ภาพนิ่ง 1 - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
Download
Report
Transcript ภาพนิ่ง 1 - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
การดูแลหลังผ่ าตัด
- เมื่อผู้ป่วยฟื น้ จากยาสลบเต็มที่ ผู้ป่วยจะได้ รับอนุญาต
ให้ ทานอาหารน ้าหรื ออาหารเหลวเย็นได้ เช่น นมเย็น ไอ
ศกครี ม น ้าเย็น แพทย์จะให้ น ้าเกลือเข้ าทางหลอดเลือด
ต่อไปอีกอย่างน้ อย 24 ชัว่ โมง (ขึ ้นอยูก่ บั ภาวะของผู้ป่วย)
เมื่อทานอาหารน ้าหรื ออาหารเหลวได้ ดี จะสามารถ
เปลี่ยนเป็ นทานโจ๊ ก ข้ าวต้ มได้
- เนื่องจากผู้ป่วยมีแผลในลาคอหลังจากผ่าตัด ดังนันห้
้ าม
ผู้ป่วยขากเสมหะไออย่างแรง เนื่องจากอาจกระตุ้นให้ เกิด
เลือดออกมาจากแผลผ่าตัดได้ (ถ้ ากลืนน ้าลายไม่ลง ให้
ค่อยๆบ้ วนออกมา)
- ผู้ป่วยจะได้ รับยาแก้ อกั เสบ ยาแก้ ปวด และน ้ายาบ้ วน
ปาก เพื่อรักษาความสะอาดของแผลผ่าตัดในช่องคอและ
ลดการติดเชื ้อ
- แพทย์จะทาการจาหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลได้
โดยเฉลี่ย 1-3 วัน หลังจากผ่าตัด (ขึ ้นอยูก่ บั สภาพของ
ผู้ป่วย) จากนันจะนั
้ ดผู้ป่วยมาดูแผลผ่าตัดอีก 1 สัปดาห์
ถัดมา หลังจากออกจากโรงพยาบาล ผู้ป่วยควรจะทาน
อาหารอ่อนเช่น โจ๊ กหรื อข้ าวต้ ม ต่ออีก 1-2 สัปดาห์ ควร
หลีกเลี่ยงอาหารแข็งหรื อขนมกรอบๆ ที่อาจจะครูดแผล
ผ่าตัดและทาให้ เลือดออกจากแผลได้
โดยทัว่ ไปผู้ป่วยจะสามารถทานอาหารได้ ตามปกติ
ภายในเวลา 2-3 สัปดาห์หลังผ่าตัด ควรงดดื่มเหล้ าและ
งดสูบบุหรี่ หลังการผ่าตัด เนื่องจากจะทาให้ เกิดการอักเสบ
และทาให้ แผลหายช้ า
ภาวะแทรกซ้ อนทีอาจจะเกิดขึน้ ได้ จากการ
ผ่ าตัดต่ อมทอนซิลและ/หรื อต่ อมอดีนอยด์
1. จากการดมยาสลบอาจเกิดภาวะแทรกซ้ อนหรื อผลข้ างเคียงได้
ดังนี ้ - มีอาการคลืน่ ไส้ อาเจียน
- แพ้ ยาสลบ ยาชา ที่ใช้ ในระหว่างดมยาสลบหรื อผ่าตัดกล่อง
เสียงได้ รับบาดเจ็บจากการใส่ทอ่ ช่วยหายใจ
- มีการหดเกร็ งของกล่องเสียงและหลอดลม ทาให้ หายใจ
เหนื่อยหรื อหายใจลาบาก
- เกิดการหยุดหายใจและการหยุดเต้ นของหัวใจ
2. มีการบาดเจ็บของอวัยวะข้ างเคียงต่อมทอนซิลและ/หรื อต่อม
อดีนอยด์ในระหว่างการผ่าตัด เช่น เพดานอ่อน ลิ ้นไก่ ผนังลาคอ
รูเปิ ดท่อปรับความดันบรรยากาศ
3. เลือดแผลผ่าตัดในช่องคอ
4. อาการปวดหู
5. การติดเชื ้อของแผลผ่าตัด, การติดเชื ้อของปอด
6. สาลักอาหารออกทางจมูก, เสียงขึ ้นจมูก
7. มีพงั ผืดบริ เวณช่องหลังโพรงจมูก จนอาจเกิดภาวะตีบแคบของ
ทางเดินหายใจ
8. แผลหายช้ า (Delayed wound healing)
9. เกิดการบาดเจ็บของกระดูกต้ นคอ (Atlantoaxial subluxation)
10. ภาวะแทรกซ้ อนอื่นๆ เช่น มีลมเซาะใต้ ผิวหนังของใบหน้ าและ
ลาคอ, Pulmonary edema, การหยุดหายใจ (apnea)
ในเด็กและผู้ใหญ่ที่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
ตังแต่
้ ก่อนผ่าตัด มีโอกาสเกิดภาวะหยุดหายใจหลังผ่าตัดได้ สงู กว่า
ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการดังกล่าวก่อนการผ่าตัด
งานเวชนิทศั น์และโสตทัศนศึกษา โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
โทร. 055-411064 ต่อ 2160, 2162
ด้ วยความปรารถนาดีให้ ทา่ นมีสขุ ภาพดี
จาก
ห้ องตรวจ หู คอ จมูก
โทร. 055-411064 ต่อ 1119
การตัดสินใจที่จะผ่าตัดต่อมทอนซิลและ/หรื อต่อม
อดีนอยด์ ขึ ้นอยูก่ บั การซักประวัตแิ ละการตรวจร่างกาย
โดยมีข้อบ่งชี ้ในการผ่าตัด ดังนี ้
1. ต่อมทอนซิลอักเสบเรื อ้ รัง (Chronic tonsillitis) หรื อ
ต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลันชนิดที่กลับเป็ นซ ้าบ่อยๆ
(Recurrent episodes of acute tonsillitis)
2. ต่อมทอนซิลอักเสบที่ทาให้ เกิดอาการชักจากไข้ สงู
(Febrile convulsion)
3. ต่อมทอนซิลอักเสบที่ร่วมกับต่อมน ้าเหลืองที่คออักเสบ
เป็ นหนอง, โรคของลิ ้นหัวใจ (Cardiac valve disease)
และภาวะที่ทาให้ เด็กไม่สามารถเจริญเติบโตได้ ตามปกติ
(Failure to thrive)
4. มีหนองเกิดขึ ้นในช่องรอบต่อมทอนซิล (Peritonsillar
abscess)
5. เป็ นพาหะของโรคคอตีบ (Diphtheria carrier)
6. มีการขยายตัวของต่อมทอนซิลและ/หรื อต่อมอดีนอยด์
จนอุดตันทางเดินหายใจและการกลืน รวมทังท
้ าให้ เกิด
ความผิดปกติของการพูด
11. ผู้ป่วยที่เป็ นไซนัทอักเสบ หรื อมีภาวะแทรกซ้ อนของ
โรคไซนัทอักเสบ อันเกิดเนืองจากมีการอุดกันรู
้ ระบาย
โพรงไซนัทจากต่อมอดีนอยด์
12. การที่มีกลิ่นปากอันเกิดจากการอักเสบของต่อม
ทอนซิลหรื อเนื ้อเยื่อภายในที่สะสมอยูใ่ นต่อมทอนซิล
(Tonsillolithiasis)
13. ผู้ป่วยที่มีโรคเกิดจากการติดเชื ้อเบต้ าฮีโมลัยติก
สเตรปโตคอคคัส เช่น รูมาติค โรคหัวใจรูมาติค
ไตอักเสบ
14. มีความผิดปกติของใบหน้ า ช่องปากและฟั นอย่าง
มาก จนทาให้ มีการตีบแคบของทางเดินหายใจส่วนต้ น
ข้ อห้ ามในการผ่ าตัด
ต่ อมทอนซิลและ/หรื อต่ อมอดีนอยด์
1. มีความผิดปกติของเลือดและการแข็งตัวของเลือด
เช่น โรคลิวคีเมีย ,โรคโลหิตจางอะพลาสติก, ฮีโมฟี เลีย
2. โรคหรื อภาวะต่างๆ เช่น เบาหวาน โณคหัวใจ ลมชัก
เป็ นต้ น ที่ยงั ไม่สามารถควบคุมได้
3. ผู้ป่วยที่มีเพดานโหว่ (สาหรับการผ่าตัดต่อมอดีนอยด์)
4. กาลังมีการติดเชื ้อของต่อมทอนซิล/ต่อมอดีนอยด์หรื อ
กาลังมีการตืดเชื ้อของระบบทางเดินหายใจส่วนต้ น เช่น
หวัด ไซนัสอักเสบ เป็ นต้ น
การเตรี ยมตัวก่ อนผ่ าตัด
ก่อนทาการผ่าตัด แพทย์จะทาการซักประวัติ เช่น
ประวัตกิ ารติดเชื ้อทางเดินหายใจส่วนต้ น ประวัตกิ าร
แพ้ ยา ประวัตโิ รคเลือด และความผิดปกติในการแข็งตัว
ของเลือดประวัตคิ รอบครัว และตรวจร่างกายของท่าน
ทาการเจาะเลือด (CBC and Plat let ,count, PT, PTT)
ตรวจปั สสาวะและเตรี ยมเลือดไว้ ใช้ ในกรณีฉกุ เฉิน (ใน
บางครัง้ อาจต้ องให้ ญาติของท่านมาบริจาคเลือดเพื่อ
เตรี ยมไว้ ) สาหรับผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 35 ปี ขึ ้นไป
จะทาการถ่ายภาพรังสีของปอดและตรวจคลื่นไฟฟ้า
หัวใจร่วมด้ วย การตรวจทางห้ องปฏิบตั กิ ารอื่นๆ แพทย์
จะพิจารณาทาตามความจาเป็ น (ขึ ้นอยูก่ บั สภาพของ
ผู้ป่วย) ผู้ป่วยจะต้ องงดดื่มเหล้ าและงดสูบบุหรี่ ก่อนการ
ผ่าตัดอย่างน้ อย 1-2 เดือน)
ผู้ป่วยจะต้ องงดอาหารและน ้าก่อนทาการผ่าตัด
อย่างน้ อย 12 ชัว่ โมง และจะได้ รับน ้าเกลือเข้ าทางหลอด
เลือดในตอนเช้ าของวันผ่าตัด รวมไปถึงการสวนอุจจาระ
และให้ ไปปั สสาวะก่อนเข้ าห้ องผ่าตัด
การผ่ าตัด
1. การผ่าตัดต่อมทอนซิลและ/หรื ออดีนอยด์จะกระทา
ภายใต้ การดมยาสลบและใส่ทอ่ ช่วยหายใจทางปาก
ใช้ ระยะเวลาในการผ่าตัดประมาณ 1-2 ชัว่ โมง หลัง
จากผ่าตัดเสร็จ จะนาผู้ป่วยไปยังห้ องพักฟื น้ หลังผ่าตัด
(โดยผู้ป่วยเด็กจะอนุญาตให้ ผ้ ปู กครอง 1 ตน เข้ าไป
ดูแลในห้ องพักฟื น้ ได้ ) จากนันจะน
้ าผู้ป่วยกลับไปยัง
หอผู้ป่วย