บทที่ 4 เครือข่าย Lan Ethernet - wpm e
Download
Report
Transcript บทที่ 4 เครือข่าย Lan Ethernet - wpm e
เครือข่ ายแลนอีเทอร์ เน็ต
(WIRED LANS : ETHERNET)
วัตถุประสงค์
อธิ บายรายละเอียดในโครงการ IEEE 802 ได้
บอกความแตกต่างระหว่าง MAC Address และ IP Address ได้
บอกความแตกต่างระหว่างการส่ งข้อมูลแบบเบสแบนด์และบรอด
แบนด์ได้
เข้าใจหลักการการเชื่อมต่อเครื อข่ายและอุปกรณ์พ้น
ื ฐานของ
เครื อข่ายอีเทอร์เน็ต ซึ่งประกอบด้วย 10Base5, 10BaseT, และ
10BaseF รวมถึงอีเทอร์เน็ตความเร็ วสูงในรู ปแบบอื่น ๆ ได้
สามารถนาความรู ้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบและติดตั้ง
เครื อข่ายได้อย่างเหมาะสม
โครงการหมายเลข 802 (PROJECT 802)
เพื่อต้องการให้ผลิตภัณฑ์การสื่ อสารทุกชนิ ดใช้งานร่ วมกันได้
มีมาตรฐานในการสื่ อสารเดียวกัน
ไม่ได้นามาทดแทน OSI โมเดล
เพื่อกาหนดหน้าที่ในชั้นสื่ อสารฟิ สิ คล
ั และ ดาต้าลิงค์
นามาใช้งานเพื่อเครื อข่ายท้องถิ่นเป็ นหลัก
ความสัมพันธ์ของโครงการ 802 กับ OSI โมเดล
การ์ดเครื อข่าย
เป็ นแผงวงจรที่เสี ยบกับสล็อตในคอม
มีแมคแอดเดรสที่ใช้อา้ งอิงตาแหน่ งที่อยู่
เลขแมคแอดเดรสถูกบรรจุอยูใ่ นรอมบนการ์ ดเครื อข่าย
เมื่อใช้งานแมคแอดเดรสจจะถูกคัดลอกไปยังหน่ วยความจาหลัก
หน้าที่ของแมคแอดเดรส
คล้ายคลึงกับ I/O address
I/O address เป็ นเสนทางให้ซีพียเู ข้าถึงอุปกรณ์น้ น
ั
I/O address จะต้องมีหมายเลขที่ไม่ซ้ ากัน ถ้าซ้ ากันจะไม่สามารถ
ทางานได้
แมคแอดเดรสไม่มีการซ้ ากัน ถ้าซ้ ากันจะไม่สามารถสื่ อสารกันได้
เพื่อป้ องกันแมคแอดเดรสซ้ ากันจึงต้องมีการจองเลขจาก IEEE
MAC ADDRESS กับ IP ADDRESS
Mac address เป็ นหมายเลขประจาตัวการ์ ดเครื อข่าย
Ip address เป็ นหมายเลขประจาตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการ
สื่ อสารทางอินเทอร์เน็ต โดยที่จะทางานในชั้นเน็ตเวิร์ก
การทางานของ MAC ADDRESS ในการส่ งข้อมูล
การส่ งข้ อมูลแบบเบสแบนด์และบรอดแบนด์
BASEBAND AND BROADBAND
การส่ งสัญญาณแบบเบสแบนด์ (BASEBAND)
การเข้ารหัสแมนเชสเตอร์
ใช้ช่องทางการสื่ อสารช่องทางเดียว
การรับส่ งข้อมูลทาได้ง่าย
อุปกรณ์จะรับส่ งข้อมูลจากสายเส้นเดียวกัน แบ่งเป็ น 3 สถานะ
1
0
Idle
การส่ งสัญญาณแบบบรอดแบนด์ (BROADBAND)
เป็ นสัญญาณแอนะล็อก
เป็ นการส่ งข้อมูลแบบหลายช่องทาง
ข้อมูลจะส่ งในย่านความถี่ที่แตกต่างกัน
หากสัญญาณไกลเกินจะต้องใช้อุปกรณ์ทวนสัญญาณ
การเชื่อมต่ อเครือข่ ายอีเทอร์ เน็ต
(IMPLEMENTATION OF ETHERNET)
10 BASE 5
เป็ นแบบดั้งเดิมในยุคเริ่ มต้น
ทางานบนสายโคแอกเชียล RG8
สายป้ องกันสัญญาณรบกวนได้ดี
คุณสมบัติของ 10 BASE 5
อัตราความเร็ ว 10Mbps
แบบเบสแบนด์
ระยะทาง 500 เมตร
ใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา
ระยะห่ างระหว่างโหนด 2.5 เมตร
ทุก 2.5 เมตรจะเป็ นจุด Transciever
ต่อได้ไม่เกิน 100 เครื่ อง ไม่เกิน 5 เซกเมนต์
ใช้สายยาวได้ไม่เกิน 2500 เมตร
หัวต่อแบบ AUI
คุณสมบัติของ 10 BASE 2
อัตราความเร็ ว 10 Mbps
แบบเบสแบนด์
ระยะทาง 185 เมตร/เซกเมนต์
เซกเมนต์ละไม่เกิน 30 เครื่ อง ไม่เกิน 5 เซกเมนต์
สายสัญญาณไม่เกิน 1000 เมตร
ใช้สายโคแอกเชียลแบบบาง
ใช้หวั BNC และ T-Connector
มีเทอร์ มิเนเตอร์
แต่ละโหนดจะห่ างกันเท่าไหร่ กไ็ ด้
10BASE-T
Star Bus Topology
การทางานไม่ต่างไปจากบัส
มีความคงทนมากขึ้น สายขาดจะไม่เสี ยทั้งระบบ
่ ี่ฮบั
เซกเมนต์ติดตั้งอยูท
คุณสมบัติ 10BASE-T
อัตราความเร็ ว 10Mbps
แบบเบสแบนด์
ใช้ฮบ
ั ในการเชื่อมโยง
ใช้สาย UTP
หัว RJ-45
ระยะทางระหว่างเซกเมนต์ไม่เกิน 100 เมตร
ไม่เกิน 1024 เครื่ อง
10BASE-F
ใช้สานไฟเบอร์ออฟติก
สัญญาณแสงสามารถเดินทางได้ไกลเป็ นกิโลเมตร
ทนทานต่อสัญญาณรบกวน
มีความปลอดภัยสูง
ดักจับสัญญาณได้ง่าย
คุณสมบัติ 10BASE-F
อัตราความเร็ ว 10 Mbps
แบบเบสแบนด์
ระยะทางสู งสุ ด 2 กิโลเมตร
รู ปแบบสตาร์
ไม่เกิน 1024 โหนด
ใช้สายแบบ ST และ SC
ใช้การ์ ดแบบคอนเน็กเตอร์ คู่
ฟาสต์อีเทอร์ เน็ต (FAST ETHERNET)
มีความเร็ ว 100 Mbps
อยูใ่ นมาตรฐาน IEEE 802.3U
มีความเร็ วกว่าแบบเดิม 10 เท่า
รายละเอียดของฟาสต์อีเทอร์ เน็ต (FAST ETHERNET)
อัตราความเร็ ว 100 Mbps
ั เครื อข่ายอีเทอร์เน็ตแบบดั้งเดิม
เข้ากันได้กบ
แอดเดรสขนาด 48 บิต
ใช้รูปแบบเฟรมเช่นเดิม
คงรู ปแบบความยาวของเฟรมที่ความยาวต่าสุ ดและความยาว
สูงสุ ด
กิกะบิตอีเทอร์ เน็ต (GIGABIT ETHERNET)
อัตราความเร็ ว 1Gbps
ั มาตรฐานอีเทอร์เน็ตและฟาสอีเทอร์เน็ต
เข้ากันได้กบ
แอดเดรสขนาด 48 บิต
ใช้รูปแบบเฟรม
ความยาวต่าสุ ดและความยาวสู งสุ ด
10 กิกะบิตอีเทอร์เน็ต (GIGABIT ETHERNET)
อัตราความเร็ ว 10 Gbps
ั มาตรฐานอีเทอร์เน็ตและฟาสอีเทอร์เน็ต
เข้ากันได้กบ
แอดเดรสขนาด 48 บิต
ใช้รูปแบบเฟรม
ความยาวต่าสุ ดและความยาวสู งสุ ด
เชื่อมต่อระดับสากล ระดับเมือง เครื อข่ายระดับประเทศ