ตัวอย่างการแสดงผลงาน

Download Report

Transcript ตัวอย่างการแสดงผลงาน

โดย ผ.ศ. ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์
กรรมการสภาวิศวกรและประธานคณะอนุกรรมการทดสอบความรู้ความชานาญ
การประกอบวิชาชีพ ระดับวุฒิวศิ วกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
1
กรอกรายละเอียดในแบบดังต่ อไปนี้
1.1 แบบค าขอรั บ ใบอนุ ญ าตเป็ นผู้ ประกอบวิ ช าชี พ
วิศวกรรมควบคุม (เลือ่ นระดับ) (โปรดใส่ เครื่องหมาย √ หน้ าข้ อ
ทีอ่ ยู่ทที่ ่ านต้ องการให้ จัดส่ งเอกสาร)
1.2 แบบประวัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
1.3 แบบแสดงปริ มาณและคุณภาพผลงานในการประกอบ
วิชาชี พวิศวกรรมควบคุม ระดับสามัญวิศวกร ไม่ น้อยกว่ าห้ าปี
โดยมีผ้ ูรับรองผลงานเป็ น วิศวกรระดับวุฒิวิศวกร ในสาขาและ
แขนงเดี ย วกัน กั บ ผู้ ยื่ น ค าขอพร้ อ มระบุ ที่ อ ยู่ ปั จ จุ บั น สถานที่
ทางาน หมายเลขโทรศัพท์ ที่สามารถติดต่ อได้ และความเกีย่ วข้ อง
โดยจัดพิมพ์ขนาด A4
1.4 เมื่อกรอกแบบในข้ อ 1.1 – 1.3 เรียบร้ อยแล้ ว ให้ จัดทา
สาเนาเพิม่ อีก 3 ชุด (ไม่ รวมต้ นฉบับ)
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
2
จัดทารายงานสรุปรายละเอียดโครงการ
ที่มีผลงานดีเด่ น
ตั้งแต่ 2 โครงการ ไม่ เกิน 5 โครงการ จัดพิมพ์ขนาด A 4
โครงการละ 4 เล่ ม โดยมีรายละเอียดโครงการ ดังนี้
2.1 ชื่อโครงการ
2.2 วัตถุประสงค์ โครงการ
2.3 ขั้นตอนในการดาเนินงานและการนาความรู้ เชิง
วิศวกรรมมาประยุกต์ ใช้ ในงาน
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
2.4 ระยะเวลาปฏิบัติงาน
2.5 ปัญหาและอุปสรรคพร้ อมการแก้ ไขปัญหา
2.6 ผลสาเร็จในขั้นสุ ดท้ ายของโครงการและจุดเด่ น
ของโครงการ
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
3
เอกสารประกอบ
3.1 สาเนาใบอนุญาตของผู้ยนื่ คาขอและผู้รับรองผลงานลง
นามรับรองสาเนาถูกต้ อง ( โดยจัดทาสาเนาเพิม่ อีก 3 ชุด)
3.2 รู ปถ่ ายหน้ าตรงไม่ สวมหมวกและแว่ นดา ขนาด 1 นิว้
ถ่ ายไว้ ไม่ เกิน1 ปี จานวน 2 รู ป
3.3 รายละเอียดโครงการตามข้ อ 2.
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
4
ขั้นตอนการพิจารณา
4.1 เจ้ าหน้ าที่สภาวิศวกรตรวจรับคาขอรับ ใบอนุญาต
(เลือ่ นระดับ) พร้ อมเอกสารประกอบ
4.2 คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาผลงานและปริมาณ
พร้ อมทั้งทดสอบความรู้ ในประสบการณ์ และความสามารถ
ในการประกอบวิชาชี พและสอบสั มภาษณ์ (สอบสั มภาษณ์
ครั้ งแรกไม่ ผ่านมีสิทธิ์สอบครั้ งที่ 2 ภายใน 30 วัน หลัง
ประกาศผล)
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
4.3 คณะกรรมการสภาวิศวกรพิจารณา
4.4 สานักงานสภาวิศวกรแจ้ งผลการพิจารณาตามมติที่
ประชุมคณะกรรมการ
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
เอกสารประกอบ
- แบบคาขอใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ระดับสามัญวิศวกร
- แบบคาขอรับใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ระดับวุฒวิ ศิ วกร
- แบบประวัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
- แบบแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ตัวอย่ างผลงานเพื่อขอเลื่อนระดับเป็ นวุฒิวิศวกร
( Download , Download กรณีลดความละเอียดรู ปภาพประกอบ)
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
การขอเลือ่ นระดับวิศวกรควบคุม
จากระดับ
เป็ น
- ประกอบอาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับสามัญวิศวกร
หลังจากได้ ใบอนุญาต ไม่ น้อยกว่ า 5 ปี
- ยืน่ แสดงผลงานและปริมาณงาน ( ควรอย่ างน้ อย
10 งาน) ที่รับรองโดยวิศวกรระดับ “วุฒิวศิ วกร”
สาขาเดียวกัน
คาแนะนาในการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
- แสดงรายละเอียดงานดีเด่ น 2 ถึง 5 งาน
( ควรอย่ างน้ อย 3 งาน )
- ส่ ง CD แสดงรู ปภาพ หรือจัดทาเป็ น
Powerpoint ของงานทีท่ า เช่ น Single
Line Diagrams
เป็ นต้ น
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
ประวัตกิ ารประกอบอาชีพ
วัน เดือน ปี
ตาแหน่ งหน้ าที่
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ และทีท่ างาน
ลักษณะงานทีท่ า
1 1 ส.ค.38-30 ต.ค. 39 วิศวกรรมไฟฟ้ า โครงการก่อสร้าง COE Center เฟส 1
บริ ษทั แห่งหนึ่ง
อาคารศูนย์การค้า Tower A
: อานวยการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ ากาลัง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
วัน เดือน ปี
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ
2
ตาแหน่ งหน้ าที่
และทีท่ างาน
ลักษณะงานทีท่ า
1 พ.ย. 39-31 ธ.ค.40 วิศวกรรมไฟฟ้ า โครงการก่อสร้าง COE Center เฟส 2
บริ ษทั แห่งหนึ่ง อาคาร Tower B
: อานวยการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ ากาลัง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
วัน เดือน ปี
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ
3
ตาแหน่ งหน้ าที่
และทีท่ างาน
ลักษณะงานทีท่ า
1 ม.ค. 41-31 ส.ค. 41 วิศวกรรมไฟฟ้ า โครงการก่อสร้างโรงงาน X
บริ ษทั แห่งหนึ่ง
: อานวยการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ ากาลัง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
วัน เดือน ปี
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ
4
ตาแหน่ งหน้ าที่
และทีท่ างาน
1 ก.ย. 41-30 มิ.ย. 42 วิศวกรไฟฟ้ า
บริ ษทั แห่งหนึ่ง
ลักษณะงานทีท่ า
โครงการก่อสร้างอาคาร A
: อานวยการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ ากาลัง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
วัน เดือน ปี
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ
5
ตาแหน่ งหน้ าที่
และทีท่ างาน
1 พ.ย 48-30 พ.ย. 49 หัวหน้าวิศวกร
ไฟฟ้ าอาวุโส
บริ ษทั แห่งหนึ่ง
ลักษณะงานทีท่ า
โครงการก่อสร้างโรงงาน Y
: อานวยการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ ากาลัง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
วัน เดือน ปี
ลาดับ ประกอบวิชาชีพ
6
ตาแหน่ งหน้ าที่
และทีท่ างาน
1 ธ.ค. 49-30 ธ.ค. 50 หัวหน้าวิศวกร
ไฟฟ้ าอาวุโส
บริ ษทั แห่งหนึ่ง
ลักษณะงานทีท่ า
สานักงานใหญ่ แผนก ออกแบบงาน
ระบบอาคาร B
: ออกแบบและคานวณอุปกรณ์ไฟฟ้ า
กาลัง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
สำเนำของผูร้ บั รอง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
หนังสื อรับรอง
ของ
ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
เขียนที่ บริษัท มัลติ ซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง จากัด
วันที่ 24 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551
โดยหนังสื อฉบับนี้ ข้าพเจ้า นายประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ อายุ 66 ปี เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย
อยูบ่ า้ นเลขที่ 60/6 ซอย อินทามระ 40 ถนน สุ ทธิ สารวินิจฉัย แขวง ดินแดง เขต ดินแดง
จังหวัด กรุ งเทพมหานคร ที่ทางาน 60/6 ซอย อินทามระ 40 ถนน สุ ทธิสารวินิจฉัย แขวง ดิ นแดง
เขต ดิ นแดง จังหวัด กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์ 6917840-1 ได้รับอนุ ญาตให้ประกอบวิชาชี พ
วิศวกรรมควบคุม ประเภท วุฒิวิศวกร สาขา วิศวกรรมไฟฟ้ า แขนง ไฟฟ้ ากาลัง ตามใบอนุญาต
เลขทะเบีย วฟก. 723
ขอรับรองแบบบัญชีแสดงปริ มาณและคุณภาพผลงานเพื่อประกอบการยื่นขอเลื่อนระดั บเป็ น
วุฒิวศวกร ของนาย.......... สามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า แขนงไฟฟ้ ากาลัง ตามใบอนุ ญาต
ทะเบียน สฟก.....
เพื่อเป็ นหลักฐาน ข้าพเจ้าได้ลงลายมือชื่อไว้เป็ นสาคัญ
ลงชื่อ ……………………………วุฒิวศิ วกร
( นาย ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ ) ผูร้ ับรอง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
ผลงานในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
เพือ่ ขอเลือ่ นระดับ
บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมเพือ่ ขอเลือ่ นประเภทวิศวกรรม
ของนาย A เลขทีท่ ะเบียน สฟก..................
(1)
ลาดับ
1
( ตั2 ว) อย่ างการแสดงผลงาน
รายละเอียดงาน
โครงการโรงงาน A
สถานที่: ต.สาโรงใต้ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ
เจ้าของ:……….
บริ ษทั ผูอ้ อกแบบ:..............
บริ ษทั ที่ปรึ กษา:................
ลักษณะอาคาร:เป็ นอาคารโครงเหล็ก และคอนกรี ต
ใช้สาหรับ เป็ นโรงงานประกอบรถยนต์
พื้นที่อาคารโรงงาน: 8,500 ตารางเมตร
พื้นที่ใช้สอยรวม : 11,860 ตารางเมตร
ที่ต้ งั โครงการ : ต.สาโรงใต้ อ.พระประแดง จ.
สมุทรปราการ
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
(1)
ลาดับ
1.1
(2)
รายละเอียดงาน
รายละเอียดของงาน
ระบบไฟฟ้ า
- หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาด 2000KVA.12/24 kV/416-240V 3Ph.4W 50Hz.
Oli Immersed Type. 1 ลูก
- หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาด 1500 KVA. 12/24 kV/416-240V 3Ph.4W
50Hz.
Oli Immersed Type. 1 ลูก
- หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาด 1500 KVA.12/24kV/220V 3 Ph.3W 50 Hz.
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
(1)
ลาดับ
-
(2)
รายละเอียดงาน
ตูจ้ ่ายไฟหลักขนาด 4000AT/4000AF 1 ตู้
ตูจ้ ่ายไฟหลักขนาด 3200AT/3200AF 1 ตู้
ตูจ้ ่ายไฟหลักขนาด 2500AT/2500AF 1 ตู้
ตูจ้ ่ายไฟรองขนาด
630 A. 2 ตู้
ตูจ้ ่ายไฟรองขนาด
400 A. 5 ตู้
ตูจ้ ่ายไฟรองขนาด
250 A. 6 ตู้
ตูจ้ ่ายไฟรองขนาด
250 A. 2 ตู้
ตูจ้ ่ายไฟรองขนาด
160 A. 2 ตู้
ตูจ้ ่ายไฟรองขนาด
125 A. 3 ตู้
โหลดแสงสว่างทั้งหมดในรวม 90 KVA
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
(3)
(4)
(5)
ระยะเวลาปฏิบัตงิ าน
ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ ขอบเขตอานาจหน้ าที่
ตามกฎกระทรวง
เริ่ม
สาเร็จ
มีนาคม 46 พฤษภาคม 46 ออกแบบและ
เป็ นผูร้ ับผิดชอบ
คานวณ
ตามสายบังคับบัญชา
อุปกรณ์ไฟฟ้ ากาลัง
ของงานนั้น
ตามขอบเขตหน้าที่
สามารถกระทาได้
ตามกฎกระทรวง
ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2508
ออกตามความใน
พ.ร.บ.วิศวกรรม พ.ศ.
2505
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
(6)
ผลของงาน
(7)
บันทึกและลายมือชื่อ
ผู้รับรอง
(
)
นาย ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์
วฟก. 723
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า
แขนงไฟฟ้ ากาลัง
ความเกี่ยวข้องเป็ น
วิศวกรรมที่ปรึ กษา
(8)
หมายเหตุ
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
ผลงานในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
เพือ่ ขอเลือ่ นระดับ
บัญชีแสดงปริมาณและคุณภาพผลงานในการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมเพือ่ ขอเลือ่ นประเภทวิศวกรรมของนาย B
เลขทีท่ ะเบียน สฟก...........................
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
(1)
ลาดับ
2
(2)
รายละเอียดงาน
โครงการโรงแรม B
สถานที่ : กรุ งเทพฯ
ระบบไฟฟ้ าแรงสู งขนาด 24 kV
หม้อแปลงไฟฟ้ า ขนาด 24 เควี/380- 240 โวลท์
- 2500 kVA จานวน 2 เครื่ อง
เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า ขนาด
- 600 kVA จานวน 1 เครื่ อง
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
(1)
ลาดับ
( ต่ อ )
(2)
รายละเอียดงาน
( ต่ อ )
ระบบไฟฟ้ าแรงต่า
ระบบแสงสว่าง, แสงสว่างและป้ าย
ทางออกฉุกเฉิ น
ระบบสัญญานแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ระบบสายดินและป้ องกันฟ้ าผ่า
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
(3)
(4)
(5)
ระยะเวลาปฏิบัตงิ าน
ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ ขอบเขตอานาจหน้ าที่
ตามกฎกระทรวง และความรับผิดชอบ
เริ่ม
สาเร็จ
มกราคม 50 ธันวาคม 53
สาขา 3
วาง Concept และ
วิศวกรรมไฟฟ้ า
ตรวจสอบตามเขต
ข้อ (ก) งานออกแบบ อานาจหน้าที่สามารถ
และคานวณอุปกรณ์ ทาได้ ซึ่งออกแบบ
โดย
ไฟฟ้ ากาลัง
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
ตัวอย่ างการแสดงผลงาน
(6)
ผลของงาน
(7)
บันทึกและลายมือชื่อ
ผู้รับรอง
อยูร่ ะหว่างดาเนินการ นาย ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์
ออกแบบ
วฟก. 723
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า
แขนงไฟฟ้ ากาลัง
ความเกี่ยวข้องเป็ น
วิศวกรรมที่ปรึ กษา
(8)
หมายเหตุ
การเขียนผลงานดีเด่ น
1. ต้ องเป็ นงาน ระดับสามัญวิศวกร
2. 2 - 5 งาน ควรมีอย่ างน้ อย 3 งาน
3. ผลงานที่แสดงต้ อง มีความหลากหลาย
เช่ น เป็ นโรงงานผลิตภัณฑ์ ต่างกันมาก
เป็ นอาคารต่ างกัน เช่ น Office , Hospital ,
Condo etc
4. งานออกแบบ
ต้ องมีชื่อในแบบ หรือมีหลักฐานรับรอง
การเขียนผลงานดีเด่ น (ต่ อ)
5. งานควบคุมการติดตั้ง
ต้ องมีชื่อ หรือมีหลักฐานแสดงการควบคุมงานจนงานแล้ วเสร็จ
แสดงอุปสรรค ปัญหา และแนวทางแก้ไข
6. งาน Turn – Key หรืองานโรงงาน
แสดงขอบเขตความรับผิดชอบ
เช่ น การออกแบบเบือ้ งต้ น การออกแบบ
และติดตั้งการควบคุมงาน
แสดงอุปสรรค ปัญหา และแนวทางแก้ ไข
การเขียนผลงานดีเด่ น (ต่ อ)
7. แต่ ละงานต้ องเขียนและแสดง การใช้ ความรู้
ทางด้ านวิศวกรรมไฟฟ้าเป็ นหลัก เช่ น
ถ้ าเป็ นงานด้ านการออกแบบ ต้ องแสดงการคานวณ
ได้ มาซึ่ง
- ขนาดหม้ อแปลงไฟฟ้ า
- พิกดั ต่ าง ๆ โดยเฉพาะอย่ างยิง่ nterrupting
Capacity ของตู้ MDB, CB
- แรงดันตก
- การปรับปรุงตัวประกอบกาลัง เป็ นต้ น
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
รายงานสรุปรายละเอียดการออกแบบ
โครงการ
อาคารสานักงาน A
เพือ่ ใช้ ประกอบการยืน่ ขอเลือ่ นระดับเป็ นวุฒิวศิ วกร
สาขาวิศวกรรมแขนงไฟฟ้ ากาลัง
จัดทาโดย
นาย A สฟก................
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1.
2.
3.
4.
สารบัญ
ชื่อโครงการ
วัตถุประสงค์ โครงการ
รายละเอียดโครงการ
ขั้นตอนดาเนินงานและนาความรู้ เชิงวิศวกรรมมา
ประยุกต์ ใช้ ในงาน
5. ระยะเวลาปฏิบัติงาน
6. ปัญหาและอุปสรรคพร้ อมการแก้ ไขปัญหา
7. ผลสาเร็จในขั้นตอนสุ ดท้ ายของโครงการและจุดเด่ น
ของโครงการ
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1. ชื่อโครงการ : อาคารสานักงาน A
2. วัตถุประสงค์ โครงการ
1. เพือ่ ใช้ อาคารเป็ นสานักงานเช่ า
2. เพือ่ ใช้ เป็ นสถานที่ห้องจัดเลีย้ ง
3. เพือ่ ใช้ อาคารเป็ นห้ องประชุ มย่ อย
4. เพือ่ ใช้ อาคารเป็ นร้ านค้ า ร้ านอาหาร และที่จอด
รถยนต์
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
3. รายละเอียดโครงการ
1.
2.
3.
4.
5.
เจ้ าของโครงการ
บริษัท B
ทีต่ ้งั โครงการ
กรุงเทพมหานคร
วิศวกรรมระบบ
ไฟฟ้ากาลังและสื่ อสาร
ผู้ออกแบบงานสถาปัตย์ บริษัท C
ผู้ออกแบบงานโครงสร้ าง บริษัท D
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
6. ผู้ออกแบบงานระบบ
บริษัท E
7. ผู้บริหารโครงการ
บริษัท F
8. ผู้รับเหมางานโครงสร้ าง
บริษัท F
9. ผู้รับเหมางานระบบ
บริษัท G
10.งบประมาณก่ อสร้ างงานระบบไฟฟ้าและเครื่องกล
550,000,000 บาท ( Shell & Core )
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
11. ลักษณะโครงการ
เป็ นอาคาร คสล 35 ชั้น และชั้นใต้ ดิน 3 ชั้น โดยมีพืน้ ที่ก่อสร้ าง
รวมประมาณ 85,531 ตารางเมตร ดังรายละเอียดดังต่ อไปนี้
1. ชั้ นใต้ ดิน B1-B3 เป็ นพืน้ ที่จอดรถจานวน 516 คัน
รวม 21,546 ตารางเมตร
2. ชั้นที่ 1-3 เป็ นพืน้ ที่ขยายส่ วนโรงแรม, ร้ านค้ ารวม 8,595
ตารางเมตร
3. ชั้นที่ 4 เป็ นพืน้ ที่ห้องเครื่องงานระบบไฟฟ้ าและเครื่องกล
รวม 1,850 ตารางเมตร
4. ชั้ นที่ 5-33 เป็ นพืน้ ที่สานักงานเช่ ารวม 52,360 ตาราง
เมตร
5. ชั้ นที่ 34 เป็ นพื้ น ที่ ห้ องเครื่ อ งงานระบบไฟฟ้ าและ
เครื่องกล รวม 118 ตารางเมตร
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
4. ขั้นตอนการดาเนิ นงานและการนาความรู้ เชิ งวิศวกรรม
ประยุกต์ ใช้ ในงาน
4.1 ขั้นตอนการดาเนินงาน
1 ) ร่ วมประชุ มกับสถาปนิ กและเจ้ าของโครงการ
เพือ่ รับข้ อมูลเบือ้ งต้ นและความต้ องการของโครงการ
2 ) ประมาณการขั้นต้ นของปริมาณการใช้ ไฟฟ้าของ
อาคารโดยแยกโหลดออกเป็ น 2 ส่ วน คือโหลดส่ วนกลาง เช่ น
ระบบสุ ขาภิบาล แสงสว่ างส่ วนกลาง ระบบดับเพลิง ระบบ
ลิฟต์ และโหลดส่ วนพืน้ ที่สานักงานเช่ า โดยใช้ ค่าประมาณการ
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
ต่ อพื้ น ที่ ต ามมาตรฐานการติ ด ตั้ งทางไฟฟ้ าส าหรั บ
ประเทศไทย (ว.ส.ท.) เพื่อประมาณการขนาด ของระบบ
ไฟฟ้ าที่ ต้ อ งการ เพื่อ ก าหนดขนาดของเครื่ อ งไฟฟ้ าหลัก
เบื้องต้ นและให้ ข้อมู ลแก่ ส ถาปนิ กเพื่อ ใชั ใ นการจั ดเตรี ย ม
พืน้ ที่ก่อสร้ าง
3 ) จากนั้นทาการคานวณออกแบบขั้นละเอียดระบบ
ไฟฟ้าแสงสว่ าง ระบบไฟฟ้ากาลัง เต้ ารั บทั่วไป ระบบไฟฟ้า
ส าหรั บ เครื่ อ งมอเตอร์ ไ ฟฟ้ าระบบปั๊ ม น้า ระบบดั บ เพลิง
ลิฟต์ และเครื่องปรับอากาศ โดยมีรายละเอียดดังนี้
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
- การแบ่ งประเภทโหลด เพือ่ พิจารณาจัดโหลดในแต่ ละวงจร
ย่ อย
- การคานวณกระแสโหลดในแต่ ละวงจรย่ อย เพือ่ เลือก
อุปกรณ์ ป้องกัน และขนาดชนิดของสายวงจรย่ อย
- คานวณกระแสโหลดรวมของวงจรย่ อย โดยใช้ ดีมานด์
แฟกเตอร์ ตามข้ อกาหนด
- การเลือกชนิดขนาดของอุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินของ
สายป้อน
- การเลือกชนิดขนาดของอุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินของ
สายเมน
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
- การเลือกชนิดขนาดของสายนิวตรอนและสายดิน
- การพิจารณาขนดของระบบ และการรับไฟฟ้าจากการ
ไฟฟ้าฯ
- การเตรียมพืน้ ที่ตดิ ตั้งของห้ องไฟฟ้าย่ อยประจาชั้น
ห้ องไฟฟ้ าเมนและห้ องมิเตอร์ ของการไฟฟ้า ตาม
มาตรฐาน และข้ อกาหนดการไฟฟ้าฯ และข้ อกาหนดวิธีการ
จ่ ายไฟของการไฟฟ้าฯ
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
4 ) จัดเตรี ยมข้ อกาหนดการติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้ า
(Installation Specification) ให้ เป็ นไปตามกฎการเดินสายและ
ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ของการไฟฟ้ านครหลวง มาตรฐานการ
ติดตั้งไฟฟ้ าตาม NEC (National Electrical Code) และ
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย (ว.ส.ท. )
เช่ น
- การติดตั้งท่ อและสายไฟ
- การต่ อลงดินของวัสดุและอุปกรณ์
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
- ทีว่ ่ างในการปฏิบัตงิ านของตู้ไฟฟ้ า และหม้ อแปลงฟ้ า
- การติดตั้งหม้ อแปลงในอาคาร เช่ น การระบายอากาศ
- แรงดันตกคร่ อมทีป่ ลายสาย
- ตรวจสอบอุปกรณ์ ป้องกัน เช่ น เซอร์ กจิ เบรกเกอร์ มคี ่ า
Interrupting Withstand Current ทนค่ า Short Circuit
ที่เกิดขึน้ ในวงจรได้
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
5 ) จัดเตรียมข้ อกาหนดวัสดุอุปกรณ์
(Equipment Specification )
ให้ เ ป็ นไปตามมาตรฐานไทย ( มอก. ) และ
มาตรฐาน IEC เป็ นหลักยกเว้ นอุปกรณ์ ดังกล่ าวไม่ มี
มาตรฐานไทยและมาตรฐาน IEC
ก็ อ าจพิ จ ารณามาตรฐานประจ าชาติ ข อง
ประเทศผู้ ผ ลิ ต วัส ดุ แ ละ อุ ป กรณ์ ม าพิจ ารณา เช่ น
ANSI, BS และ DIN เป็ นต้ น
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
4.2 การนาความรู้ เชิงวิศวกรรมมาประยุกต์ ใช้ งาน
1 ) แนวทางในการออกแบบ จะคานึงถึงประเด็นหลัก ๆ
เพือ่ ให้ ระบบจ่ ายไฟของโครงการมีความสมบูรณ์ ดงั นี้
- มี ค วามปลอดภั ย (Safety)
อย่ า งสู ง ต่ อ
ผู้ปฏิบัตงิ าน ต่ ออุปกรณ์ ไฟฟ้ าและต่ อสถานที่
- มี ค วามน่ าเชื่ อถื อ ของระบบ (Reliability)
สามารถจ่ า ยกระแสไฟฟ้ าได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและท างานได้
แน่ นอนไม่ เกิดปัญหา
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
- มีความมัน่ คง ( Stability ) มีกาลังไฟฟ้าสารอง
เพียงพอในกรณีมีปัญหาทีส่ ่ วนใดส่ วนหนึ่ง
- มีความยืดหยุ่น ( Flexibility ) สามารถขยายได้ ใน
อนาคต หรือปรับปรุงเปลีย่ นแปลงได้ ง่าย
- อุปกรณ์ ทใี่ ช้ กนั แพร่ หลาย ( Availability ) โดยกาหนด
คุณสมบัตขิ องอุปกรณ์ ใช้ งานให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ มาตรฐาน
เพือ่ ทาให้ การจัดซื้ออุปกรณ์ และอะไหล่ ได้ ง่าย
- ประหยัด ( Economy ) โดยค่ าก่ อสร้ างอยู่ใน
งบประมาณของเจ้ าของโครงการตลอดจนค่ าบารุงรักษาทีต่ ่า
และต้ องคานึงถึงความปลอดภัย และให้ เพียงพอกับการใช้
งาน แต่ ไม่ Over Design
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
2 ) การออกแบบระบบไฟฟ้ากาลังและสื่ อสาร
โครงการจะกาหนดให้ มี ระบบดังต่ อไปนี้
- ระบบไฟฟ้ าแรงสู ง
- ระบบไฟฟ้าแรงตา่
- ระบบไฟฟ้ าสารองฉุกเฉิน
- สถานีเปลีย่ นแรงดันไฟฟ้า 24 kV / 415/ 240 V
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
-
ระบบกระจำยไฟฟ้ ำกำลัง
ระบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้ ำสำรองฉุกเฉิน
ระบบไฟฟ้ ำแสงสว่ำง
ระบบป้ องกันฟ้ ำผ่ำ
ระบบสำยดิน
ระบบสัญณำณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ระบบโทรศัพท์
โดยมีรำยละเอียดกำรออกแบบดังนี้
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
ระบบไฟฟ้ากาลัง
ก ) มาตรฐาน ( Standard )
- มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าของการไฟฟ้ านคร
หลวง
- มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศ
ไทย ( ว.ส.ท. )
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
ข ) เกณฑ์ การออกแบบ ( Design Criteria )
ระบบไฟฟ้ าภายในโครงการจะรั บ ไฟฟ้ าที่ ร ะดั บ
แรงดัน 24 kV จากการไฟฟ้านครหลวงจานวน 1 สายป้อน
ขนาดไฟฟ้ ากาลัง โดยประมาณ 19,400 kVA ( Maximum
Demand 14,000 kVA )โดยหม้ อแปลงไฟฟ้าที่ใช้ งานเป็ น
ชนิด Dry Type Cast Resin เพื่อลดแรงดันไฟฟ้ าเป็ น
415/240 V โดยแบ่ งการจ่ ายไฟฟ้า ภายใน โครงการดังนี้
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1. สายป้ อน Loop ที่ 1 ขนาดกาลังไฟฟ้ า 11,200 kVA
ขนาดกาลังไฟฟ้า 11,200 kVA สาหรั บ อาคาร
สานักงานและที่ จอดรถ โดยประกอบด้ วยหม้ อแปลง
ไฟฟ้าดังนี้
- 1,600 KVA จานวน 2 เครื่อง
- 2,000 KVA จานวน 4 เครื่อง
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
2. สายป้ อน Loop ที่ 2 ขนาดกาลังไฟฟ้ า 8,200 kVA สาหรับ
อาคารโรงแรมเดิมและส่ วนต่ อเติมโรงแรม โดยประกอบด้ วย
หม้ อแปลงไฟฟ้ าดังนี้
- 1,600 kVA จานวน 2 เครื่อง
- 2,500 kVA จานวน 2 เครื่อง ( ของเดิม )
24 kV High Voltage Switchgear ทีใ่ ช้ เป็ นชนิด
Metal-Enclosed SF6 Filled สาหรับใช้ งานภายใน
อาคาร เพื่อลดปั ญหาการบารุ งรั กษาโดยต่ อเป็ น แบบ Ring
เพือ่ เพิม่ ความเชื่อถือได้ ให้ ระบบไฟฟ้าของโครงการ
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
ระบบไฟฟ้ าสารองฉุกเฉิน
ระบบไฟฟ้ าสารองฉุกเฉินประกอบด้ วยระบบ 2 ประเภท
ได้ แก่
- เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
- Self-Contained Battery Unit
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1) เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะเป็ นชนิดขับด้ วยเครื่อ งยนต์ ดีเซล
ซึ่ ง ท างานอั ต โนมั ติ เ มื่ อ เกิ ด ไฟฟ้ าดั บ โดยมี ระบบ
Automatic Transfer เพือ่ จ่ ายให้ กับอุปกรณ์ ไฟฟ้ า
ส าคัญ ต่ า ง ๆ ขนาดก าลัง ไฟฟ้ าส ารองโดยประมาณ
3,650 kVA โดยการแบ่ งจ่ ายกาลังไฟฟ้าดังนี้
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1.1 เครื่ องกาเนิดไฟฟ้าขนาด 1,500 kVA จานวน 1
เครื่ อ งส าหรั บ โหลดไฟฟ้ าส่ วนกลาง เช่ น แสงสว่ า ง,
ลิฟท์ ดับเพลิง ,
40% ของ จ านวนลิฟท์ โดยสาร,
Condenser Water สาหรับผู้เช่ า, ระบบ สุ ขาภิบาล และ
อุปกรณ์ ป้องกันชีวติ อืน่ ๆ
1.2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาด 150 kVA จานวน 1 เครื่อง
สาหรับส่ วน ขยายโรงแรม
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1.3 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าขนาด 2,000 kVA จานวน 1 เครื่อง
สาหรั บสานักงานเช่ าโดยจัดเตรี ยมไว้ สาหรั บโหลดไฟฟ้ า
สู งสุ ด 80 kVA ต่ อชั้น หรือโหลดไฟฟ้ าเฉลีย่ 65 kVA ต่ อ
ชั้น ( Demand Factor 80 % )นอกจากนีโ้ ครงการยังได้
จัดเตรียมพืน้ ที่สาหรับติดตั้งเครื่องกาเนิ ดไฟฟ้ าในอนาคต
ขนาด 1,000 kVA จานวน 2 ชุ ด สาหรับผู้เช่ ารายใหญ่ ที่มี
ความต้ องการปริมาณกาลังไฟฟ้ าสารองฉุกเฉินขนาดใหญ่
พิเศษ
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
2 ) Self-Contained Battery Unit
ระบบ Self-Contain Battery Unit เป็ นระบบไฟฟ้า
ฉุ ก เฉิ น เพื่ อ ป้ อนพลั ง งานไฟฟ้ าให้ ร ะบบแสงสว่ า งฉุ ก เฉิ น
ต่ าง ๆ เช่ น ไฟป้ ายทางออก ไฟป้ ายทางหนี ไ ฟ หรื อ
ไฟแสงสว่ า งส่ องทางหนี ไ ฟ การจั ด หาและ ติ ด ตั้ ง มี ท้ั ง
ระบบ Remote Unit ซึ่งทั่วไปจะจัดเพือ่ บริเวณโถง, ทางเดิน
และสถานที่ ต กแต่ ง ทั่ ว ไปบริ เ วณห้ อ งเครื่ อ งต่ า ง ๆ จะ ใช้
ชุดสาเร็จรวมแบตเตอร์ รี่ และดวงไฟ
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
5. ระยะเวลาปฏิบัติงาน
- เริ่มทาการออกแบบเพือ่ ใช้ ในการประมูล
ก่ อสร้ าง ประมาณ 4 เดือน
- ออกแบบเปลีย่ นแปลงเพิม่ เติมระหว่ าง
ก่ อสร้ าง ประมาณ 9 เดือน
- เริ่มปฏิบัตงิ านออกแบบโครงการ เมษายน
2548 ก่ อสร้ างแล้ วเสร็จ มกราคม 2551
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
6. ปัญหาและอุปสรรคพร้ อมการแก้ ไข
1 ) เนื่องจากอาคารสานักงานเป็ นเฟสสุ ดท้ ายที่จะต้ อง
เชื่ อ มต่ อ กับ อาคารโรงแรมซึ่ ง เปิ ดใช้ ง านแล้ ว ต้ อ งมี ก าร
สารวจงานระบบไฟฟ้าเดิมของโครงการโดยเฉพาะระบบ
ไฟฟ้ าแรงสู งเดิมที่รับมาจากการไฟฟ้ าซึ่ งจะต้ องถูกตัดต่ อ
เพื่อ จ่ า ยให้ กั บ หม้ อ แปลงไฟฟ้ าใหม่ ส าหรั บ ส่ วนต่ อ เติ ม
โรงแรมที่ ติ ด ตั้ ง ไว้ บ นส่ วนชั้ นห้ องเครื่ อ งของอาคาร
ส านั ก งานการออกแบบจึ ง ต้ องมี ก ารส ารวจระบบ
ไฟฟ้ าแรงสู งเดิม ขนาดสาย และเส้ นทางการติดตั้งอย่ าง
ละเอียดเพือ่ ป้องกันปัญหาที่เกิดขึน้
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
7. ผลสาเร็จในขั้นสุ ดท้ ายของโครงการและ
จุดเด่ นของโครงการ
1 ) ผลสาเร็จในขั้นตอนสุ ดท้ ายของโครงการ
1. การออกแบบเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของ
โครงการและตามรายละเอียดของสั ญญา
2. การก่ อสร้ างเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ
และตามรายละเอียดของสั ญญา
3. ผลลัพธ์ ของงานเป็ นทีพ่ งึ พอใจของผู้ว่าจ้ าง ด้ วย
ความร่ วมมือของทุกฝ่ าย
4. การใช้ งานของอุปกรณ์ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
2) จุดเด่ นของโครงการ
1. โครงการเป็ นอาคารส านั ก งานเช่ าเกรด A
ที่ ทั น สมั ย มี ร ะบบสาธารณู ป โภคที่ ร องรั บ ส านั ก งาน
สมัยใหม่ อย่ างครบถ้ วน
2. มี ร ะบบไฟฟ้ าส ารองฉุ ก เฉิ น ส าหรั บ พื้ น ที่
สานักงานเช่ าทุกชั้ นโดยจัดเตรี ยมไว้ สาหรั บโหลดไฟฟ้ า
สู งสุ ด 80 KVA ต่ อชั้น
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
3. มีการออกแบบการจ่ ายกาลังไฟฟ้ าเป็ นแบบ
Redundancy เพื่อเพิ่มความมั่นคงให้ ระบบไฟฟ้าของ
สานักงานเช่ าโดยหม้ อแปลงไฟฟ้ าถูกออกแบบให้ สามารถ
จ่ ายไฟแทนในกรณีที่หม้ อแปลงชุ ดใดชุ ดหนึ่งเสี ยหายได้
ถึง 70% ของ ปริมาณการใช้ ไฟฟ้าทั้งหมด
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 1 ส่ วนอาคารโรงแรมเดิมที่จะเชื่อมต่ อกับอาคาร
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 2 Riser Pole เดิมทีจ่ ะต้ องปรับปรุ งเป็ น 2 สายป้ อนพร้ อม Summary Meter
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 3 RMU เดิมที่จ่ายไฟฟ้าให้ ส่วนอาคารโรงแรมเดิม
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 4 MDB เดิมทีค่ วบคุมอาคารโรงแรมเดิม
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 5 การติดตั้งสายต่ อลงดินระบบป้องกันฟ้าผ่า
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 6 การติดตั้ง Handy Box สาหรับเต้ ารับไฟฟ้าในเสา
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 7 การติดตั้งท่ อร้ อยสายไฟสาหรับพืน้ ทีส่ านักงาน
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 8 การติดตั้งรางเดินสายไฟสาหรับพืน้ ทีโ่ ถงลิฟต์ ประจาชั้น
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 9 การป้องกันฝุ่ นเข้ าหม้ อแปลงไฟฟ้าและตู้ MDB
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 10 การติดตั้งรางเดินสายไฟฟ้ า, หม้ อแปลงไฟฟ้ าและ MDB
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 11 การติดตั้งรางเดินสายไฟและแผงไฟฟ้ าสื่ อสารภายในห้ อง
ไฟฟ้าประจาชั้น
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 12 การติดตั้ง Pull Box สาหรับสายไฟฟ้าแรงสู ง
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 13 การติดตั้ง Emergency Panel Battery
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 14 การติดตั้งรางเดินสายไฟสาหรับห้ องไฟฟ้าประจาชั้น
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 15 การติดตั้งแผงไฟฟ้าส่ วนกลางในห้ องไฟฟ้าประจาชั้ น
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 16 การ Combind รางเดินสายไฟและท่ อลมระบบปรับอากาศ
บริเวณโถงทางเข้ าหลัก
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 17 การเดินท่ อรอบสายไฟฟ้ าทีผ่ ่ านงานโครงสร้ าง
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 18 การติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 19 การติดตั้งแผงควบคุมมอเตอร์ ระบบสุ ขาภิบาล
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 20 การติดตั้งแผงควบคุมระบบปั๊มนา้ ดับเพลิง
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 21 การติดตั้งแผงควบคุมไฟฟ้าแรงสู ง ( HV Switch Board )
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 22 การติดตั้งแผงควบคุมพักลมระบายอากาศของหม้ อแปลงไฟฟ้า
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 23 การติดตั้งหม้ อแปลงไฟฟ้า
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 24 การเชื่อมต่ อระบบสายดิน
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 25 การติดตั้ง Plug-in CB ประจาชั้น
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 26 การติดตั้งแผงมิเตอร์ ไฟฟ้าปกติสาหรับพืน้ ที่เช่ าประจา
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 27 การติดตั้งแผงมิเตอร์ ไฟฟ้าฉุ กเฉินสาหรับพืน้ ทีเ่ ช่ าประจา
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 28 การติดตั้งแผงไฟฟ้าและแผงโทรศัพท์ สาหรับพืน้ ที่เช่ าประจาชั้น
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 29 การติดตั้งระบบแสงสว่ างบริเวณทางเดินส่ วนกลางของพืน้ ที่สานักงาน
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 30 การติดตั้งป้ ายทางหนีไฟ
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 31 การติดตั้งระบบแสงสว่ างภายในห้ องนา้ ประจาชั้ น
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 32 การติดตั้งมอเตอร์ ลฟิ ต์
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 33 Lighting Protection
ภาพประกอบโครงการ
ภาพที่ 34 ภายนอกอาคารสานักงานเดือน มิถุนายน 2550
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
3. พืน้ ฐานไฟฟ้ ากาลัง
1. HV Engineering
2. LV Engineering
3. Communication Engineering
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1. HV Engineering
1 ) Substation Design Criteria
2 ) Substation Grounding
3 ) Short Circuit Current Calculation
4 ) MV Distribution
5 ) HV, MV Equipment
Power Cable , Transformer, CB , CT, VT, LA
HV Switchgear, RMU, Relays
6 ) HV, MV Protection, Coordination
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
2. LV Engineering
Installation Standards , EIT
Design Criteria
Short Circuit Current Calculation
Grounding
Protection Coordination
Ground Fault Protection
LV Equipment , CB, Switchboard , MCC
Voltage Drop Calculation
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
9 ) P.F. Correction
10 ) Harmonic
11 ) Standby Generator , ATS ,UPS
12 ) Lightning Protection
13 ) Surge Protection
14 ) RCD
15 ) Lighting
16) EE Systems in Condominium , Offices , Hospitals ,
Hotels , Resorts , Industries
ตัวอย่ างผลงานดีเด่ น
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
8)
9)
3. Communication Engineering
Sound System
Telephone System
CCTV System
MATV System
Fire Alarm System
Emergency Lighting
Security System , Access Control System
Data Cabling System LAN , Fiber Optic , Cat 5 , 6 , 7
BAS
ด้วยความปรารถนาดี
จาก