ และสภำวะทำง
เศรษฐกิจ
•
กำรประพฤติปฏิบต
ั ข
ิ องผูก้ ระทำผิดหลังจำกกำร
่
่
กระทำผิด โดยเฉพำะอย่ำงยิงควำมพยำยำมที
จะแก
้ไขสิง่
่
ทีตนได
้กระทำลง”
Restraint
• Some believe that the goal of punishment
is restraint. If a criminal is confined,
executed, or otherwise incapacitated, such
punishment will deny the criminal the
ability or opportunity to commit further
crimes that harm society.
Rehabilitation
• Another possible goal of criminal punishment is
rehabilitation of the offender. Supporters of
rehabilitation seek to prevent crime by providing
offenders with the education and treatment
necessary to eliminate criminal tendencies, as
well as the skills to become productive members
of society.
Restoration
•
The theory of restoration takes a victim-oriented approach to crime that emphasizes restitution (compensation)
for victims. Rather than focus on the punishment of criminals, supporters of this theory advocate restoring the
victim and creating constructive roles for victims in the criminal justice process. For example, relatives of a
murder victim may be encouraged to testify about the impact of the death when the murderer is sentenced by the
court. Promoters of this theory believe that such victim involvement in the process helps repair the harm caused
by crime and facilitates community reconciliation.
่ ภาพเดิมนี้
• ทฤษฎีเกีย
่ วกับการเยียวยา หรือ กลับคืนสูส
ี หายจากการกระทาผิด เป็ น
ยึดเอาตัวผู ้ทีต
่ ้องเสย
มาตรฐานในการกาหนด มาตรการอันเหมาะสมทีจ
่ ะใช ้
กับผู ้กระทาผิด และไม่ถอ
ื เอาการลงโทษเป็ น
ี หาย มีสว่ นร่วมใน
สาระสาคัญ ทฤษฎีนต
ี้ ้องการให ้ผู ้เสย
กระบวนการยุตธิ รรมในทางสร ้างสรรค์มากกว่ามีสว่ น
ี หายและ
ร่วมในทางลบ อีกทัง้ ยังต ้องการให ้ทัง้ ผู ้เสย
่ งั คมของตนได ้
ผู ้กระทาความผิดสามารถกลับคืนเข ้าสูส
โดยไม่มค
ี วามบาดหมางระหว่างกันอีกต่อไป ตัวอย่าง
ทีม
่ ักจะอ ้างถึงเป็ นประจา คือการขอให ้ญาติของ
ี หาย หรือ ผู ้ตายแสดงออกว่าผลของการกระทา
ผู ้เสย
ความผิด สร ้างความทุกข์ยากให ้กับผู ้ทีเ่ กีย
่ วข ้อง
่
ตัวอย่ำงแนวคิดของนักวิชำกำรในกำรร่ำง
ประมวลกฎหมำยอำญำสหร ัฐอเมริกำ
•
•
“มำตรำ 1-4 B1…
้ ่ำ โทษจำคุกนั้นจะไม่ถอ
(C) ระยะเวลำต ้องโทษขันต
ื ว่ำมี
้ ่ำ นอกเสียจำกว่ำโดยกำรพิจำรณำของศำล
ระยะเวลำขันต
่
แล ้ว เห็นควรให ้มีระยะเวลำดังกล่ำว ซึงจะต
้องไม่เกินกว่ำหนึ่ ง
่
่ ้กำหนดไว ้แต่ต ้น ศำลต ้องไม่
ในสีของระยะเวลำต
้องโทษทีได
้ ่ำ เว ้นแต่ได ้พิจำรณำถึงสภำพ
กำหนดระยะเวลำต ้องโทษขันต
ของกำรกระทำผิด ประวัติ และบุคลิกภำพของผูก้ ระทำผิด
่
้ ่ำไว ้
โดยเห็นว่ำมีควำมจำเป็ นทีจะต
้องกำหนดระยะเวลำขันต
เพรำะมีเหตุบำงประกำรอันบ่งชัดถึงควำมจำเป็ นดังกล่ำว
แล ้ว”
• U.S. Draft Criminal Code.
ระบบของการประยุกต ์ใช้โทษ และ
่
่
่ ยกชืออย่
างอืน
วิธก
ี ารทีเรี
“ระบบคู”่ Dual system of punishment and
measures of Saftly.
่ งแยกกำรลงโทษอันเป็ นนโยบำยของกำร
• คือระบบทีแบ่
่
ลงโทษทำงอำญำ กับวิธก
ี ำรเพือควำมปลอดภั
ยและกำร
แก ้ไขผูก้ ระทำผิดอันเป็ นนโยบำยของกำรแก ้ไขผูก้ ระทำ
ควำมผิดตำมแนวทำงของวิชำอำชญำวิทยำ และทัณฑ
วิทยำออกจำกกันโดยมีทฤษฎีและหลักเกณฑ ์ในกำรใช ้
แตกต่ำงกันออกไป
• “ระบบผสม”Unitary system of punishment.
่
• ระบบทีพยำยำมน
ำเอำกำรลงโทษอำญำ กำรแก ้ไขผูก้ ระทำ
ควำมผิด และนโยบำยทำงวิชำอำชญำวิทยำ และทัณฑ
่
•
่
กำรแบ่งแยกโทษออกจำกวิธก
ี ำรเพือ
ควำมปลอดภัย
่
• สำหร ับกำรแบ่งแยกโทษออกจำกวิธก
ี ำรเพือควำมปลอดภั
ย
นั้น ศำสตรำจำรย ์ทำเกชิ กล่ำวว่ำ :
่
•
“แม้วำ่ เรำไม่อำจแบ่งแยกกำรลงโทษออกจำกวิธก
ี ำรเพือ
่
ควำมปลอดภัยได ้โดยเด็ดขำดก็ตำม แต่โดยทัวไปแล
ี ำร
้ววิธก
่
เพือควำมปลอดภั
ยนั้นไม่ควรมีลก
ั ษณะของโทษเป็ น
สำระสำคัญ และระยะเวลำ หรือกำรปลดปล่อยผูท้ จะต
ี่
้องร ับ
กำรร ักษำบำบัดนั้นก็มไิ ด ้กำหนดเอำตำมควำมร ับผิด แต่จะ
กำหนดตำมควำมจำเป็ นสำหร ับกำรบำบัดร ักษำ เป็ น
สำระสำคัญ”(3)
่
่ น
วิธก
ี ำรสับเปลียนแทนที
กั
Substitutionary System
่ ้นหำวิธท
• นักนิ ตศ
ิ ำสตร ์เยอรมันได ้พยำยำมทีจะค
ี ี่
จะทำให ้กำรลงโทษระบบคูน
่ ้ัน สมบูรณ์แบบมำก
่ ลก
ขึน้
โดยตัดวิธก
ี ำรทีมี
ั ษณะเป็ นกำรจำกัด
่ มวิธก
เสรีภำพออกไปเสีย และก็เพิมเติ
ี ำรใหม่ขน
ึ้
่
่
่
่ น”
ซึงพอที
จะเรี
ยกได ้ว่ำ “วิธก
ี ำรสับเปลียนแทนที
กั
่
ได ้กำหนดไว ้ว่ำโทษและวิธก
ี ำรเพือควำมปลอดภั
ย
่ บกันในระหว่ำงทีผู
่ ต้ ้องโทษ
นั้นจะนำมำใช ้แทนทีสลั
กำลังร ับโทษ หรือวิธก
ี ำรต่ำงๆ อยู่
ตัวอย่ำงแนวคิดของนักวิชำกำรในกำรร่ำง
ประมวลกฎหมำยอำญำเยอรมัน
“…
•
(1)
ในกรณี ทศำลได
ี่
้พิพำกษำให ้ผูก้ ระทำควำมผิด
่ ้ผูก้ ระทำควำมผิดร ับกำรร ักษำ
ต ้องโทษจำคุก
และได ้สังให
่ ำหร ับร ักษำบำบัดเป็ น
บำบัดในสถำนพยำบำลหรือสถำนทีส
่ ม
่
กำรเพิมเติ
ให ้ศำลกำหนดไว ้ว่ำให ้นำวิธก
ี ำรเพือควำม
ปลอดภัยมำใช ้ปฏิบต
ั ก
ิ อ
่ นโทษจำคุก
ถ ้ำตำมสภำพของผู ้
ต ้องโทษมีควำมจำเป็ นเช่นนั้น นอกไปจำกนี ้ ในกรณี ทศำล
ี่
่ ้ใช ้วิธก
่
สังให
ี ำรกักกันในสถำน
ี ำรเพือควำมปลอดภั
ย โดยวิธก
บำบัด
หรือสถำนฝึ กอำชีพหรือในกรณี ทศำลให
ี่
้ใช ้วิธก
ี ำร
่
่ ้ใช ้วิธก
กักขัง เพือควำมปลอดภั
ย ศำลอำจจะสังให
ี ำรดังกล่ำว
่
ก่อนทีจะลงโทษ
ถ ้ำศำลเห็นว่ำกำรใช ้วิธก
ี ำรดังกล่ำวจะ
ประสบผลสำเร็จง่ำยขึน้
นอกเสียจำกว่ำควำมร ับผิดของผู ้
่
่ องปรำม ทำให ้
ต ้องโทษและผลทีจะเกิ
ดจำกกำรลงโทษเพือป้
่
่
• สำหร ับวิธก
ี ำรสับเปลียนโทษและวิ
ธก
ี ำรเพือควำม
ปลอดภัยนั้น ก็ได ้บัญญัตเิ อำไว ้ในมำตรำ 105(3)
ดังต่อไปนี ้ :
่ ้มีกำรลงโทษจำคุกก่อนทีจะใช
่
•
“ในกรณี … ทีได
้
่
่
วิธก
ี ำรเพือควำมปลอดภั
ย
ก่อนทีจะครบก
ำหนด
่ พำกษำพิจำรณำ
ระยะเวลำของกำรลงโทษ ให ้ศำลทีพิ
่ ้มีคำสังไว
่ ้นั้นยังจะจำ
ว่ำจุดมุ่งหมำยของวิธก
ี ำรทีได
่ บยังกำร
้
เป็ นอยู่หรือไม่ ถ ้ำเห็นว่ำไม่จำเป็ นให ้ศำลสังยั
่
ใช ้วิธก
ี ำรเพือควำมปลอดภั
ย และให ้มีกำรปล่อยตัว
่
โดยมีเงือนไขได
้”
๔.๒ สรุป ผลของความสาเร็จของสภาพ
บังคับ
• Discussion