หลักประกันในกฎหมายอาญา

Download Report

Transcript หลักประกันในกฎหมายอาญา

ทฤษฎีและหลักกฎหมายอาญา
เรื่อง
หลักประกันในกฎหมายอาญา
โดย
รศ.อัจฉรียา ชูตินันทน์
หลักประกันในกฎหมายอาญา
นักกฎหมายอาญาเยอรมันผู้ยิ่งใหญ่ท่านหนึง่ คือ Ansem von
Feuerbach จึงได้ มีการวาง “หลักประกันในกฎหมายอาญา” ขึ ้น
เมื่อปี ค.ศ.๑๘๐๑ไว้ ๓ ประการ ดังนี ้
๑) การลงโทษต้ องมีกฎหมาย ๒) การลงโทษต้ องขึ ้นกับการมีอยู่ของ
การกระทา ๓) โทษที่จะลงต้ องเป็ นโทษที่กาหนดไว้ ในกฎหมาย เมื่อมี
การสถาปนาเป็ นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันจึงได้ นาหลักประกัน
กฎหมายอาญาบัญญัตไิ ว้ ในรัฐธรรมนูญมาตรา๑๐๓(๒)
•
หลักประกันในกฎหมายอาญา เรี ยกเป็ นภาษาลาตินว่า
“nullum crimen, nulla poena sine lege” สาหรับ
ประเทศเมื่อใช้ ประมวลกฎหมายอาญาฉบับแรก คือ กฎหมายลักษณะอาญา
รศ.๑๒๗
ต่อมาเมื่อประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครอง “หลักประกันใน
กฎหมายอาญา” นี ้ได้ รับการบัญญัติทงในประมวลกฎหมายอาญา
ั้
และ
รัฐธรรมนูญ หลักประกันในกฎหมายอาญานี ้จึงเป็ น“หลักรัฐธรรมนูญ”
-----------------------------------------------ประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒
เนื ้อหาของหลักประกันในกฎหมายอาญา บัญญัติไว้ ในมาตรา ๒ วรรคหนึง่ บัญญัติวา่
“บุคคลจักต้ องรับโทษในทางอาญาต่ อเมื่อได้ กระทาการอันกฎหมายที่
ใช้ ในขณะกระทาบัญญัตเิ ป็ นความผิดและกาหนดโทษไว้ และทาที่จะ
ลงแก่ ผ้ ูกระทาความผิดนัน้ ต้ องเป็ นโทษที่บัญญัตไิ ว้ ในกฎหมาย”
บทบัญญัติมาตรา ๒ แสดงให้ เห็นว่า “กฎหมายอาญาต้ อง
เกิดจากการบัญญัต”ิ เท่านัน้ กล่าวคือ
ประการแรก กฎหมายที่เกิดจากการบัญญัติสามารถกาหนดให้
การกระทาใดการกระทาหนึง่ เป็ นความผิด (nullum crimen
sine lege) และ
ประการที่สอง กฎหมายที่เกิดจากการบัญญัติเท่านันที
้ ่สามารถ
กาหนดโทษสาหรับการกระทาใดการกระทาหนึง่ โดยเฉพาะ(nulla
poena sine lege)
โดยทังหลั
้ กทังสองประการต้
้
องต้ องมีอยูก่ ่อนการกระทานันเสมอ
้
รัฐจึงต้ องบัญญัตกิ ฎหมายอาญาให้ ชดั เจนแน่นอนเสมอ
หลักประกันในกฎหมายอาญามีเนือ้ หาครอบคลุม ๔ ประการ ดังนี ้
๑) กฎหมายอาญาต้ องบัญญัตใิ ห้ ชัดเจนแน่ นอน
การบัญญัติกฎหมายอาญาต้ องบัญญัติให้ ชดั เจนแน่นอน
(nullum crimen sine lege certra) เป็ นไปตาม
“หลักความชัดเจนแน่ นอน” รัฐจึงต้ องบัญญัติกฎหมายให้ ชดั เจน
แน่นอนที่สดุ เท่าที่สามารถทาได้ โดยการบัญญัตกิ ฎหมายอาญาต้ อง
หลีกเลี่ยงการใช้ ถ้อยคาที่กากวมไม่แน่นอน
“หลักความชัดเจนแน่ นอน” ย่อมเป็ นหลักประกันว่า กฎหมายที่
บัญญัตนิ นตรงกั
ั้
บเจตจานงของฝ่ ายนิตบิ ญ
ั ญัตอิ ย่างแท้ จริง และยังเป็ น
เครื่ องป้องกันมิให้ ศาลใช้ อานาจตามใจชอบหรื อตามอาเภอใจหรื อตาม
ความรู้สกึ ของตน
ศึกษากรณีบทบัญญัตคิ วามผิดต่ อร่ างกายยังขาดความชัดแน่ นอน
๑) ความผิดฐานใช้ กาลังทาร้ ายไม่ถึงกับเป็ นเหตุให้ เกิดอันตราย
แก่กายหรื อจิตใจตามมาตรา ๓๙๑ เป็ นความผิดลหุโทษ กับความผิด
ฐานทาร้ ายร่างกายจนเป็ นเหตุให้ ได้ รับอันตรายแก่กายหรื อจิตใจตาม
มาตรา ๒๙๕ เป็ นความผิดอาญาทัว่ ไป ปั ญหาที่เกิดขึ ้นจากความผิดทัง้
สองฐาน คือ ผลของการทาร้ ายขนาดไหนจึงเป็ นอันตรายแก่กายหรือ
จิตใจและยังมีความสับสนในแง่ของกฎหมายอาญาและในแง่ของ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
-------------------------------------------------------ดู ฎีกาที่ ๒๕๓๖/๒๕๑๙ , ฎีกาที่ ๑๑๖/๒๕๐๓ , ฎีกาที่ ๑๔๙/
๒๕๒๐
๒) “อันตรายสาหัส” ในบทบัญญัติมาตรา ๒๙๗ วรรคสอง ที่วา่
“หน้ า เสียโฉมอย่ างติดตัว”เป็ นเรื่ องที่มีความเป็ น “อัตตวิสยั ”
(subjectivity) เพราะจะลงความเห็นว่าเป็ นอันตรายสาหัสเป็ นเรื่ อง
ของระยะห่างไกลที่สามารถมองเห็นได้ ชดั ว่า “หน้ าเสียโฉมอย่างติดตัว”
แล้ วหรื อไม่
๓) “อันตรายสาหัส” ในบทบัญญัติมาตรา ๒๙๗ วรรคสอง ที่วา่
“ทุพพลภาพ หรือป่ วยด้ วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่ ายี่สิบวัน
หรือจนประกอบกรณีกิจไม่ ได้ เกินกว่ ายี่สิบวัน” เป็ นเรื่ องที่มีความ
เป็ น “อัตตวิสยั ” (subjectivity) เพราะเป็ นการปล่อยให้ แพทย์ลง
ความเห็นแต่เพียงฝ่ ายเดียวจนกลายเป็ นอัตตวิสยั ของแพทย์ไป
----------------------------------------ดู ฎีกา ๑๖๖๓/๒๔๙๔ , ฎีกาที่ ๕๘๙/๒๕๑๐, ฎีกาที่ ๓๐๘๘/
๒๕๒๗
ศาลฎีกาได้ วินิจฉัยคดีหนึง่ ว่า “ผู้เสียหายถูกฟั นศีรษะ ๑ ที และถูกแทง
หลัง ๑ ที ต้ องรักษาตัวอยูท่ ี่โรงพยาบาล ๑๕ วัน แพทย์ก็ให้ กลับบ้ านและให้
ไปโรงพยาบาลทุก ๓ วัน เพราะประสาทยังไม่ปกติ ไปโรงพยาบาล ๓ ครัง้
แล้ วขอยามารักษาที่บ้าน เพียงเท่านี ้ไม่ ปรากฏอาการใดที่จะถือว่ าเป็ น
ทุกขเวทนาเกินกว่ า ๒๐ วัน วินิจฉัยว่ ายังไม่ เป็ นอันตรายสาหัส”
ศาลฎีกาได้ วินิจฉัยอีกคดีหนึ่งว่า “รถรางชนล้ มศีรษะกระแทกกับฐาน
ซีเมนต์โคนเสาไฟฟ้ากระเทือนถึงสมอง อ่านหนังสือไม่ได้ ๒๑ วัน ตลอดเวลา
๒ เดือน ยังเรี ยนหนังสือไม่ได้ ตามปกติ ดูหนังสือเกินชัว่ โมงก็ปวดศีรษะ เป็ น
บาดเจ็บสาหัสด้ วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่ า ๒๐ วัน”
จากการวินิจฉัยของศาลฎีกาทังสองฎี
้
กา ศาลฎีกาไม่ได้ ถือจานวน
วันเป็ นเกณฑ์เท่านันแต่
้ ศาลฎีกาจะดูพฤติการณ์ประกอบด้ วย
---------------------------------------------------------ฎีกาที่ ๖๑๗/๒๕๐๓
•
ฎีกาที่ ๕๑๒/๒๕๐๐
ข้ อเรี ยกร้ องในเรื่ อง “หลักความชัดเจนแน่ นอน”ในการบัญญัติ
กฎหมายอาญา มีความสาคัญยิ่งกว่ าข้ อห้ ามใช้ กฎหมายที่ใกล้ เคียง
อย่างยิ่งจน Prof. Dr. Hans Welzel ถึงกับกล่าว่า
“อันตรายที่แท้ จริงที่คุกคามหลักประกันกฎหมายอาญาไม่ได้ เกิดจาก
การใช้ กฎหมายใกล้ เคียงอย่างยิง่ แต่เกิดจากความไม่ ชัดเจนแน่ นอน
ของกฎหมายอาญา”
2) การห้ ามใช้ กฎหมายจารีตประเพณีลงโทษทางอาญาแก่ บุคคล
มาตรา ๒ วรรคหนึง่ บัญญัติวา่
“บุคคลจักต้ องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้ กระทาการอันกฎหมายที่
ใช้ ในขณะกระทาบัญญัตเิ ป็ นความผิดและกาหนดโทษไว้ และโทษที่
จะลงแก่ผ้ กู ระทาความผิดนันต้
้ องเป็ นโทษที่บญ
ั ญัตไิ ว้ ในกฎหมาย”
กฎหมายใช้ คาว่า “บัญญัต”ิ แสดงให้ เห็นว่า กฎหมายอาญา
ต้ องเป็ น “กฎหมายเกิดจากการบัญญัติ “กฎหมายเกิดจากการบัญญัต”ิ
จึงตรงข้ ามกับ “กฎหมายจารี ตประเพณี”
ห้ ามนากฎหมายจารี ตประเพณีมาใช้ ในกฎหมายอาญา หมายความ
ว่า กฎหมายจารีตประเพณีจะกาหนดให้ การกระทาเป็ นความผิด
ในทางอาญา หรือจะนากฎหมายจารีตประเพณีมาเพิ่มโทษไม่ ได้
(nullum poena sine lege scripta)
โดยข้ อเรี ยกร้ องให้ กฎหมายอาญาต้ องเป็ นกฎหมายที่เกิดจาการ
บัญญัตเิ ป็ นข้ อเรี ยกร้ องที่หนักกว่ากฎหมายแพ่งเพราะประมวลกฎหมาย
แพ่งมีมาตรา ๔
-------------------------------------------------------ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา๔ บัญญัติวา่ “เมื่อไม่มี
บทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได้ ให้ วินิจฉัยคดีนนตามจารี
ั้
ตประเพณี
แห่งท้ องถิ่น ถ้ าไม่มีจารี ตประเพรี เช่นว่านัน้ ให้ วินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบท
กฎหมายที่ใกล้ เคียงอย่างยิ่ง และถ้ าบทกฎหมายเช่นนันก็
้ ไม่มีด้วย ให้
วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทัว่ ไป”
๓) การห้ ามใช้ กฎหมายที่ใกล้ เคียงอย่ างยิ่งลงโทษทางอาญาแก่ บุคคล
การห้ ามใช้ กฎหมายใกล้ เคียงอย่างยิ่งในกฎหมายอาญา หมายถึง การห้ าม
ใช้ กฎหมายอาญาที่เกินเลยขอบเขตของบทบัญญัตทิ ี่พงึ หาได้ จากการตีความ
กฎหมาย
การห้ ามใช้ กฎหมายที่ใกล้ เคียงอย่างยิ่งลงโทษทางอาญาแก่บคุ คล เนื ้อหา
ของหลักประกันในกฎหมายอาญาข้ อนี ้การเกี่ยวข้ องกับตีความกฎหมายอาญา
อย่างใกล้ ชิด หมายถึง ตามมาตรา ๒ ห้ ามใช้ บทกฎหมายใกล้ เคียงอย่างยิ่ง
กาหนดหรื อขยายบทกฎหมายอาญาที่มีอยูแ่ ล้ ว รวมตลอดถึงห้ ามใช้ บท
กฎหมายที่ใกล้ เคียงอย่างยิ่งในทางเพิ่มโทษ คือ หากกรณีใดที่มกี ฎหมาย
ในส่วนที่เป็ นคุณแล้ ว ในกรณีนนก็
ั ้ ต้องใช้ กฎหมายในส่วนที่เป็ นคุณเสมอ
-------------------------------------------------------------------หยุด แสงอุทยั . กฎหมายอาญาภาค๑ พิมพ์ครัง้ ที่๑๖ สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.๒๕๓๗ .หน้ า๔๔-๔๕.
เรื่ องบุกรุก ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยในคดีหนึ่งว่า “การที่จาเลยใช้ ไม้ กระดานตี
ขวางทับประตูห้องพิพาทที่โจทก์ครอบครองในขณะที่โจทก์ไม่อยู่และปิ ดห้ อง
ไว้ ทาให้ โจทก์เข้ าห้ องไม่ได้ เป็ นการล่วงล ้าเข้ าไปกระทาการรบกวนการ
ครอบครองของโจทก์โดยปกติสขุ ตามมาตรา ๓๖๒แล้ ว”
จากคาวินิจฉัยของศาลฎีกาดังกล่าวเป็ นการวินิจฉัยเกินตัวบท และไม่ใช่
หลักที่จะใช้ ในการตีความกฎหมายอาญาลงโทษบุคคล
----------------------------------------------ฎีกาที่ ๑/๒๕๑๒
จิตติ ติงศภัทิย์ . กฎหมายอาญา ภาค๒ ตอน๑ พิมพ์ครัง้ ที่๘ จัดพิมพ์
โดยสานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ
ั ฑิตยสภา หน้ า๑๔๒๑.
เรื่ องการเอารถยนต์ของผู้อื่นไปใช้ โดยไม่ได้ รับอนุญาต
เรื่ องการลักกระแสไฟฟ้า
ศาลพิพากษาลงโทษสองกรณีดงั กล่าวนันเป็
้ นการใช้ กฎหมาย
ใกล้ เคียงอย่างยิ่งมาลงโทษทางอาญาแก่บคุ คล ศาลจึงชอบที่จะพิพากษา
ยกฟ้องและปล่อยให้ เป็ นหน้ าที่ของฝ่ ายนิตบิ ญ
ั ญัติ
---------------------------------------------------ฎีกาที่ ๑๒๑๒/๒๕๑๔
ฎีกาที่ ๘๗๗/๒๕๐๑
๔) กฎหมายอาญาไม่ มีผลย้ อนหลัง
จากถ้ อยคาในมาตรา๒ วรรคหนึง่ ที่วา่ “กฎหมายที่ใช้
ในขณะกระทาบัญญัตเิ ป็ นความผิด” แสดงให้ เห็นชัดถึงข้ อห้ าม
ย้ อนหลังของกฎหมายอาญา หลักประกันข้ อนี ้แสดงให้ เห็นถึง “หลักนิติ
รัฐ”
“การห้ ามใช้ กฎหมายอาญาย้ อนหลัง” หมายความว่า ถ้ า
บุคคลได้ กระทาการอย่างใดลงและในขณะกระทานันการกระท
้
านันไม่
้ มี
โทษทางอาญาแล้ ว ย่อมไม่อาจจะบัญญัติให้ ย้อนหลังว่าการกระทานัน้
เป็ นการกระทาที่ต้องรับโทษในทางอาญาได้ โดยเด็ดขาด
เรื่ องเช็ค ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยในคดีหนึง่ ว่า “ออกเช็คก่อน
พระราชบัญญัตวิ า่ ด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค พ.ศ. ๒๕๐๓ ลง
วันล่วงหน้ าไปถึงวันที่ใช้ พระราชบัญญัตินนแล้
ั ้ ว นับแต่วนั นันจ
้ าเลย
ไม่ได้ กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตดิ งั กล่าว จาเลยย่อมไม่มี
ความผิด จากกรณีดงั กล่าว การกระทาของจาเลยเกิดก่อน
พระราชบัญญัตวิ า่ ด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค พ.ศ.๒๕๐๓ใช้
บังคับจาเลยจึงไม่มีความผิดเพราะขณะออกเช็คยังไม่มีกฎหมาย
บัญญัตวิ า่ การกระทานันเป็
้ นความผิด
-----------------------------------------------ฎีกาที่ ๑๙๙๗/๒๕๐๐
หลักกฎหมายที่วา่ กฎหมายไม่มีผลย้ อนหลังไม่ใช้ ในกรณีที่เป็ น
กฎหมายวิธีสบัญญัตนิ อกจากนี ้วิธีเพื่อความปลอดภัยย้ อนหลังได้
เพราะวิธีเพื่อความปลอดภัยใช้ ในทันทีเพื่อให้ สงั คมปลอดภัยจาก
ผู้กระทาความผิดในเวลาเร็วที่สดุ
-------------------------------------
หยุด แสงอุทยั . กฎหมายอาญา ภาค๑ พิมพ์ครัง้ ที่๑๖ สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . ๒๕๓๗. หน้ า๒๑๓