Download! - โรงพยาบาลบึงกาฬ

Download Report

Transcript Download! - โรงพยาบาลบึงกาฬ

SA II-3 สิง่ แวดล้ อมในการดูแลผู้ป่วย
เป้าหมาย/ประเด็นคุณภาพทีส่ าคัญ
“ปลอดภัย ประสิ ทธิภาพ เรียนรู้ เยียวยา”
คณะกรรมการสิ่งแวดล้ อมและความปลอดภัย
 คณะกรรมการ ENV
ประกอบด้วย สหสาขาวิชาชี พ
โครงสร้ างเดิ มโรงพยาบาลชุ มชนขนาด 90 เตียง เมื่อถูกยก
ฐานะโรงพยาบาลทัว่ ไป ระดับ Standard (S) ทาให้โครงสร้าง
โรงพยาบาล ได้ปรับเปลี่ยนตามบริ บท
ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ
วัสดุและของเสี ยอันตราย
การจัดการกับภาวะฉุกเฉิ น
ความปลอดภัยจากอัคคีภยั
เครื่ องมือ
สิ่ งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริ มสุ ขภาพ
ระบบสาธารณูปโภค
การพิทกั ษ์สิ่งแวดล้อม
 เน้ นให้ เป็ นไปตามกฎหมายทีก่ าหนด และเอือ้ ต่ อความปลอดภัย/ประสิ ทธิภาพ
 การดาเนิ นงาน คณะกรรมการ ENV Round
พบเรื่ องที่เสนอปรับปรุ ง
33 เรื่ อง ได้ดาเนินการไปแล้ว 26 เรื่ อง คิดเป็ นร้อยละ 78.79 % เช่น การ
ต่อเติมพื้นที่ภายในอาคารกุมารเวชกรรม, ขยายห้อง NICU เพิ่มขึ้น จัดทา
ตาข่ายกั้นป้ องกันการตกตึกที่ตึกอายุรกรรมชาย จัดทาห้องน้ าคนพิการ
 ระบบบริหารอาคารสถานที่และการรักษาความปลอดภัย
 งานบริ หารอาคารสถานที่และการรักษาความปลอดภัย
 งานภาคสนาม
 งานรักษาความปลอดภัยโรงพยาบาลเหมาบริ การขององค์การทหารผ่านศึก
 การจัดระเบี ยบอาคารสถานที่ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน 5 ส ประเมิ นโดย
คณะกรรมการทุก 6 เดือน
 การตรวจสอบความเสี่ ยง/การปฏิบัติทไี่ ม่ ปลอดภัย
 ที มช่ างซ่ อมบารุ ง รั บผิดชอบอาคารสถานที่ จัดแผนตรวจสอบรายเดื อน
และมีการตรวจสอบจากภายนอกโดยผูเ้ ชี่ ยวชาญจากศูนย์วิศวกรรมความ
ปลอดภัยเขต ขอนแก่น ปี ละ 1 ครั้ง
 ในรอบ 1-2 ปี ความเสี่ ย งที่ พ บ คื อ น้ า ท่ ว มบ้า นพัก เจ้า หน้า ที่ รอยรั่ ว
หลังคาทางเดิน
 ความเสี่ ยงด้ านสิ่ งแวดล้ อมทีส่ าคัญและการป้ องกัน
 โดยคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมและความปลอดภัย ค้นหาความเสี่ ยงด้าน
สิ่ งแวดล้อมเชิงรุ ก (ENV Round)
 การให้ ความรู้ และฝึ กอบรมด้ านสิ่ งแวดล้ อมในรอบปี ที่ผ่านมา
 การสร้างจิตสานึกด้านอนุรักษ์พลังงาน
 อบรมป้ องกันอัคคีภยั และการใช้อุปกรณ์ดบั เพลิง
 อบรมคณะกรรมการดาเนิ นกิจกรรม 5 ส
 ซ้อมแผนอุบตั ิเหตุหมู่ /กลุ่มชน
 ประชุมการควบคุมป้ องกันการติดเชื้อ ใน รพ.
 คณะกรรมการ ENV ได้ดาเนิ นการร่ วมกับคณะกรรมการ IC โดย
คณะกรรมการ ENV ดาเนินการคือ
 การปรับปรุ งสถานที่พกั ขยะ โดยแยกเป็ นสัดส่ วน
 ภาวะฉุ กเฉินหรือภัยพิบัตท
ิ มี่ โี อกาสประสบ
 ผลเสี ยหายต่อสิ่ งแวดล้อมและบุคคล ได้แก่ น้ าท่วม พายุ ฟ้ าผ่า โรคระบาด
 ภาวะฉุ กเฉิ นหรื อภัยพิบตั ิที่ทาให้การบริ การหยุดชะงัก ได้แก่ ระบบโทรศัพท์
 การเกิดโรคระบาด เช่น การระบาดโรคตับอักเสบเอ
 ความปลอดภัยจากอัคคีภัย
 การจัดทาแผนป้ องกันและระงับอัคคีภยั ทั้งระดับโรงพยาบาล และระดับหน่วยงาน
 คณะกรรมการ ENV สารวจจุดเสี่ ยงที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภยั ปรับปรุ งจุดเสี่ ยง
 อุปกรณ์เกี่ยวกับระบบดับเพลง ได้แก่ เครื่ องดับเพลง
 การประเมินเครื่องมือ ให้ เพียงพอ และพร้ อมใช้ โดยคณะกรรมการเครื่ องมือและ
อุปกรณ์การแพทย์ ได้ทบทวนการบริ หารเครื่ องมือและอุปกรณ์การแพทย์ รวมเป็ น
ศูนย์เครื่ องมือ และมีแผนการจัดหาเพิ่มเติม ดังนี้
 เครื่ อง Infusion pump
 เครื่ องกระตุกหัวใจไฟฟ้ า
 เครื่ องช่วยหายใจชนิดควบคุมปริ มาตร
 มีการสอบเทียบเครื่องมือ
 เครื่ องมือเสี่ ยงสู ง
 เครื่ องมือเสี่ ยงปานกลาง
 เครื่ องมือเสี่ ยงต่า
 ระบบไฟฟ้า มีเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ าสารองฉุ กเฉิ น ระบบสตาร์ ทอัตโนมัติเมื่อ
ไฟฟ้ าดับ ภายใน 7 วินาที สามารถผลิตไฟฟ้ าต่อเนื่องได้นาน 48 ชัว่ โมง
 ระบบประปา มีระบบประปาภูมิภาคสารอง มีถงั น้ าสารองปริ มาณ 300 ลบ.
เมตร ใช้ในอาคารผูป้ ่ วยได้นาน 2 วัน
 น้ าบริ โภค มีการตรวจสอบคุณภาพ 4 ครั้ง/ปี
 น้ าอุปโภค มีการตรวจสอบคุณภาพ 3 ครั้ง/ปี
โดยส่ งตรวจที่ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ การแพทย์อุดรธานี
 ระบบปรั บ อากาศ และระบายอากาศ มี เ ครื่ อ งปรั บ อากาศแบบแยกส่ ว น
จานวน 320 ตัว มี การบารุ งรั กษาโดยทาสัญญากับผูร้ ั บเหมาบริ การภายนอก
โรงพยาบาล และมี การตรวจวัดระบบระบายอากาศ การปนเปื้ อนในอากาศ
จากภายนอก 1 ครั้ง/ปี จากศูนย์วศิ วกรรมการแพทย์ ขอนแก่น
 ระบบสื่ อสาร โทรศัพท์ภายใน 200 คู่สาย โทรศัพท์ภายนอก 22 เลขหมาย
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 25 เลขหมาย วิทยุสื่อสาร 15 เครื่ อง บารุ งรักษาโดยทีมซ่ อม
บารุ ง
 ระบบแก๊ สทางการแพทย์ (Medical Gas) มี LIQUID OXYGEN บรรจุแก๊สได้
5,000 ลิตร เมื่อมีเหตุฉุกเฉิ น สารองถังออกซิ เจนได้ 24 ถัง และได้ทาสัญญากับ
บริ ษทั TIG นาส่ งแก๊สเมื่อแก๊สระดับ 70 นิ้ วน้ า มีการตรวจสอบโดยทีมซ่ อม
บารุ ง
 ระบบไฟฟ้าสารอง โรงพยาบาล มีเครื่ องสารองไฟ (Emergency Light) 18 จุด
84 เครื่ อง ติดตั้งจุ ดบริ การที่ เป็ นจุ ดเสี่ ยง ได้แก่ ห้องผ่าตัด ห้องคลอด ห้อง
ฉุกเฉิ นฯ ICU และบันไดหนีไฟ
 โรงพยาบาลได้ กาหนดนโยบายสาธารณสุ ข เช่น
 โรงพยาบาลปลอดบุหรี่ และแอลกอฮอล์
 โรงพยาบาลสายใยรักแห่ งครอบครัว
 การลดโรคร้อนโดยการคัดแยกขยะ
 นโยบาย 5 ส
 โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ
 ระบบบาบัดน้าเสี ย เป็ นระบบคลองวนเวียนโดยใช้ใบพัดเติมอากาศ มี ขนาด
ความจุ 400 ลบ.เมตร ความสามารถในการบาบัดของระบบ 200 ลบ.เมตร/วัน
ผูร้ ั บผิดชอบผ่านการอบรมหลักสู ตรผูด้ ูแลระบบบาบัดน้ าเสี ย และมี การส่ ง
ตัวอย่างน้ าทิ้งที่หอ้ งปฏิบตั ิการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข
 ระบบจัดการปริมาณของเสี ย ประเภทขยะ 4 ประเภท คือ ขยะทัว่ ไป ขยะติด
เชื้อ ขยะอันตราย และขยะรี ไซเคิล
 การปรับปรุงและต่อเติมอาคารเพื่อให้ เพียงพอต่อการปฏิบตั ิงานและการให้ บริ การ
 ปรับปรุงเส้ นทางจราจรในโรงพยาบาล
 การจัดการภาวะฉุกเฉินและการป้องกันฟ้าผ่า น ้าท่วม
 ก่อสร้ าง ต่อเติมเพื่อป้องกันความเสี่ยง เช่น ทางลาด ราวกัน้
 ก่อสร้ างห้ องน ้าคนพิการ
 ก่อสร้ างตามมาตรฐาน IC เช่น อ่างล้ างมือ ติดตังพั
้ ดลมดูดอากาศ
 รณรงค์ 5 ส. /การประเมิน 5 ส.
 ปรับปรุงงานรักษาความปลอดภัย
 ปรับปรุงระบบการกาจัดขยะ
 เตรี ยมและจัดการกับสาธารณภัย
 ปรับปรุงระบบการขนย้ ายศพ
 การช่วยเหลือเมื่อลิฟท์ค้าง
 การป้ องกันน้ าท่วมขังในโรงพยาบาล
 ENV Round อย่างต่อเนื่ อง
 นิ เทศกากับ การจัดการเก็บวัสดุและของเสี ยอันตราย
 งานปรับปรุ งโรงพักมูลฝอยติดเชื้อ
 จัดซ้อมแผนอัคคีภยั ในโรงพยาบาล จาลองสถานการณ์จริ ง เพื่อหาโอกาสพัฒนา
 ทาการบารุ งรักษาเชิงป้ องกันอย่างต่อเนื่ องและทบทวนจานวนที่ตอ้ งทาการ
บารุ งรักษาเพิ่มขึ้น
 ปรับปรุ งระบบน้ าประปา
 ปรับปรุ งระบบไฟฟ้ าแรงสู งและแรงต่า เพื่อรองรับอาคารใหม่
 ขยายท่อเมนของระบบ Liquid Tank ให้มีอตั ราการไหลที่เพียงพอ
 มีมุมการเรี ยนรู ้ดา้ นสิ่ งแวดล้อมในจุดการให้บริ การ
 ปรับปรุ งระบบบาบัดน้ าเสี ย รองรับการขยายโรงพยาบาล
 โครงการ Car Free Day แก่เจ้าหน้าที่
 ด้ านความปลอดภัย
ข้อมูล/ตัวชีว้ ด
ั
รอยละรายการประเมิ
นโครงสราง
้
้
ทางกายภาพและสิ่ งแวดลอม
้
เป้าหม 2554 2555 255
าย
6
>=90
90 91.42 91.4
%
2
จานวนครัง้ ผลการตรวจน้าทิง้ ผาน
่
เกณฑ ์
3ครัง้ /
ปี
1
1
1
จานวนครัง้ ผลการกรวดน้าอุปโภค/
บริโภคผานเกณฑ
มาตรฐาน
่
์
4ครัง้ /
ปี
4
4
4
ความเสี่ ยงดานสิ
่ งแวดลอมและ
้
้
ความปลอดภัยทีไ่ ดรั
้ บการแกไข
้
>=80
%
56.5
2
62.25 78.7
9
 ด้ านประสิทธิภาพ
ข้อมูล/ตัวชีว้ ด
ั
จานวนครัง้ ในการ ENV
Round
เป้าหมา 2554
ย
12 ครัง้ /
8
ปี
2555
2556
6
9
จานวนครัง้ การซ้อมแผน
อัคคีภย
ั
1ครัง้ /ปี
1
1
ธ.ค.
56
การประเมินระบบป้องกัน
อัคคีภย
ั ทีผ
่ านเกณฑ
มาตรฐาน
่
์
100%
100
90
90
จานวนครัง้ ในการซ้อมแผน
อุบต
ั เิ หตุหมู/กลุ
่ มชน
่
1 ครัง้ /
ปี
1
1
1
 ด้ านการเรี ยนรู้
ข้อมูล/ตัวชีว้ ด
ั
รอยละของเจ
่ เี่ ข้ารวม
้
้าหน้าทีท
่
อบรมอัคคีภย
ั
รอยละของเจ
่ เี่ ข้ารวม
้
้าหน้าทีท
่
ซ้อมแผนอัคคีภย
ั
เป้าหมา
ย
90 %
2554
2555
2556
89
90
90
>=40%
44
50
ธ.ค.
56
 ด้ านการเยียวยา
ข้อมูล/ตัวชีว้ ด
ั
รอยละของหน
้
่ วยงานใน
โรงพยาบาลผานเกณฑ
ประเมิ
น
่
์
5 ส. ระดับ 3 ดาวขึน
้ ไป
ผลการประเมินงานอาชีวอนา
มัยในโรงพยาบาลตามเกณฑ ์
(ศคร.)
เป้าหมา 2554 2555
ย
100 % 100 100
ระดับ
5
5
5
2556
90
รอ
ประเมิน
ศคร 6