การเชื่อมต่อเครือข่ายหลายแบบ Internetworking

Download Report

Transcript การเชื่อมต่อเครือข่ายหลายแบบ Internetworking

การเชื่อมต่ อเครื อข่ ายหลายแบบ
Internetworking
ประกาย นาดี
ศูนย์คอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เนือ้ หาที่จะบรรยาย …………….
พืน้ ฐานการเชื่อมต่ อเครือข่ ายหลายแบบ
จุดประสงค์ และความจาเป็ น
วัตถุประสงค์ของการเชื่อมต่อเครื อข่ายหลายแบบคือ การใช้ ทรัพยากร
และข้ อมูลร่วมกัน ระหว่างเครื อข่ายหลายแบบ โดยความจาเป็ นของการ
เชื่อมต่อกับเครื อข่ายอื่นนัน้ เนื่องจากเครื อข่ายขนาดเล็ก(LAN) ไม่สามารถ
เอื ้ออานวยความสะดวกในการทางานขององค์กรขนาดใหญ่ได้ เพราะ LAN
มีข้อจากัดในเรื่ องของระยะทางและจานวนเครื่ องในเครื อข่าย และความ
จาเป็ นที่สาคัญขององค์กรคือ ต้ องการติดต่อสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้ อมูล
ข่าวสารไปยังองค์กร โดยอาศัยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นช่องทาง ตัวอย่าง
การใช้ งาน เช่น




โรงพยาบาลที่มีคลินิคเป็ นสาขา สามารถจะรวมข้ อมูลคนไข้ ได้
ธนาคารสามารถที่ใช้ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในการโอนเงิน
บริ ษัทธุรกิจที่มีบริ ษัทย่อยทัว่ ประเทศ อาศัยเครื อข่ายเพื่อสรุปบัญชีทงหมด
ั้
พืน้ ฐานการเชื่อมต่ อเครือข่ ายหลายแบบ
องค์ ประกอบและรูปแบบในการเชื่อมต่ อ
การเชื่อมต่อสองเครื อข่ายขึ ้นไปเข้ าด้ วยกันต้ องคานึงถึงความแตกต่างของแต่ละ
เครื อข่าย ดังนี ้


ความแตกต่างของโพรโตคอลของแต่ละเครื อข่าย
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ในโลกนี ้มีอยู่มากมาย มีความแตกต่าง ดังนันเป็
้ นไปได้ ว่า
โพรโตคอลที่ใช้ มกั แม้ จะมีแบบจาลอง OSI เป็ นต้ นแบบในการสร้ าง แต่ยงั ไม่เป็ นมาตรฐาน
อันเดียว เหตุผลคือ


แต่ละระบบเครื อข่ายมีการวางรากฐานของตนเอง มีการพัฒนาตลอดเวลา เช่น ระบบ Unix ใช้
โพรโตคอล TCP/IP เครื่ อง Main Frame ใช้ โพรโตคอล SNA และยังมีระบบอื่น ที่ใช้
โพรโตคอลแบบพิเศษ เช่น ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียม
เทคโนโลยีแบบใหม่มกั มีวิธีการที่ต่างไปจากเทคโนโลยีเดิม และมักดีกว่าเทคโนโลยีเดิม ผู้ใช้
อาจไม่ต้องการทดแทนระบบเดิมด้ วยระบบใหม่ทั ้งหมด จึงต้ องใช้ เครื อข่ายทั ้งแบบเดิมและแบบ
ใหม่ร่วมกัน
พืน้ ฐานการเชื่อมต่ อเครือข่ ายหลายแบบ

องค์ ประกอบและรู ปแบบในการเชื่อมต่ อ

ความแตกต่างของรูปแบบของการเชื่อมต่อ
เป็ นไปได้ มากที่แต่ละองค์กรเลือกใช้ รูปแบบการเชื่อมต่อภายในที่ต่างกัน
ขึ ้นอยู่กบั ความเหมาะสมขององค์กรและเทคโนโลยีเครื อข่ายที่เลือกใช้ การ
เชื่อมต่อแต่ละองค์การเข้ าด้ วยกันจึงต้ องคานึงถึงความเข้ ากันได้ ของรูปแบบที่
ใช้ หรื อจาเป็ นต้ องใช้ อปุ กรณ์ตวั กลางที่เชื่อมเครื อข่ายเข้ าด้ วยกัน เช่น




LAN to LAN
LAN to WAN
WAN to WAN
LAN to WAN to LAN
พืน้ ฐานการเชื่อมต่ อเครือข่ ายหลายแบบ
องค์ ประกอบและรู ปแบบในการเชื่อมต่ อ


ความแตกต่างของรูปแบบของการเชื่อมต่อ
Host
W AN-W AN
802.5
LA N
SNA
W AN
Bridge
R
802.3
802.4
LAN
.LAN
.
B
M
R
M
LAN-LAN
R
LAN-W AN
X.25W AN
Router
M
802.3 LAN
R
R
LAN
M
M
R
LAN-W AN-LAN
M
พืน้ ฐานการเชื่อมต่ อเครือข่ ายหลายแบบ

องค์ ประกอบและรู ปแบบในการเชื่อมต่ อ

ความแตกต่างของอุปกรณ์ที่ใช้ ในการเชื่อมต่อ
แม้ เป็ นอุปกรณ์ในเครื อข่ายแบบเดียวกัน อาจมีความแตกต่างกัน ขึ ้นอยู่กบั
การผลิตให้ ใช้ กบั อุปกรณ์ร่วมอื่น ที่เหมาะสมต่างกัน เช่น สื่อที่นามาใช้ งาน
และยังขึ ้นอยู่กบั ความสามารถของอุปกรณ์ในระบบ ที่ทางานอยู่ในชันต่
้ างกัน
เมื่อเทียบกับแบบจาลอง OSI แบ่งเป็ น 4 กลุม่ คือ




Repeater
Bridge
Router
Gateway
ประเภทของอุปกรณ์ เชื่อมต่ อเครือข่ าย
อุปกรณ์เชื่อมต่อเครื อข่ายมี 2 กลุม่ ประกอบด้ วย
 อุปกรณ์ ที่เชื่อมต่อเครื อข่ายแบบเดียวกัน (Networking Devices)
เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ สาหรับการขยายขนาดเครื อข่ายแบบเดียวให้ มีขนาดใหญ่ขึ ้น เช่น
เพื่อเพิ่มจานวนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เพิ่มระยะทางการเชื่อมต่อ ประกอบด้ วย


อุปกรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater)
บริ ดจ์ (Bridge)
อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเครื อข่ายต่างกัน (Internetworking Devices)
เป็ นอุปกรณ์กลางที่เป็ นช่องทางผ่านของข้ อมูลที่เกิดจากเครื อข่ายแบบต่างกัน
ประกอบด้ วย



อุปกรณ์ค้นหาเส้ นทาง (Router)
เกตเวย์ (Gateway)
ประเภทของอุปกรณ์ เชื่อมต่ อเครือข่ าย
อุปกรณ์เชื่อมต่อเครื อข่ายทัง้ 4 แบบมีความสามารถในการทางานเมื่อ
เทียบกับแบบจาลอง OSI ที่ตา่ งกัน
Application
Gateway
Presentation
Session
Transport
Network
Router
Data Link
Bridge
Physical
Repeater
อุปกรณ์ ทวนสัญญาณ (Repeater)
Repeater เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทางานอยูใ่ นระดับชัน้ Physical
layer ของแบบจาลอง OSI
Subnet
Repeater
Subnet
Application
Application
Presentation
Presentation
Session
Session
Transport
Transport
Network
Network
Data Link
Data Link
Physical
Physical
Physical
อุปกรณ์ ทวนสัญญาณ (Repeater)
มีความสามารถในการขยายสัญญาณไฟฟ้าให้ มีระดับที่สงู ขึ ้น หรื อแปลง
สัญญาณไฟฟ้าเป็ นตัวเลข “0” หรื อ “1” จากช่องต่อสายด้ านหนึง่ และแปลง
กลับเป็ นสัญญาณไฟฟ้าที่ช่องต่อสายอีกด้ านหนึง่ ทาให้ ระยะทางของ
เครื อข่ายทังหมดไกลขึ
้
้น
A
D
0110101
B
Repeater
0110101
c
บริดจ์ (Bridge)
Bridge จะทางานในชัน้ Physical layer และ Data Link layer ของ
แบบจาลอง OSI
Subnet
Bridge
Subnet
Application
Application
Presentation
Presentation
Session
Session
Transport
Transport
Network
Network
Data Link
Data Link
Data Link
Physical
Physical
Physical
บริดจ์ (Bridge)
Bridge สามารถส่งต่อเฟรมข้ อมูลระหว่างเซกเมนต์ ที่แยกออกจากกัน ต่างจาก
Repeater ที่สามารถกันการจราจร
้
(Traffic) ของเฟรมข้ อมูลต่างเซกเมนท์ได้ Bridge ถือ
เป็ น Repeater ที่ฉลาดพอที่จะส่งต่อเฟรมข้ อมูลไปยังเซกเมนท์เป็ นมีเครื่ องปลายเท่านัน้
หรื อ Bridge จะสามารถตรวจสอบที่อยู่ของเครื่ องปลายทางของเฟรมที่อ่านรับเข้ ามา และ
ส่งต่อเฟรมข้ อมูลไปยังเซกเมนต์ที่เครื่ องปลายทางนันอยู
้ ่ ทาให้ Bridgeใช้ งานเพื่อควบคุม
การแออัดและแยกปั ญหาการเชื่อมต่อของเครื อข่ายขนาดใหญ่
A
D
E
B
D
H
Bridge
F
G
อุปกรณ์ ค้นหาเส้ นทาง (Router)
Router จะทางานในชัน้ Physical layer และ Data Link layer และ
Network layer ของแบบจาลอง OSI
Subnet
Router
Subnet
Application
Application
Presentation
Presentation
Session
Session
Transport
Transport
Network
Network
Network
Data Link
Data Link
Data Link
Physical
Physical
Physical
อุปกรณ์ ค้นหาเส้ นทาง (Router)
Router สามารถส่งต่อเฟรมข้ อมูลระหว่างเครื อข่าย LAN โดยรูปแบบของเฟรมข้ อมูล
จะมีที่อยู่ของเครื่ องตามโพรโตคอลในชัน้ Network รู้จกั เครื อข่ายที่อยู่ห่างออกไป และ
สามารถเลือกเส้ นทางที่เหมาะสมกับการส่งเฟรมข้ อมูลแต่ละครัง้ ได้ ส่วนมากใช้ กบั
เครื อข่าย Internet หรื อใช้ โพรโตคอล TCP/IP สาหรับการรับส่งข้ อมูล และมีโพรโตคอล
สาหรับการค้ นหาและตรวจสอบเส้ นทางแบบอัตโนมัติได้ เช่น RIP, OSPF, BGP
Router
Ring
Router
Router
Ring
Router
Ring
เกตเวย์ (Gateway)
Gateway สามารถทางานได้ ทกุ ชันของแบบจ
้
าลอง OSI ขึ ้นอยูก่ บั การ
ออกแบบ และงานที่ให้ บริการ
Subnet
Gateway
Subnet
Application
Application
Application
Presentation
Presentation
Presentation
Session
Session
Session
Transport
Transport
Transport
Network
Network
Network
Data Link
Data Link
Data Link
Physical
Physical
Physical
เกตเวย์ (Gateway)
Gateway มักเป็ นซอฟต์แวร์ ที่พฒ
ั นาสาหรับเป็ นให้ เครื่ องบริ การนันเป็
้ นช่องทางหรื อ
ทางออกของการบริ การไปยังเครื อข่ายอื่น ทางานได้ กบั โพรโตคอลในระดับ Transport
layer จนถึง Application layer ตัวอย่างของเกตเวย์คือ SOCKS Proxy เป็ นบริ การสาหรับ
เครื่ องใน Private Network เชื่อมต่อไปยังเครื่ องใน Public Network หรื อ Web Proxy
เป็ นตัวกลางของการติดต่อระหว่างเครื่ องผู้ใช้ กบั เวปเซิร์ฟเวอร์ ในอินเตอร์ เน็ต
SNA
Gateway
NetWare
คาถาม