ยาในประเทศไทย - Drug in Daily Life 2/2014

Download Report

Transcript ยาในประเทศไทย - Drug in Daily Life 2/2014

ยาในประเทศไทย
ั ์ อาภาศรีทองสกุล
สมศกดิ
ั
คณะเภสชศาสตร์
มหาวิทยาล ับมหาสารคาม
เอกสารประกอบการสอนวิชา ยาในชวี ต
ิ ประจาว ัน
9-10 เมษายน 2557
ยาในประเทศไทย







ยาเป็ นมากกว่าการรักษาโรค
แหล่งกระจายยา
ประเภทของยา
การขออนุญาต
การโฆษณา
การสง่ เสริมการขาย
คุณภาพยา
ยาเป็ นมากกว่าการรักษาโรค

ยาคืออะไร




มีคณ
ุ อนันต์ มีโทษมหันต์
ิ ค ้าพิเศษ ต่างจากสน
ิ ค ้าทั่วไป
เป็ นสน
การเข ้าถึงยา


้
ดูรายละเอียดจากเรือ
่ ง หลักการใชยา
ั ราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศก
ั กรไปถึงทีน
ยาอยูท
่ ไี่ หน เภสช
่ ั่น
รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550



ิ ธิเสมอกันในการรับบริการทาง
มาตรา ๕๑ บุคคลย่อมมีสท
ิ ธิ
สาธารณสุขทีเ่ หมาะสมและได ้มาตรฐาน และผู ้ยากไร ้มีสท
ได ้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
ี ค่าใชจ่้ าย
โดยไม่เสย
ิ ธิได ้รับการบริการสาธารณสุขจากรัฐซงึ่ ต ้อง
บุคคลย่อมมีสท
ิ ธิภาพ
เป็ นไปอย่างทั่วถึงและมีประสท
ิ ธิได ้รับการป้ องกันและขจัดโรคติดต่ออันตราย
บุคคลย่อมมีสท
ี ค่าใชจ่้ ายและทันต่อ
จากรัฐอย่างเหมาะสมโดยไม่เสย
เหตุการณ์
การสารวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2554


ผู ้ป่ วยทีไ่ ม่ต ้องนอนพักรักษาในสถานพยาบาล#
ึ ไม่สบาย
 เจ็บป่ วย/รู ้สก
 โรคเรือ
้ รัง/โรคประจาตัว
 อุบต
ั เิ หตุ/ถูกทาร ้าย
เปรียบเทียบกับ พ.ศ. 2550
ึ ไม่สบาย
 เจ็บป่ วย/รู ้สก
 โรคเรือ
้ รัง/โรคประจาตัว
 อุบต
ั เิ หตุ/ถูกทาร ้าย
ร ้อยละ##
29.3
20.6
16.0
2.5
20.3
15.8
2.5
ั ภาษณ์ (สม
ั ภาษณ์ 26,500 ครัวเรือนในทุกจังหวัด)
ในรอบ 1 เดือนก่อนวันสม
## ร ้อยละของประชากรทัง
้ หมด
 #

http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/healthy/healthyExec54.pdf
การสารวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2554
ร ้อยละ

สถานทีร่ ับบริการสาธารณสุขครัง้ สุดท ้าย
ผู ้ป่ วยทีม
่ ก
ี ารรักษา




สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
ื้ /หายากินเอง
ซอ
สถานพยาบาลเอกชน
รักษาด ้วยวิธอ
ี น
ื่
่ หมอพืน
เชน
้ บ ้าน หน่วยแพทย์เคลือ
่ นที่
68.5
39.7
18.8
9.8
0.2
แหล่งกระจายยา

่ ในสงั กัด สธ.
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เชน



โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล-รพ.สต.
/เดิมคือสถานีอนามัย-สอ.
โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์
่
สถานพยาบาลเอกชน เชน

คลินก
ิ แพทย์ โรงพยาบาลเอกชน

ร ้านยา

ร ้านค ้าทั่วไป ร ้านชา ฯลฯ → ยาสามัญประจาบ ้าน

หมอพืน
้ บ ้าน
→ ยาสมุนไพร ภูมป
ิ ั ญญาพืน
้ บ ้าน

สถานพยาบาลเอกชน




พรบ.สถานพยาบาล
ิ ปะ
สานั กสถานพยาบาลและการประกอบโรคศล
สานั กงานสาธารณสุขจังหวัด สสจ.
ร ้านยา ร ้านค ้า ร ้านชา รถเร่ ฯลฯ



พรบ.ยา
สานั กงานคณะกรรมการอาหารและยา อย.
สานั กงานสาธารณสุขจังหวัด สสจ.
ยาชุด สุดอันตราย





้
คุยกับยายคนนึงทีใ่ ชยาชุ
ด/ยาลูกกลอนเล่าให ้ฟั งว่า
้
้ ้วดี หายเร็ว เวลาปวดก็กน
“ยายใชมานานแล
้ว ใชแล
ิ อีก
ื้ ครัง้ นึงก็ประมาณ
ไม่กน
ิ ไม่ได ้ จะไม่ได ้ทางานเพราะปวดมาก ซอ
1,000-2,000 บาท บางทีกไ
็ ปคลินก
ิ หมอ
ได ้ยาเป็ นชุดๆมากิน อาการปวดหายเป็ นปลิดทิง้ เลย”
วันนีม
้ านอนรพ. ด ้วยอาการบวมทั่วตัว มีเลือดออกใน
กระเพาะอาหาร ...
ื้ ยามากิน พบว่า ร ้านชาในหมูบ
จึงถามถึงแหล่งทีม
่ าทีซ
่ อ
่ ้านนั่ นเอง
...
ภญ.จันทร์จรีย ์ ดอกบัว (รพ.ปทุมราชวงศา จ.อานาจเจริญ)
ยาชุด สุดอันตราย





้
คนในหมูบ
่ ้านเขตรับผิดชอบของผม นิยมใชยาชุ
ดกันมาก
ใคร ๆ ก็ใช ้ เขาบอกว่าได ้ผลเร็วทันใจ บอกต่อ ๆ กัน
ื้ ก็งา่ ยในชุมชน และทีต
หาซอ
่ ลาด
และแล ้วก็ได ้มีผู ้ป่ วยคนหนึง่ เป็ นหญิงวัยกลางคน มีอาการแพ ้
ยาชุดอย่างรุนแรงจนบวม ผิวหนังลอก ปากเปื่ อย
ข่าวนีท
้ าให ้ชาวบ ้านแตกตืน
่ และหวาดกลัวว่าเกิดจากอะไร
เขาได ้ไปรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาล หมอบอกว่าเขาแพ ้ยา
้ ใ่ นยาชุดนั่นเอง
ทีใ่ ชอยู
ชาวบ ้านบอกเราว่ากลัวแล ้ว ไม่เอาแล ้วยาชุด ได ้เห็นกับตา
้
อันตรายจริง ๆ และหมูบ
่ ้านนัน
้ ก็ไม่นย
ิ มใชยาชุ
ดกันเท่าไรแล ้ว
ิ ป์ นิลวรรณ (รพ.สต.หัวเสอ
ื อ.ขุขน
ภก.พีรศล
ั ธ์ จ.ศรีสะเกษ)
ยาชุด สุดอันตราย



ยาชุด หมายถึง ยาทีผ
่ ู ้ขายจัดไว ้เป็ นชุด โดยทั่วไปจะมียา
ี า่ งๆ กัน ในยา 1 ชุด
ตัง้ แต่ 3-5 เม็ดขึน
้ ไป มีรป
ู แบบและสต
ื้
จะประกอบด ้วยยาหลายๆ ชนิดรวมกัน ผู ้ขายจะให ้ผู ้ซอ
กินครัง้ ละ 1 ชุด โดยไม่มก
ี ารแบ่งว่าเป็ นยาชนิดใด ควรกิน
เวลาใด
ยาชุด ผิดกฎหมาย อันตราย ตายผ่อนสง่
http://elib.fda.moph.go.th/library/default.asp?page2=s
ubdetail&id_L1=27&id_L2=19683&id_L3=2568
ประเภทของยา

จาแนกตามการขออนุญาต




ยาแผนปั จจุบน
ั
ยาแผนโบราณ
ยาสมุนไพร
จาแนกตามระดับของอันตรายจากยา




ยาควบคุมพิเศษ
ยาอันตราย
่ าอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
ยาบรรจุเสร็จทีไ่ ม่ใชย
ยาสามัญประจาบ ้าน
การขออนุ ญาต

การนาหรือสงั่ ยาเข ้าฯ การผลิตยา การขายยา
ต ้องได ้รับใบอนุญาตก่อน

ยกเว ้น




การผลิตยาโดยกระทรวง ทบวง กรม ในหน ้าทีป
่ ้ องกันหรือบาบัดโรค
ั กรรม (องค์การเภสช
ั กรรมเป็ นโรงงานผลิต
สภากาชาดไทย องค์การเภสช
ยาของรัฐ เป็ นรัฐวิสาหกิจ สงั กัด สธ.)
การขายยาสามัญประจาบ ้าน

ร ้านค ้าทั่วไป ร ้านชา ...

หมอพืน
้ บ ้าน หมอสมุนไพร ...
สมุนไพรสาธารณสุขมูลฐาน
สมุนไพรใกล ้ตัว สมุนไพรน่าใช ้ ...
่ าอันตราย
การขายยาสมุนไพรทีไ่ ม่ใชย



ฯลฯ
ยาสมุนไพร




ั ว์ หรือแร่
ยาสมุนไพร หมายความว่า ยาทีไ่ ด ้จากพฤกษชาติ สต
ซงึ่ มิได ้ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ
ยาสมุนไพรทีเ่ ป็ นยาอันตราย
้ ารับยาแผนโบราณ ตัวอย่างเชน
่
ซงึ่ ไม่อนุญาตให ้ใชในต
 เมล็ดมะกลา
่ ตาหนู
 เมล็ดสลอด
 น้ ามันสลอด
สมุนไพรดองดึง

โฆษกกระทรวงสาธารณสุข แนะประชาชน
ไม่ควรปลูกสมุนไพรดองดึง ร่วมกับพืชผักสวนครัวทีก
่ น
ิ ใบ-ผล
หรือยอดอ่อน เพือ
่ ป้ องกันการเก็บผิดพลาด




เนือ
่ งจากดองดึงมีสารหลายชนิดทัง้ ทีม
่ ส
ี รรพคุณเป็ นยาและ
ี ชวี ต
มีความเป็ นพิษสูง ถึงขัน
้ เสย
ิ
้
พืชชนิดนีต
้ ้องใชโดยผู
้มีความรู ้เท่านัน
้
ี ชวี ต
โดยล่าสุดพบเสย
ิ แล ้ว 1 รายทีจ
่ .ศรีสะเกษ จากการกินผล
ดองดึงเพราะเข ้าใจผิดว่าเป็ นผลของต ้นสลิด
สมุนไพรดองดึง



หากพบผู ้ป่ วยจากการกินลูกดองดึง
ให ้ชว่ ยชวี ต
ิ เบือ
้ งต ้นโดยให ้กินไข่ขาวหรือดืม
่ นมทันที
เพือ
่ ทาให ้อาเจียนออกมาให ้มากทีส
่ ด
ุ
ึ พิษเข ้าร่างกาย
เพือ
่ ลดการดูดซม
และรีบสง่ ไปโรงพยาบาลทันที
http://www.thaigov.go.th/th/news-ministry/2012-0815-09-44-34/item/81581
ร้านขายยาแผนปัจจุบนั


ร ้านขายยาแผนปั จจุบน
ั
ั กรอยูป
ต ้องมีเภสช
่ ฏิบต
ั ก
ิ าร ตลอดเวลาทาการ
(=ตลอดเวลาทีเ่ ปิ ดร ้าน)
ร้านขายยาแผนปัจจุบนั
เฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ




ั กร
ผู ้มีหน ้าทีป
่ ฏิบต
ั ก
ิ ารไม่ใชเ่ ภสช
จากัดจานวน กาหนดโควตา ไม่อนุญาตร ้านใหม่
หลายร ้าน เปลีย
่ นเป็ นร ้านขายยาแผนปั จจุบน
ั
มีจานวนลดลง
ร้านขายยาแผนโบราณ


ร ้านขายยาแผนโบราณ
ี การแพทย์แผนไทย
ต ้องมีผู ้ประกอบวิชาชพ
ั กรรม เป็ นผู ้มีหน ้าทีป
สาขาเภสช
่ ฏิบต
ั ก
ิ ารตลอดเวลาทาการ
(=ตลอดเวลาทีเ่ ปิ ดร ้าน)
การโฆษณายา

ห ้ามโฆษณา



ี
โฆษณาได ้เฉพาะการโฆษณาโดยตรงต่อผู ้ประกอบวิชาชพ


แสดงสรรพคุณยาอันเป็ นเท็จหรือเกินความจริง
ทาให ้เข ้าใจว่ามีวัตถุใดเป็ นตัวยาหรือเป็ นสว่ นประกอบของยา
ซงึ่ ความจริงไม่มวี ัตถุหรือสว่ นประกอบนั น
้ ในยา หรือมี
แต่ไม่เท่าทีท
่ าให ้เข ้าใจ
่ สรรพคุณยาอันตรายหรือยาควบคุม
เชน
การโฆษณายาต ้องได ้รับอนุญาตก่อน

ื่ ต่างๆ เชน
่ วิทยุ โทรทัศน์
ดังนัน
้ การโฆษณายาทางสอ
นิตยสาร เป็ นต ้น




่ า
โฆษณาได ้เฉพาะยาสามัญประจาบ ้าน ยาบรรจุเสร็จทีไ่ ม่ใชย
อันตรายหรือยาควบคุมพืเศษ
ห ้ามโฆษณาแสดงสรรพคุณยาอันเป็ นเท็จหรือเกินความจริง
ห ้ามโฆษณาทาให ้เข ้าใจว่ามีวัตถุใดเป็ นตัวยาหรือเป็ น
สว่ นประกอบของยา ซงึ่ ความจริงไม่มวี ัตถุหรือสว่ นประกอบนั น
้ ใน
ยา หรือมีแต่ไม่เท่าทีท
่ าให ้เข ้าใจ
ต ้องได ้รับอนุญาตก่อน
คุณภาพยา

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์



ตรวจวิเคราะห์คณ
ุ ภาพ
ศูนย์วท
ิ ยาศาสตร์การแพทย์ เขต
่ ขอนแก่น อุดรธานี นครราชสม
ี า อุบลราชธานี
เชน
 ตรวจวิเคราะห์คณ
ุ ภาพในเขตจังหวัด
http://www.dmsc.moph.go.th
http://www.tumdee.org/alert/
ว ัตถุประสงค์
1. เพือ
่ พัฒนาระบบแจ ้งเตือนภัยและฐานข ้อมูลคุณภาพความปลอดภัย
ผลิตภัณฑ์สข
ุ ภาพ
2. เพือ
่ สร ้างเครือข่ายการคุ ้มครองผู ้บริโภคในการเฝ้ าระวังและจัดการปั ญหา
คุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สข
ุ ภาพ ครอบคลุมทุกพืน
้ ทีข
่ อง
ประเทศไทย
3. เพือ
่ สร ้างระบบและรูปแบบการป้ องกันแก ้ไขปั ญหาผลิตภัณฑ์สข
ุ ภาพที่
ิ ธิภาพและประสท
ิ ธิผล โดยผ่านการเรียนรู ้
ไม่ปลอดภัยของประเทศทีม
่ ป
ี ระสท
ด ้วยการปฏิบต
ั ิ
เครือ
่ งดืม
่ น้ าหมักพืชแท ้ หอม หวาน เย็นซา่ เต็มพลัง ตราผู ้ใหญ่สพ
ุ รรณ
(พบ ไดคลอโรมีเทน หรือ เมทิลน
ี คลอไรด์) #9 ก.ย. 2556 : 16.00 น.
แก๊สหัวเราะ ไนตรัสออกไซด์ ยาเสพติดตัวใหม่#10 ต.ค. 2556 : 14.00 น.
ยาผงจินดามณี (ยาผีบอก) (พบ เดกซาเมทาโซน) #12 ก.ย. 2556 : 16.00 น.
อังคาร 15 ธันวาคม 2552
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย
้
ิ จากผู ้แทนยา
2.1 ผู ้สงั่ ใชยาไม่
พงึ รับประโยชน์อน
ั เป็ นทรัพย์สน
่
หรือบริษัทยา เชน
2.1.1 ของขวัญ รวมถึงการจัดอาหารและเครือ
่ งดืม
่
2.1.2 ตัวอย่างยา
2.1.3.เงิน สงิ่ ของ หรือประโยชน์อน
ื่ ใดทีบ
่ ริษัทยาให ้แก่ผู ้สงั่ ใช ้
่ า่ ตอบแทนวิทยากร
ยาเป็ นสว่ นตัว ทีไม่ใชค



3.1 ผู ้บริหารหรือผู ้มีอานาจ ไม่พงึ รับประโยชน์อน
ื ใด ซงึ เป็ น
ิ และบริการจากบริษัทยาหรือ
ทรัพย์สน
ผู ้แทนยา อันนามาซงึ ประโยชน์สว่ นตนหรือผู ้อืน เพือแลก
ิ ใจสงั ซอ
ื 6 ยานัน6 เชน
่ ของขวัญ
เปลีย นกับการตัดสน
เงิน สงิ ของ ตัวอย่างยา การจัดอาหารและเครือ งดืม



ั กรใน
4.2 ในการนาตัวอย่างยามาจ่ายให ้กับผู ้ป่ วย เภสช
ั กรรม หรือหน่วยงาน
สถานพยาบาล สถานบริการเภสช
พึงคานึงถึงประโยชน์ทผ
ี่ ู ้ป่ วยได ้รับเป็ นสาคัญ ไม่มงุ่ หวังเพือ
่
เป็ นการสง่ เสริมการขายยาหรือประโยชน์สว่ นตน
และพึงจัดให ้มีระบบกากับดูแลการรับและการจ่ายตัวอย่างยา
ของสถานพยาบาลหรือหน่วยงาน ซงึ ควรเป็ นระบบที่
ตรวจสอบได ้



ึ ษา ไม่พงึ อนุญาตให ้ผู ้แทนยาเข ้าพบนักศก
ึ ษา
7.1 สถานศก
เพือ
่ การโฆษณายาหรือการสง่ เสริมการขายยา
ึ ษา ไม่พงึ อนุญาตให ้มีการจัดกิจกรรมให ้ข ้อมูล
7.2 สถานศก
ึ ษา ทีเ่ ชอ
ื่ มโยงถึงชอ
ื่ ทางการค ้า
ความรู ้เกีย
่ วกับยาแก่นักศก
ของยา หรือบริษัทยา เพือ
่ ป้ องกันการโฆษณาแอบแฝง
ึ ษา ไม่พงึ อนุญาตให ้นักศก
ึ ษารับเงิน สงิ่ ของ หรือ
7.3 สถานศก
การสนับสนุนอืน
่ ๆ จากบริษัทยาโดยตรง