ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกั

Download Report

Transcript ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกั

LOGO
ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับอินเทอร์ เนท
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Ch. 1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
หัวข้ อเรื่อง
1.
2.
3.
4.
5.
Internet คืออะไร
ประวัติความเป็ นมาของ Internet
Internet ทางานอย่ างไร
รับส่ งข้ อมูลได้ ถูกทีด่ ้ วย IP Address
Intranet & Extranet คืออะไร
1) ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ เครื อข่ายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบ
ต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน มาจากคาว่า Inter Connection Network
 อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็ นระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่
เครื่ องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องทัว่ โลก สามารถติดต่อสื่ อสารถึงกัน ได้โดย
ใช้มาตรฐาน ในการรับส่ งข้อมูลที่เป็ นหนึ่งเดียว หรื อที่เรี ยกว่า
โปรโตคอล (Protocol) ซึ่งโปรโตคอล ที่ใช้บนระบบเครื อข่าย
อินเทอร์เน็ต มีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : Transmission Control
Protocol/Internet Protocol)
ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็ นเสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทัว่
โลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่ อสารกันได้หลาย
เส้นทาง ตามความต้องการ โดยไม่กาหนดตายตัว และไม่จาเป็ นต้องไป
ตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ หรื อ เลือกไปเส้นทางอื่นได้
หลาย ๆ เส้นทาง การติดต่อสื่ อสาร ผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต นั้น
อาจเรี ยกว่า การติดต่อสื่ อสารแบบไร้มิติ หรื อ Cyberspace
2) ประวัติโดยย่ อของอินเทอร์ เน็ต (History of Internet)
 มีต้นกาเนิดมาจากโครงการ Advanced Research Projects Agency
(ARPA) ซึ่งได้ รับสนับสนุนโดยกระทรวงกลาโหม(Department of
Defense) ประเทศสหรัฐอเมริกา เพือ่ ใช้ ในการเชื่อมโยงระบบเครือข่ าย
คอมพิวเตอร์ ทางการทหารต่ อมาในปี 2523 National Science
Foundation (NFS) นาซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ จานวน 5 เครื่องเชื่อมต่ อ
เข้ ากับ ARPANET ซึ่งไม่ เพียงพอต่ อความต้ องการใช้ งาน NFS จึงสร้ าง
NFSnet ขึน้ เองเพือ่ เชื่อมต่ อกับ ARPANET ซึ่งเป็ นจุดเริ่มต้ นของ
อินเทอร์ เน็ต
 ชนิดของคอมพิวเตอร์
พัฒนาการของ Internet (1/2)
 ชนิดของเครือข่ ายมี 3 แบบ
– Local Area Network: LAN
– Metropolitan Area Network: MAN
– Wide Area Network : WAN
 ในปัจจุบัน Internet เป็ นการต่ อโยงทางตรรกะ (Logic) ของระบบ
คอมพิวเตอร์ นับล้าน ๆ เครื่อง และโยงกับระบบ Wide Area Network
(WAN) ต่ างๆ เช่ น MILNET, NSFNET, CSNET, BITNET หรือแม้ แต่
เครือข่ ายทางธุรกิจ เช่ น IBMNET, Compuserve Net และอืน่ ๆ ภายใต้
โปรโตคอล ที่มีชื่อว่ า TCP/IP โดยทีข่ นาดของเครือข่ าย ครอบคลุมไปทัว่
โลก รวมทั้งประเทศไทย และมีการขยายขอบเขตออกไป อย่ างไม่ หยุดยั้ง
พัฒนาการของ Internet (2/2)
 ระบบ Internet เป็ นการนาเครือข่ ายขนาดใหญ่ ทสี่ ุ ดของโลก ทีม่ ีการต่ อ
เสมือนกับ ใยแมงมุม หรือ World Wide Web หรือเรียกย่ อๆ ว่ า WWW
(มีการบัญญัติศัพท์ ว่า เครือข่ ายใยพิภพ) ในระบบนีเ้ ราสามารถ
เปรียบเทียบ Internet ได้ สองลักษณะคือ ลักษณะทางกายภาพ และทาง
ตรรกะ ในทางกายภาพ (Physical) นั้น Internet เป็ นเครือข่ ายทีร่ ับ
อิทธิพลจาก เครือข่ ายโทรศัพท์ โดยตรง ในสหรัฐอเมริกา บริษัททีเ่ ป็ นผู้
ให้ บริการ Internet ก็เป็ นบริษัททีท่ าธุรกิจ ทางโทรศัพท์ เช่ น MCI,
AT&T, BELL เป็ นต้ น และอีกลักษณะหนึ่ง ที่เป็ นความเด่ นของระบบ
คือลักษณะทางตรรกะ หรือ LOGICAL CONNECTION ที่เป็ นเสมือน
ใยแมงมุม ครอบคลุมโลกไว้
อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย (1/6)
 ปี พ.ศ. 2529 อาจารย์กาญจนา กาญจนสุ ต จากสถาบันเทคโนโลยีแห่ง
เอเซีย (AIT) ร่ วมกับอาจารย์โทโมโนริ คิมูระ จากสถาบันเดียวกัน ร่ วม
สร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดยอาศัย
– โมเด็ม NEC ความเร็ ว 2400 Baud
– เครื่ องคอมพิวเตอร์ พีซี NEC
– สายโทรศัพท์ทองแดง
อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย (2/6)
 ในปี พ.ศ. 2531 โดยให้มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ และสถาบัน
เทคโนโลยีแห่งเอเซีย มีหน้าที่เป็ นศูนย์กลางของประเทศไทยในการ
เชื่อมโยงไปที่เครื่ องแม่ข่าย ของมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น และตั้งชื่อ
โครงการนี้วา่ TCSNet - Thai Computer Science Network โดยมีการ
ติดต่อผ่านเครื อข่ายวันละ 2 ครั้ง จ่ายค่าใช้จ่ายปี ละ 4 หมื่นบาท และใช้
ซอฟต์แวร์ SUNIII ซึ่งเป็ นระบบปฏิบตั ิการ UNIX ประเภทหนึ่ง ที่
แพร่ หลายในเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ของออสเตรเลีย (Australian
Computer Science Network - ACSNet)
อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย (3/6)
 ปี พ.ศ. 2534 อาจารย์ ทวีศักดิ์ กออนันตกูล อาจารย์ ภาควิชา
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ จัดตั้งศูนย์ อเี มล์ แห่ งใหม่
โดยใช้ โปรแกรม MHSNet และใช้ โมเด็ม 14.4 Kbps (ซึ่งเร็วทีส่ ุ ดใน
ประเทศไทยในขณะนั้น) และทาหน้ าทีแ่ ลกเปลีย่ นข้ อมูลกับเครื่อง
Munnari ของออสเตรเลีย กับมหาวิทยาลัยต่ างๆ ในประเทศผ่ าน
โปรแกรม UUCP
1
1
1
1
1
ไบต์ (Byte)
กิโลไบต์ (Kilobyte)
เมกะไบต์ (Megabyte)
กิกะไบต์ (Gigabyte)
เทอราไบต์
เท่ ากับ
เท่ ากับ
เท่ ากับ
เท่ ากับ
เท่ ากับ
8
1024
1024
1024
1024
บิต
ไบต์
กิโลไบต์
เมกะไบต์
กิกะไบต์
อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย (4/6)
 เครือข่ ายแห่ งใหม่ นี้ ประกอบด้ วยมหาวิทยาลัยต่ างๆ ใน TCSNet และ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตลอดจนศูนย์ เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และ
คอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ (เนคเทค) และใช้ ชื่อโครงการว่ า "โครงการเชื่อมเครือข่ าย
ไทยสารเข้ ากับเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตต่ างประเทศ"
 ปลายปี 2535 จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เช่ าชื้อสายครึ่งวงจร 9.6 Kbps จาก
การสื่ อสารแห่ งประเทศไทย เพือ่ เชื่อมกับ UUNET สหรัฐอเมริกา ทาให้ จุฬาฯ เป็ น
ศูนย์ กลางแห่ งใหม่ สาหรับเครือข่ ายภายใต้ ชื่อ ThaiNet อันประกอบด้ วย AIT,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยอัสสั มชัญ และให้ สามาชิกไทยสารใช้ สาย
เชื่อมนีไ้ ด้ โดยผ่านทางเนคเทคอีกด้ วย ภายใต้ ระเบียบการใช้ อนิ เทอร์ เน็ต
(Appropriate Use Policy - AUP) ของ The National Science Foundation
(NSF)
อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย (5/6)
 และปี 2537 เนคเทค ได้ เช่ าชื้อสายเชื่อมสายที่สอง ทีม่ ีขนาด 64 Kbps ต่ อไปยัง
บริษัท UUNet ทาให้ มีผ้ ใู ช้ เพิม่ มากขึน้ จาก 200 คนในปี 2535 เป็ น 5,000 คนใน
เดือนพฤษภาคม 2537 และ 23,000 คนในเดือนมิถุนายน ของปี 2537
 AIT ทาหน้ าที่เป็ นตัวเชื่อมภายในประเทศระหว่ าง ThaiNet กับ ThaiSarn ผ่ าน
สายเช่ า 64 Kbps ของเครือข่ ายไทยสาร
อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย (6/6)
 ปี พ.ศ. 2538 รัฐบาลไทย เปิ ดบริการอินเทอร์ เน็ตเชิงพาณิชย์ โดยมีบริษัท
อินเทอร์ เน็ตแห่ งประเทศไทย จากัด อันเป็ นบริษัทถือหุ้นระหว่ าง
การสื่ อสารแห่ งประเทศไทย องค์ การโทรศัพท์ แห่ งประเทศไทย และสานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ งชาติ (สวทช.) โดยใช้ สายเช่ าครึ่งวงจร
ขนาด 512 Kbps ไปยัง UUNet โดยถือว่ าเป็ นบริษัทผู้ใช้ บริการอินเทอร์ เน็ตราย
แรกของประเทศไทย และได้ เพิม่ จานวนขึน้ มากในปัจจุบัน
 รายชื่อบริษัทผู้ให้ บริการอินเทอร์ เน็ตในปัจจุบัน
http://sweedare.tripod.com/isp.html
3) การทางานของระบบอินเทอร์ เน็ต
 สิ่ งสาคัญบนระบบอินเทอร์ เน็ตคือ ทาอย่ างไรให้ คอมพิวเตอร์ หลาย
รูปแบบหลายระบบ ที่แตกต่ างกัน และใช้ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่
แตกต่ างกัน จากเครือข่ ายทัว่ โลกนีส้ ามารถติดต่ อสื่ อสารกันได้
 ภาษากลางซึ่งเป็ นมาตรฐานของโลก คือ ภาษาอังกฤษ เช่ นเดียวกัน การ
ติดต่ อสื่ อสารในระบบอินเทอร์ เน็ต ย่ อมต้ องมีมาตรฐานกลาง ได้ แก่
โพรโตคอล TCP/IP
 Transmission Control Protocol / Internet protocol (TCP/IP) เป็ น
ระเบียบวิธีหรือข้ อกาหนดกลางที่ใช้ ในการติดต่ อสื่ อสารของ
คอมพิวเตอร์ ในเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
3) การทางานของอินเทอร์เน็ต
 โปรโตคอลที่เป็ นมาตรฐานสาหรับการเชื่อมต่ ออินเทอร์ เน็ต คือ TCP/IP
(Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
TCP/IP: The Universal Language of the Internet
 ดังนั้น คอมพิวเตอร์ ที่ต้องการติดต่ อกับคอมพิวเตอร์ เครื่องอืน่ ๆ ใน
Internet จะต้ องสื่ อสารกันโดยใช้ วธิ ีปฏิบัติเดียวกัน หรือ Protocol
เดียวกันที่ชื่อ TCP/IP
โปรโตคอล(TCP/IP) Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
 TCP
เป็ นโปรโตคอลทีก่ าหนดวิธีการส่ งข้ อมูลทีเ่ ป็ น Packet ไปยังเครื่องรับปลายทางและ
จะทาการควบคุมตรวจสอบข้ อมูลในขณะส่ งว่ ามีข้อผิดพลาดหรือไม่ ถ้ า Packet ทีส่ ่ งไปมี
ปัญหา โปรโตคอล TCP ก็จะกาหนดวิธีการให้ เครื่องรับปลายทางแจ้ งให้ ส่ง Packet ไปใหม่
Software ภายใต้ โปรโตคอล TCP ของเครื่องส่ งจะแบ่ งข้ อมูลออกเป็ น Packet ย่ อย
และใส่ หมายกากับ Packet ก่ อนส่ งไป Software ของเครื่งรับปลายทางจะรวม Packet แล้ ว
จัดลาดับโดยรวมข่ าวสารข้ อมูลเข้ าด้ วยกันให้ เหมือนต้ นฉบับทีส่ ่ งมา
 IP
เป็ นโปรโตคอลทีท่ าหน้ าทีใ่ นการเลือกเส้ นทางทีจ่ ะใช้ ในการรับส่ งข้ อมูลในระบบ
เครือข่ าย และทาการตรวจสอบทีอ่ ยู่ของผู้รับโดยการใช้ IP Address
โปรโตคอล (HTTP)
 HTTP (Hyper Text Transfer Protocol)
โปรโตคอลที่ใช้ในการส่ ง Web Page ที่อยูบ่ นเครื่ อง
Server มาให้เครื่ อง Client ที่ทาการร้องขอไป ทาให้ผใู้ ช้งาน
สามารถท่องไปใน Web site ต่างๆทัว่ โลกได้
4) การอ้างอิงทีอ่ ยู่ของอุปกรณ์ บนระบบเครือข่ าย
 การส่ งจดหมาย ต้ องระบุชื่อ-ทีอ่ ยู่ของผู้รับและผู้ส่งเช่ นเดียวกันสาหรับ
การติดต่ อสื่ อสารในระบบอินเทอร์ เน็ตต้ องมีการกาหนดชื่อ ทีอ่ ยู่ของ
อุปกรณ์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ ทเี่ ชื่อมต่ อในเครือข่ ายเช่ นเดียวกัน
 การอ้างอิงชื่อ-ทีอ่ ยู่ของอุปกรณ์ บนระบบเครือข่ าย 3 แบบ
1. MAC address
2. IP Address
3. Domain Name
MAC Address
 MAC Address เป็ นหมายเลขประจาตัวของอุปกรณ์ ที่เชื่อมต่ ออยู่ใน
เครือข่ ายทีม่ ีมากับการ์ ดแลนด์ หรือ Network Interface Card ซึ่งถูก
กาหนดโดยบริษัทผู้ผลิตจะมีหมายเลขทีไ่ ม่ ซ้ากันและ ผู้ใช้ ไม่ สามารถ
แก้ไขได้ (เป็ นตัวเลขหกกลุ่ม เลขฐานสิ บหก)
 ตัวอย่ าง MAC Address เช่ น 08:0a:0e:12:b5:05
 ข้ อเสี ยของการใช้ MAC address คือ จดจาได้ ยาก โดยเฉพาะเมื่อมีการ
เปลีย่ นหรือย้ ายเครื่องต้ องทาการกาหนดค่ าเริ่มต้ นใหม่
IP Address (1/3)
 ใช้เป็ นหมายเลขอ้างอิงประจาตัวของอุปกรณ์ต่างๆที่เชื่อมต่ออยูใ่ น
ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งหมายเลขจะต้องไม่ซ้ ากัน
 ข้อดีคือ หมายเลย IP ไม่ผกู ติดกับฮาร์ดแวร์ เนื่องจากเป็ นการกาหนด
ด้วยซอฟต์แวร์ ผูใ้ ช้จึงสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ InterNIC เป็ น
หน่วยงานในการดูแลและจัดสรรไอพี แอดเดรสให้แต่ละหน่วยงานที่
เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
IP Address (2/3)
 ระบบคอมพิวเตอร์ ใช้ ระบบเลขฐานสองในการประมวลผล ดังนั้น IP
Address จึงประกอบด้ วย เลขฐานสองจานวน 32 บิต
 เพือ่ ให้ จดจาได้ ง่าย จึงใช้ รูปแบบเลขฐานสิ บจานวน
 4 ชุ ด คัน่ ด้ วยจุด แทน เช่ น
 1111 0000 1100 0001 0000 0001 1111 1111

240 .
193 .
1.
255
IP Address (3/3)
 IP Address ประกอบด้ วย 2 ส่ วนคือ ส่ วนที่เป็ น หมายเลขเครือข่ าย และ
ส่ วนที่เป็ นหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังภาพ
32 บิต
หมายเลขเครือข่ าย
ไม่ สามารถเปลีย่ นแปลงค่ าได้
เปลีย่ นแปลงค่ าได้ ตามจานวน
เครื่องคอมพิวเตอร์ ทมี่ ใี นระบบ
หมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์
ปัญหาของ IP Address
 จานวนหมายเลข IP ไม่เพียงพอกับจานวนผูใ้ ช้งาน
 อินเทอร์เน็ตที่เพิม่ ขึ้นอย่างมาก เพื่อแก้ปัญหาความไม่เพียงพอของ IP
Address ที่มีใน ปัจจุบนั จึงมีการคิดค้นพัฒนา IP Address เวอร์ชนั่ 6 ซึ่ง
ประกอบด้วย 128 บิต
 ซึ่งเพิ่มจานวนหมายเลข IP ได้อีกมากมาย
Domain Name System
 เป็ นระบบการแทนชื่อในเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถจาได้
ง่าย โดยระบบชื่อ โดเมนจะประกอบด้วยชื่อหรื อชุดของตัวอักษรเป็ น
กลุ่มๆ โดยใช้เครื่ องหมายจุดเป็ นตัวแบ่งกลุ่ม เช่น www.rmutt.ac.th
 โครงสร้างของระบบชื่อโดเมนจะมีลกั ษณะเป็ นลาดับชั้น โดยแบ่งเป็ น
ส่ วนย่อยๆ เรี ยกว่า โดเมนย่อย (Sub-domain) โดเมนย่อยที่อยูท่ างซ้ายมือ
จะถือเป็ นเป็ นส่ วนย่อยของโดเมนที่อยูท่ างขวามือ โดยโดเมนที่อยูท่ าง
ขวามือสุ ด มีชื่อเรี ยกว่า "โดเมนระดับบนสุ ด (Top Level Domain)" ซึ่งจะ
กาหนดให้เป็ นชื่อย่อของประเทศหรื อประเภทขององค์กร แล้วมีลาดับ
ลดลงมาจน ถึงโดเมนซ้ายสุ ดเป็ นชื่อเครื่ องที่ให้บริ การ
การขอจดทะเบียนโดเมน
 การขอจดทะเบียนโดเมนต้ องเข้ าไปจะทะเบียนกับหน่ วยงานที่รับผิดชอบ ชื่อ
โดเมนที่ขอจดนัน้ ไม่ สามารถซา้ กับชื่อที่มีอยู่เดิม เราสามารถตรวจสอบได้ ว่ามีช่ ือ
โดเมนนัน้ ๆ หรื อยังได้ จากหน่ วยงานที่เราจะเข้ าไปจดทะเบียน การขอจด
ทะเบียนโดเมน มี 2 วิธี ด้ วยกัน คือ
 1. การขอจดทะเบียนให้ เป็ นโดเมนสากล
(.com .edu .int .org .net ) ต้ องขอจดทะเบียนกับ www.networksolution.com
ซึ่งเดิม คือ www.internic.net
 2. การขอจดทะเบียนที่ลงท้ ายด้ วย .th (Thailand)ต้ องจดทะเบียนกับ
www.thnic.net
Figure
Domain Name System
202.29.21.3
www.rmutt.ac.th
โครงสร้ าง DNS
 โครงสร้างของ DNS แบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ประเภทแรกเป็ นชื่อ
ของเครื่ องคอมพิวเตอร์โดยทัว่ ไป (ส่ วนใหญ่อยูใ่ นประเทศอเมริ กา) ซึ่ง
จะลงท้าย เช่น com หรื อ edu
 ประเภทที่สองเป็ นชื่อของเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่อยูใ่ น ประเทศอื่น จะลง
ท้ายด้วยตัวย่อชื่อประเทศ เช่น th หมายถึงประเทศไทย หรื อ jp หมายถึง
ประเทศญี่ปุ่น
โดเมนระดับบนสุ ดในยุคเริ่มต้ นอินเตอร์ เน็ตในประเทศสหรัฐอเมริกา
และแคนาดา






com (Commercial Organizations) คือกลุ่มธุรกิจการค้า
edu (Educational Organizations) คือสถาบันการศึกษา
gov (Government Organizations) คือหน่วยงานรัฐบาล
mil (Military Organizations) คือหน่วยงานทางทหาร
net (Networking Organizations) คือหน่วยงานที่เกี่ยวกับเครื อข่าย
org (Non-commercial Organizations) คือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร
ความหมายของกลุ่มโดเมนเนม








.biz ย่อมาจาก business หมายถึง องค์กร บริ ษทั ห้างหุน้ ส่ วน คล้ายกับ .com
.info ย่อมาจาก information หมายถึง ข้อมูลสารสนเทศ
.us ย่อมาจาก united states หมายถึง ประเทศสหรัฐอเมริ กา ซึ่ งจะต้องมีภูมิลาเนาอยูท่ ี่ประเทศนี้ ดว้ ย
.co.th ย่อมาจาก commercial in Thailand หมายถึง บริ ษทั หรื อองค์กรที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย
.ac.th ย่อมาจาก academic in Thailand หมายถึง โรงเรี ยน มหาวิทยาลัยที่ต้ งั อยูใ่ นประเทศไทย
.or.th ย่อมาจาก organization in Thailand หมายถึง องค์กรไม่หวังผลกาไรที่ต้ งั อยูใ่ นประเทศไทย
.in.th ย่อมาจาก individual in Thailand หมายถึง บุคคลทัว่ ไปที่อาศัยอยูใ่ นประเทศไทย
.net.th ย่อมาจาก network in Thailand หมายถึง หน่วยงาน/องค์กรทาธุรกิจด้านเครื อข่ายที่ต้ งั อยูใ่ น
ประเทศไทย
Domain Name System (DNS)
 การติดต่ อสื่ อสารระหว่ างเครื่องคอมพิวเตอร์ ต้องระบุหมายเลข IP ทุกครั้ง เหมือน
การโทรศัพท์ จาเป็ นต้ องกดหมายเลขปลายทาง ลองพิจารณาหมายเลข IP ต่ อไปนี้
ยากในการจดจา
 10.3.4.18
 200.7.8.234
 100.8.3.1
 102.33.33.98
 203.204.152.8
Domain Name System (DNS)
 ระบบ DNS จึงออกแบบชื่อมาเพื่อให้ผใู ้ ช้งานจดจาชื่อแทน IP Address
ซึ่งจาและใช้งานได้ง่ายกว่าคล้ายการโปรแกรมหมายเลขโทรศัพท์ใน
โทรศัพท์มือถือ
 www.bu.ac.th
 www.yahoo.com
 www.sanook.com
 www.google.com
 www.networks.com
5) Intranet คืออะไร
 อินทราเน็ต (Intranet) เป็ นเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ที่มีแนวความคิด
เหมือนกับอินเทอร์ เน็ต แต่ จะเชื่อมโยงกันเฉพาะภายใน เช่ น ภายใน
บริษัทหรือองค์ กรมากกว่ า เครือข่ ายอินทราเน็ตจะมีคุณลักษณะทีใ่ ห้
ประสิ ทธิภาพและความสามารถในการบริการได้ เช่ นเดียวกับ
อินเทอร์ เน็ตมีให้
คาจากัดความของ Intranet
อินทราเน็ต-เป็ นคานาม
1. เป็ นเครือข่ ายที่เชื่อมต่ อกันของ client ภายในเครือข่ าย ภายใต้
อนุสัญญาอินเตอร์ เน็ตพืน้ ฐานโดยใช้ โปรโตคอล TCP/IP และ
HTTP
2. ตัวคอมพิวเตอร์ 1 ตัว (node) ของเครือข่ ายมูลฐาน IP จะอยู่
ภายใต้ ไฟร์ วอล์ล โดยทีห่ ลายๆ ไฟร์ วอล์ลจะเชื่อมต่ อเพือ่ ให้ มี
ความปลอดภัยที่เป็ นไปได้ และมีได้ หลายเครือข่ าย
Internal web และ A corporate web
 Internal web ทีร่ ู้จักกันในนาม  web คือ เครือข่ ายของ
ของ intranet คือ การร่ วมกัน
Client/server ทีไ่ ม่ มีรูปร่ างและ
ระหว่ างองค์ กรทัว่ โลกจนเป็ นที่
โครงสร้ าง ซึ่ง HTTP เป็ นตัว
สนใจของสั งคม ประกอบไปด้ วย
ดาเนินการ
หลายๆ HTTP บนอินเตอร์ เน็ต
ส่ วนตัว เช่ น LAN หรือ WAN
ของระบบ
ความสามารถมากมายของ Intranet
 ความสนใจของสั งคมก็เป็ นปัจจัยในการดาเนินการของ web แต่ กย็ งั
ไม่ ได้ รับความร่ วมมือจาก client ในการสร้ าง intranet เช่ น กลุ่มงาน
(workgroup) กับ 1 server ,บริษัทกับหลายร้ อย server และ องค์ กรกับ
หมื่น server ที่สามารถร่ วมกันพิจารณาในการใช้ intranet
 Intranet Journal จึงอ้างถึง extranet ซึ่งเป็ นเวปส่ วนตัวทีเ่ ป็ น
intranet ที่ขยายพืน้ ที่ให้ กว้ างขวางออกไป แสดงให้ เห็นว่ าได้ มีการ
ประยุกต์ WAN ให้ มีการใช้ กบั ระบบเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
ความเกีย่ วโยงกันของ intranet กับ groupware
 Groupware จัดตั้งขึน้ โดยนักการตลาดในปี ค.ศ.1995 ซึ่งหมายถึง
software ทีม่ ีความสะดวกต่ อการทางานเป็ นกลุ่มที่ยงั ไม่ เคยปรากฏอยู่
ในคาจากัดความของประเภทของ software. ในปัจจุบันมีการใช้ น้อยลง
และทีย่ งั ใช้ อยู่กม็ ีเพียง 3 ผลิตภัณฑ์ คือ Lotus Notes, Microsoft
Exchange, Novell Group
 เทคโนโลยีอนิ ทราเน็ต เหมาะกับการใช้ งานจานวนมาก มีการทาให้ มนั สมบูรณ์ ใน
กรณีทพี่ นื้ ที่น้ันยังไม่ มีในเรื่องของความปลอดภัยและการค้ นหารวบรวม
ผลิตภัณฑ์ ของ groupware ขนาดใหญ่ จะเปลีย่ นจากเดิมเป็ นพืน้ ฐานทาง
สถาปัตยกรรมทางอินเตอร์ เน็ต เช่ น Microsoft Exchange 5.5 ยังมีการสนับสนุน
POP3 และ IMAP4 ,กลุ่มข่ าวพืน้ ฐานNNTP และการบริการการชี้แจง LDAP
ความเกีย่ วโยงกันของ intranet กับ e-mail
 E-mail ถูกสร้ างขึน้ โดย CyberHeaven โดยที่ e-mail เป็ น network’s
killer web และเป็ นพืน้ ฐานของข่ าวสารทางอินเตอร์ เน็ต ซึ่งอินทราเน็ต
จะมีการขนส่ ง mail โดยมีโปรโตคอล TCP/IP เหมือนกับอินเตอร์ เน็ต
 intranet มักใช้ MIME (Multipurpose Internet Mail Extensions)
เนื่องจากมีความสามารถในการส่ งข้ อมูลทีห่ ลากหลายมากกว่ า ทีจ่ ริงแล้ว
MIME ก็คอื เวปอีกชนิดหนึ่งทีส่ ามารถเพิม่ รูปแบบข้ อมูลได้ หลากหลาย
ยิง่ ขึน้ เช่ น streaming audio
Extranet คืออะไร
Extranet คือ อินทราเน็ตทีเ่ ชื่อมโยงกันเป็ นเครือข่ ายทัว่ โลกด้ วย
สายโทรศัพท์ หรือวงจรเช่ าต่ างๆ แต่ ทางานด้ วยมาตรฐานกลาง TCP/IP
เช่ นเดียวกับอินเตอร์ เน็ตหรือสามารถกล่าวได้ ว่าเป็ นเครือข่ าย
อินเตอร์ เน็ตทีม่ ีความปลอดภัยสู ง
ลักษณะทีส่ าคัญของ Extranet
1. Extranet ใช้ มาตรฐานเดียวกับอินเตอร์ เน็ต คือใช้ โปรโตคอล TCP/IP
2. เป็ นเครือข่ ายทีเ่ ชื่อมโยงกันระหว่ างบริษัท ลูกค้ า และบริษัทอืน่ ๆ ที่มี
จุดมุ่งหมายเดียวกัน
3. มีลกั ษณะคล้ายกับอินเตอร์ เน็ตทีม่ ีการเปิ ดออกสู่ โลกภายนอกมากขึน้
คล้ายกับอินเตอร์ เน็ตมีผู้ทสี่ ามารถเข้ าถึงข้ อมูลได้ มากขึน้ หรืออีกนัย
หนึ่งจะสามารถมองว่ าเป็ นอินเตอร์ เน็ตทีม่ ีระบบรักษาความปลอดภัยที่
ดีขึน้ ก็ได้
ข้ อกาหนดของ Extranet
• องค์ กรและบุคคลทีจ่ ะมารวมอยู่ในระบบเดียวกันได้ จะต้ องใช้ มาตรฐาน
เดียวกัน เช่ น ระบบ World Wide Web
• ระบบใหม่ จะต้ องช่ วยส่ งเสริมกิจกรรมขององค์ กรทั้งหมดทีเ่ กีย่ วข้ อง เช่ น
ช่ วยลดเวลาทีใ่ ช้ ในกระบวนการตรวจสอบสิ นค้ า การติดต่ อสั่ งซื้อสิ นค้ า
ซึ่งจะช่ วยลดปริมาณการสารองสิ นค้ าคงคลังได้ การทาให้ กจิ กรรมที่แต่
ละองค์ กรทาอยู่ดาเนินไปได้ ด้วยดี ถือว่ าเป็ นความสาเร็จของระบบ
Extranet
ข้ อกาหนดของ Extranet
• นอกจากจะรักษาสถานะภาพเดิมขององค์ กรไว้ ได้ แล้ว ระบบจะต้ อง
สามารถรองรับความเปลีย่ นแปลงในอนาคตได้ โดยไม่ จาเป็ นต้ องทิง้
ระบบเก่าทั้งหมด แต่ นาสิ่ งใหม่ ๆ เช่ น การเพิม่ ประสิ ทธิภาพของ
ระบบสื่ อสารมารวมเข้ ากับระบบเดิม
• ความสาเร็จของระบบจะขึน้ อยู่กบั การเลือกใช้ ซอฟท์ แวร์ ด้วย โดยจะต้ อง
ใช้ ซอฟต์ แวร์ ที่มคี วามสามารถพอที่จะสามารถใช้ งานได้ จริงๆ ไม่ ใช่
โปรแกรมทดลองหรือโปรแกรมที่เขียนโดยมือสมัครเล่น และทีส่ าคัญ
ต้ องรองรับการขยายตัวของระบบได้ ซึ่งในขณะนีก้ ม็ ีบริษัทหลายแห่ ง
เริ่มสร้ างซอฟต์ แวร์ สาหรับช่ วยให้ การดูแลระบบทาได้ ง่ายขึน้
LAN
WAN
Bandwidth
high
low
Scope
building
City
Protocols
diverse
Diverse
Security
very high
High
Intranet
Extranet
Bandwidth
high
Low
Scope
building
City
Protocols
internet
Internet
Security
moderate to
high
low to
moderate
ตารางแสดงให้เห็นความแตกต่าง
ของวิธีการเชื่อมต่อ และระดับของ
ความปลอดภัย โดยที่ระดับของ
ความปลอดภัย จะต่ากว่า LAN &
WAN เพราะ การเชื่อมต่อและส่ ง
ข้อมูลเป็ นไปโดยผ่านทางเครื่ องข่าย
Internet โดยการสื่ อสารผ่าน internet
จะต้องผ่านการควบคุม และ รักษา
ความปลอดภัย โดยการเชื่อมต่อที่มี
ระดับความปลอดภัยที่ต่ากว่าอย่าง
เห็นได้ชดั ก็คือ Extranet
ความสั มพันธ์ ระหว่ าง Intranet, Extranet และ e-commerce
 ในส่ วนแรก การติดต่ อสื่ อสารของ Intranet Extranet และ e-commerce
เป็ นการสื่ อสารผ่ าน internet เพือ่ connect business users
 ในส่ วนที่สอง Intranet เป็ น Local network มากกว่ า Extranet จึง
สามารถเคลือ่ นย้ ายหรือส่ งผ่ านข้ อมูลได้ รวดเร็วกว่ า Extranet
 ในส่ วนที่สาม network managers จะมีสามารถควบคุมเหนือกว่ าผู้ใช้ ได้
แตกต่ างกันในแต่ ละระบบ
 ใน Intranet Administrators สามารถจากัดกลุ่มผู้ใช้ ได้ ตัวอย่างเช่ น บริษทั
สามารถเจาะจง OS, standard browser และ mail client ทีใ่ ช้ ในการติดต่ อ บริษัท
สามารถเขียน applications เพือ่ ใช้ งานให้ เป็ น uniform เดียวกันในเครือข่ ายเพือ่
การควบคุม
 ใน B2B Extranet Architects ในแต่ ละบริษัท จะต้ องแน่ ใจว่ าส่ วนทีใ่ ช้ ในการ
ติดต่ อสื่ อสารและแลกความหมาย จะใช้ ได้ ทวั่ ไป เพราะลาพังบริษัทเดียว ไม่
สามารถมีเหตุผลใดๆ ทีด่ งึ ดูดลูกค้ า Extranet จึงถูกพัฒนาขึน้ เพือ่ ติดต่ อสื่ อสารใน
วงกว้ าง เป็ นต้ นว่ า ในบริษัททีเ่ ป็ นคู่ค้าแต่ ละแห่ งใช้ standard browsers ไม่
เหมือนกัน เมือ่ จะต้ องติดต่ อสื่ อสารกันผ่าน Extranet applications จึงต้ องถูก
เขียนขึน้ อย่ างเหมาะสมทีส่ ุ ด โดยจะต้ องใช้ ได้ กบั ระบบทีม่ รี ู ปแบบต่ างๆ
มาตรฐานของ internet พัฒนาเพือ่ business internetworking
 มาตรฐานของ internet ถูกพัฒนาเพือ่ ความต้ องการทางเศรษฐกิจ โดยลักษณะเด่ นของ
business internetworking อยู่ทกี่ ารใช้ พนื้ ทีใ่ นการทางานทีน่ ้ อยก็สามารถจะทางานได้
-
XML [eXtensible Markup Language]
LADP [Lightweight Directory Access Protocol]
PPTP and IPsec
Fast Ethernet
IPv6
ADSL[Asymmetric Digital Subscriber Line]
IMAP[Internet Message Access Protocol]
 นอกจากนี้ การระบุตาแหน่ ง[address] อาจเรียกได้ ว่าเป็ นโครงสร้ าง
พืน้ ฐาน มาตรฐานวิศวกรรม softwere กาลังพัฒนาให้ สะดวกในการ
พัฒนา application การพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐาน มาตรฐานวิศวกรรมนี้
รวมไปถึง Java UML XML DNA DEN Linux and Perl
มีคาถามไหมค่ ะ????
LOGO
แบบทดสอบที่ 1
เก็บ 10 คะแนน
Test
1. เครือข่ ายประกอบไปด้ วยอะไรบ้ าง จงอธิบาย
Test
2. เขียน IP Address มาหนึ่งชุด
Test
3. เขียน Mac Address มาหนึ่งชุด
Test
4. เขียน Domain Name Address มาหนึ่งชุด
Test
5. ชนิดของเครือข่ ายมีกชี่ นิด อะไรบ้ าง
Test
6. .ac.th ย่ อมาจากอะไร
Test
7. จงอธิบายอินทราเน็ตมาพอเข้ าใจ
Test
8. การติดต่ อสื่ อสารแบบไร้ มิติ หรือ Cyberspace
เป็ นอย่ างไร จงอธิบาย
Test
9. โครงการ Advanced Research Projects
Agency (ARPA) สร้ างขึน้ เพือ่ อะไร
Test
10. 1 terabyte เท่ ากับกีบ่ ิต
การส่ งงาน
 จับกลุ่มๆ ละ 4 คน
 ส่ งคาตอบ และ รหัส ชื่อ-สกุล ของสมาชิกในกลุ่ม มาที่
 ผศ.บุรัสกร อยูส่ ุ ข [email protected]